22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

52 ประสิทธิภาพของสารปองกัน ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

ซึ่งเปนแหลงใหญและเปนพื้นที่สําคัญในการผลิตขาวพันธุขาวดอกมะลิ 105 เพื่อการสงออก ซึ่งมักจะประสบปญหาจากการ<br />

ทําลายที่เกิดจากโรคขอบใบแหง หลังจากการเกิดน้ําทวมจะมีการระบาดของโรคนี้อยางรุนแรงอยูเปนประจํา นอกจากนี้แลว<br />

ในชวงระยะเวลา 2-3 ปที่ผานมา มักจะพบวาเกิดมีการระบาดของโรคนี้อยางกวางขวางและรุนแรง มีพื้นที่นับหมื่นไร ในจังหวัด<br />

ทางภาคกลางและภาคเหนือตอนลาง บนขาวพันธุพิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 ซึ่งเปนพันธุขาวที่เกษตรกรมีความนิยมปลูก<br />

เนื่องจากเปนพันธุที่ใหผลผลิตสูง คุณภาพดี ตานทานตอการทําลายของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล จึงทําใหเกษตรกรนิยมการ<br />

ปลูกขาวพันธุดังกลาวกันอยางกวางขวาง ดังนั้นเพื่อที่จะเปนหนทางหนึ่งที่จะชวยลดความสูญเสียที่เกิดจากโรคนี้ จึงสมควรที่<br />

จะมีการทดสอบหาสารปองกันกําจัดโรคพืชที่มีประสิทธิภาพในการปองกันกําจัดโรคดังกลาว จากผลการทดลองในครั้งนี้จะเปน<br />

ประโยชนสําหรับการจะนําไปใชเปนคําแนะนําตอนักวิชาการ เจาหนาที่สงเสริมการเกษตร และผูเกี่ยวของอีกดวย<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

นําสารปองกันกําจัดโรคพืช 7 ชนิดไดแก gentamycin sulfate+oxytetracycline hydrochloride (Bactrol),<br />

bacbicure (Canoron), tribasic coppersulfate (Cuproxat–F), isoprothiolane (Fuji-one), streptomycin<br />

sulfate+oxytetracycline hydrochloride (Kanker-X), oxolinic acid (Starner) และ streptomycin sulfate+oxytetracycline<br />

hydrochloride (Strep-plus) มาทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมโรคขอบใบแหงของขาว ในสภาพเรือนทดลองและแปลง<br />

นา ในป พ.ศ. 2550-2551<br />

การทดสอบในสภาพเรือนทดลอง ณ.กลุมวิชาการ สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว ( ต.ค. 2550-มี.ค.<br />

2551)<br />

วางแผนการทดลองแบบ Complete Randomized Desinge มี 8 กรรมวิธีการทดลอง 5 ซ้ํา ปกดําขาวพันธุพิษณุโลก<br />

2 (PSL2) อายุ 25 วัน ในกระถางดินเผามีขนาดเสนผาศูนยกลาง 11 นิ้ว 3 ตนตอกระถาง จํานวน 50 กระถาง ปลูกเชื้อ<br />

แบคทีเรียสาเหตุของโรค โดยใชกรรไกรที่ผานการฆาเชื้อแลว จุมสารละลายแขวนลอยของเชื้อแบคทีเรียสาเหตุของโรค ที่อัตรา<br />

ความเขมขน 1X10 8 เซลลตอมิลลิลิตร (โดยการวัดคาการดูดซับของแสงดวยเครื่อง Spectrophotometer ที่ความยาวชวงแสง<br />

600 นาโนเมตร จะมีคาเทากับ 0.2 ( A 600 = 0.2)) โดยตัดที่ปลายใบขาว ที่ตําแหนง สามใบบนของตนขาว มีระยะหางจากปลาย<br />

ใบ 1 เซนติเมตร เมื่อตนขาวมีอายุ 55 วัน จากนั้นพนสารปองกันกําจัดโรคพืชทดสอบแตละชนิด เมื่อตนขาวมีอายุได 58 และ<br />

65 วัน และพนสารปองกันกําจัดโรคพืช Strep-plus เปนสารเปรียบเทียบและพนน้ําเปนกรรมวิธีที่ไมใชสาร ตามกรรมวิธี<br />

ดังตอไปนี้<br />

ลําดับที่ กรรมวิธีในเรือนทดลอง กรรมวิธีในแปลงนา อัตราการใชตอน้ํา 20 ลิตร<br />

1. Bactrol Bactrol 60 กรัม<br />

2. Canoron Canoron 30 กรัม<br />

3. Cuproxat – F Cuproxat – F 60 กรัม<br />

4. Fuji-one - 60 มิลลิลิตร<br />

5. Kanker-X Kanker-X 12 กรัม<br />

6. Starner - 40 กรัม<br />

7. Strep-plus Strep-plus (เปรียบเทียบพนสาร) 12 กรัม<br />

8. พนน้ํา (เปรียบเทียบไมพนสาร)<br />

ปริมาณสารละลายที่ใชพนในแตละกรรมวิธีการทดลอง 100 มิลลิลิตรตอกระถางตอครั้งในเรือนทดลอง<br />

ปริมาณสารละลายที่ใชพนในแตละกรรมวิธีการทดลอง 80 ลิตรตอไรในแปลงทดลอง<br />

ตรวจผลการทดลองเมื่อตนขาวมีอายุ 76 วัน โดยการวัดความยาวของแผลที่เกิดจากโรคขอบใบแหง และความยาวของใบขาว<br />

ที่ไดรับการปลูกเชื้อไว จํานวน 10 ใบตอกระถาง จากนั้นนําไปคํานวณหาเปอรเซ็นตความรุนแรงของโรค แลวนําไปวิเคราะหคา<br />

ทางสถิติตอไป<br />

สูตรการคํานวณเปอรเซ็นตความรุนแรงของโรคขอบใบแหง<br />

เปอรเซ็นตความความรุนแรงของโรค = ความยาวของแผล X 100<br />

ความยาวของใบขาว<br />

การทดสอบในสภาพแปลงนาทดลอง ณ ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี ฤดูนาปรัง 2550/2551 ( มี.ค.-ก.ค. 2551 )

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!