part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

38 ผลของชนิดตัวพยุงตอสมบัติทางเคมีกายภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร วิจารณผล เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวพยุงระหวาง GA MD และ MS ในการตรึงรูปผงใบเตย พบวาการใช MS เปนตัว พยุงทําใหคาสีเขียวและปริมาณคลอโรฟลลสูงสุด เพราะ MS มีสมบัติการเปนอิมัลชัน (Baranauskiene et al., 2007) ซึ่ง คลอโรฟลลมีฤทธิ์เปนสารตานอนุมูลอิสระจึงทําให MS มีปริมาณสารตานอนุมูลอิสระสูงสุดตามไปดวย คา a w ของตัวพยุงทั้ง MS GA และ MD อยูในชวง 0.28-0.30 ซึ่งเปนชวงที่เหมาะสมเพราะปฏิกิริยาเคมีตางๆ เชน ออกซิเดชั่น การเกิดสีน้ําตาลจาก Maillard reaction และการสลายตัวของคลอโรฟลลเกิดขึ้นไดนอยมากและเปนชวงที่จุลินทรียไมสามารถเจริญเติบโตได คา Bulk density ของผงคลอโรฟลลมีผลตอการบรรจุ โดยรูปทรงกลมจะทําใหมีคา Bulk density สูง (Reineccius, 2001) แสดง วามีการบรรจุแนนขึ้น แตไมไดมีผลเรงการเกิดออกซิเดชัน (Desobry et al., 1997) ภาพจาก SEM เปนการยืนยันผลวา MS เปนตัวพยุงที่เหมาะสมที่ชวยในการรักษาสีของคลอโรฟลลไดดี เพราะมีลักษณะเปนทรงกลมทําใหมีอัตราสวนระหวาง surface/volume สูง (Desobry et al., 1997) รายงานนี้สอดคลองกับ Kim และ Morr (1996) และ Baranauskiene et al. (2007) ที่พบวา GA เมื่อผานการ spray dry จะหดตัวมาก และ MS มีความหนืดต่ําที่ความเขมขนสูงทําใหใชที่ปริมาณของแข็ง สูงได จากการทดลองนี้สามารถใช MS ที่ระดับ 30% ทําให %yield สูง สรุป การศึกษาเปรียบเทียบตัวพยุง 3 ชนิด คือ GA MD และ MS ตอสมบัติทางเคมีกายภาพและความคงตัวของ คลอโรฟลลจากใบเตย พบวาการใช MS ที่ปริมาณของแข็ง 30% ทําใหผงใบเตยที่ไดมีสีเขียว ปริมาณคลอโรฟลลและสารตาน อนุมูลอิสระสูงที่สุด โดยที่คา a w อยูในชวงที่เกิดการออกซิเดชันต่ํา คา pH อยูในชวงที่เปนกลาง มีรูปทรงกลมผิวเรียบ เมื่อ เปรียบเทียบความคงตัวของคลอโรฟลลในตัวพยุง MS พบวายังคงมีปริมาณคลอโรฟลลสูงสุดเมื่อผานการเก็บรักษา คําขอบคุณ ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และโครงการนวัตกรรมอาหารเพื่อยกระดับคุณภาพและความ ปลอดภัยทางอาหารสูโครงสรางเศรษฐกิจยุคใหม ทุนวิจัยงบประมาณแผนดิน ที่ใหทุนสนับสนุนการวิจัยนี้ เอกสารอางอิง Apintanapon, M., and A. Noomhorm. 2003. The use of spray drying to microencapsulate 2-acetyl-1-pyrroline, a major flavour component of aromatic rice. International Journal of Food Science and Technology. 38: 95- 102. Baranauskiene, R., E. Bylaite, J. Zukauskaite and R.P. Venskutonis. 2007. Flavor retention of peppermint (Mentha piperita) essential oil spray-dried in modified starches during encapsulation and storage. Journal of agricultural and food chemistry. 55: 3027-3036. Desobry, S.A., F.M. Netto and T.P. Labuza. 1997. Comparison of spray-drying drum drying and freeze-drying for β-carotene encapsulation and preservation. Journal of food science. 62: 1158-1162. Kim, Y.D., C.V. Morr and T.W. Schenz. 1996. Microencapsulation properties of gum arabic and several food proteins: liquid orange oil emulsion particles. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 44: 1308-1313. Krishnan S., A.C. Kshirsagar and R.S. Singha. 2005. The use of gum arabic and modified starch in the microencapsulation of a food flavoring agent. Carbohydrate Polymers. 62: 309–315. Laksanalamai, V., and S. Ilangantileke. 1993. Comparison of aroma compound (2-acetyl 1-pyrroline) in leaves from pandan (Pandanus amaryllifolius) and Thai fragrant rice (Khao Dawk Mali-105). Cereal Chemistry. 70: 381-384. Reineccius, G.A. 2001. The spray drying of food flavors. In: The Microencapsulation of Food Ingredients. Leatherhead. UK: Leatherhead Publishing Co. Forthcoming. Thaipong, K., U. Boonprakob, K. Crosby, L. Cisneros-Zevallos and D.H. Byrn. 2006. Comparison of ABTS. DPPH, FRAP, and ORAC assays for estimating antioxidant activity from guava fruit extracts. Journal of Food Composition and Analysis. 19: 669–675. Vernon, L.P. 1966. The chlorophylls. Eds. Academic Press. New York. 343 p. Wagner, L.A. and J.J. Warthesen. 1995. Stability of spray dried encapsulated carrot carotene. Journal of Food Science. 60: 1048-1053.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 39-42 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 39-42 (2552) ผลของความเขมขนของน้ํามัน และโปรตีนตอเสถียรภาพของอิมัลชันจากไฮโดรไลเสตมะมวงน้ําดอกไม Effects of Oil and Protein Concentration on the Stability of Oil-in-water Emulsion from NAM DOK MAI Mango (Mangifera indica L.) Pulp Hydrolysate เกวลี ครุณาสวัสดิ์ 1 และ ปราณี อานเปรื่อง 2 Karunasawat, K. 1 and Anprung, P. 2 Abstract The objective of this study was to evaluate the effects of oil and protein concentrations on emulsion stability of mango pulp hydrolysate which was blanched at 85 o C for 3 minutes with added 0.5%w/w ascorbic acid and treated with pectinase enzyme. Mango hydrolysate samples had reducing groups in depolymerized pectin, in three levels (51-70, 71-90, 91-110 mg/ml). The effects of oil and protein concentrations were studied by varying oil (10%v/w, 20%v/w, 40%v/w) and the concentration of sodium caseinate (0.5%w/w, 1.0%w/w, 2.0%w/w). The stability of emulsion was evaluated for droplet size, creaming index, and viscosity of emulsion. Results showed that increasing sodium caseinate concentration significantly decreased droplet size (p

