22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

40 ผลของความเขมขนของน้ํามัน และโปรตีน ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

คํานํา<br />

โปรตีน และน้ํามันเปนองคประกอบที่สงผลตอเสถียรภาพของอาหารระบบอิมัลชัน โปรตีนจะดูดซับที่ผิวรวมระหวาง<br />

น้ํา และน้ํามันเกิดเปนชั้นฟลมลอมรอบอนุภาคน้ํามัน และขัดขวางการรวมตัวของอนุภาคน้ํามัน (McClements, 2004)<br />

โซเดียมเคซีเนต (Sodium caseinate) เปนโปรตีนน้ํานมที ่นิยมใชเปนอิมัลซิไฟเออรในอาหารระบบอิมัลชันเนื่องจากโมเลกุล<br />

ของโซเดียมเคซีเนตประกอบดวยหมูที่ชอบน้ํามันเปนสวนใหญจึงดูดซับบนผิวของอนุภาคน้ํามันไดอยางรวดเร็ว (Sirinivasan,<br />

Singh et al., 1996) การรักษาเสถียรภาพของอิมัลชันอีกวิธีหนึ่ง ไดแก การใชสารไฮโดรคอลลอยด เพกทินเปนสารไฮโดร<br />

คอลลอยดตามธรรมชาติที่พบในมะมวงน้ําดอกไมและมีสมบัติเปนสารเพิ่มเสถียรภาพ (Akhtar et al., 2002; Dickinson et<br />

al., 1998; Leroux et al., 2003) แตเนื่องจากเพกทินตามธรรมชาติมีสายโพลีเมอรยาว และประกอบ ดวยหมูที่ชอบน้ํานอยทํา<br />

ใหไมสามารถแสดงสมบัติเปนสารเพิ่มเสถียรภาพ ขีดจํากัดของการใชเพกทินลดลงไดโดยการใชเอนไซมเพกทิเนสยอยสลาย<br />

โมเลกุลของเพกทินใหเล็กลง และเพิ่มขั้วใหกับโมเลกุลของเพกทิน จากฐานขอมูลเบื้องตนนําไปสูงานวิจัยที่มีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

ศึกษาผลของน้ํามัน โปรตีน และระดับการยอยสลายของเพกทินตอเสถียรภาพของอิมัลชันจากไฮโดรไลเสตมะมวงน้ําดอกไม<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

อิมัลชันชนิดน้ํามันในน้ําเตรียมโดยเติมน้ํามัน (10 20 และ 40% (v/w)) ลงในไฮโดรไลเสตมะมวงน้ําดอกไมซึ่งผาน<br />

การลวกดวยไอน้ําจนมีอุณหภูมิจุดกึ่งกลาง 85 o C นาน 3 นาที รวมกับการเติมกรดแอสคอรบิก 0.5% (w/w) และผาน<br />

การยอยสลายโดยเอนไซมเพกทิเนส (Pectinex ® Ultra SP-L) (Novozymes, Denmark) จนมีปริมาณเพกทินที่ถูกยอยสลายคิด<br />

เปนปริมาณหมูรีดิวซ (DH) 3 ระดับ (DH I=51-70 mg/ml DH II=71-90 mg/ml และ DH III=91-110 mg/ml) (Nelson,<br />

1994) จากนั้นปรับคาความเปนกรดดางดวยโซเดียมไฮดรอกไซดความเขมขน 1 โมลาร จนมีคา 7.0 แลวเติมโซเดียมเคซีเนต<br />

(0.5 1.0 และ 2.0% (w/w)) และโซเดียมเอไซดเพื่อปองกันการเสื่อมเสียจากเชื้อจุลินทรีย นําตัวอยางที่ไดไปโฮโมจีไนซดวย<br />

เครื่องโฮโมจีไนเซอร (Ystral, Germany) ความเร็วรอบ 16000 รอบตอนาที เปนเวลา 3 นาที ประเมินเสถียรภาพของอิมัลชัน<br />

จากขนาดอนุภาค (Mastersizer 2000, Malvern Instrument Ltd.) เสถียรภาพของครีม (Creaming stability) ในเทอมของคา<br />

การเกิดครีม (%Creaming Index) (Surh et al., 2006) และความหนืดของอิมัลชัน (Rheology International Series 2,<br />

Ireland)<br />

ผลและวิจารณ<br />

จาก Figure 1 พบวาปริมาณเพกทินที่ถูกยอยสลายในไฮโดรไลเสตมะมวงซึ่งคิดในเทอมของปริมาณหมูรีดิวซ (DH) มี<br />

คาในชวง 50-100 mg/ml งานวิจัยนี้ไดแบงปริมาณเพกทินที่ถูกยอยสลายเปน 3 ระดับ ดังนี้ 51-70 71-90 และ 91-110 mg/ml<br />

ซึ่งไดจากการใชเอนไซมเพกทิเนส 2.0% (v/w) ทําปฏิกิริยานาน 30 90 และ 240 นาที ตามลําดับ<br />

Figure 1 Effect of commercial enzymes of pectinase group (Pectinex ® Ultra SP-L) on reducing sugar yield from<br />

NAM DOK MAI mango pulp.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!