38 ผลของชนิดตัวพยุงตอสมบัติทางเคมีกายภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

วิจารณผล<br />

เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวพยุงระหวาง GA MD และ MS ในการตรึงรูปผงใบเตย พบวาการใช MS เปนตัว<br />

พยุงทําใหคาสีเขียวและปริมาณคลอโรฟลลสูงสุด เพราะ MS มีสมบัติการเปนอิมัลชัน (Baranauskiene et al., 2007) ซึ่ง<br />

คลอโรฟลลมีฤทธิ์เปนสารตานอนุมูลอิสระจึงทําให MS มีปริมาณสารตานอนุมูลอิสระสูงสุดตามไปดวย คา a w ของตัวพยุงทั้ง<br />

MS GA และ MD อยูในชวง 0.28-0.30 ซึ่งเปนชวงที่เหมาะสมเพราะปฏิกิริยาเคมีตางๆ เชน ออกซิเดชั่น การเกิดสีน้ําตาลจาก<br />

Maillard reaction และการสลายตัวของคลอโรฟลลเกิดขึ้นไดนอยมากและเปนชวงที่จุลินทรียไมสามารถเจริญเติบโตได คา<br />

Bulk density ของผงคลอโรฟลลมีผลตอการบรรจุ โดยรูปทรงกลมจะทําใหมีคา Bulk density สูง (Reineccius, 2001) แสดง<br />

วามีการบรรจุแนนขึ้น แตไมไดมีผลเรงการเกิดออกซิเดชัน (Desobry et al., 1997) ภาพจาก SEM เปนการยืนยันผลวา MS<br />

เปนตัวพยุงที่เหมาะสมที่ชวยในการรักษาสีของคลอโรฟลลไดดี เพราะมีลักษณะเปนทรงกลมทําใหมีอัตราสวนระหวาง<br />

surface/volume สูง (Desobry et al., 1997) รายงานนี้สอดคลองกับ Kim และ Morr (1996) และ Baranauskiene et al.<br />

(2007) ที่พบวา GA เมื่อผานการ spray dry จะหดตัวมาก และ MS มีความหนืดต่ําที่ความเขมขนสูงทําใหใชที่ปริมาณของแข็ง<br />

สูงได จากการทดลองนี้สามารถใช MS ที่ระดับ 30% ทําให %yield สูง<br />

สรุป<br />

การศึกษาเปรียบเทียบตัวพยุง 3 ชนิด คือ GA MD และ MS ตอสมบัติทางเคมีกายภาพและความคงตัวของ<br />

คลอโรฟลลจากใบเตย พบวาการใช MS ที่ปริมาณของแข็ง 30% ทําใหผงใบเตยที่ไดมีสีเขียว ปริมาณคลอโรฟลลและสารตาน<br />

อนุมูลอิสระสูงที่สุด โดยที่คา a w อยูในชวงที่เกิดการออกซิเดชันต่ํา คา pH อยูในชวงที่เปนกลาง มีรูปทรงกลมผิวเรียบ เมื่อ<br />

เปรียบเทียบความคงตัวของคลอโรฟลลในตัวพยุง MS พบวายังคงมีปริมาณคลอโรฟลลสูงสุดเมื่อผานการเก็บรักษา<br />

คําขอบคุณ<br />

ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และโครงการนวัตกรรมอาหารเพื่อยกระดับคุณภาพและความ<br />

ปลอดภัยทางอาหารสูโครงสรางเศรษฐกิจยุคใหม ทุนวิจัยงบประมาณแผนดิน ที่ใหทุนสนับสนุนการวิจัยนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

Apintanapon, M., and A. Noomhorm. 2003. The use of spray drying to microencapsulate 2-acetyl-1-pyrroline, a<br />

major flavour component of aromatic rice. International Journal of Food Science and Technology. 38: 95-<br />

102.<br />

Baranauskiene, R., E. Bylaite, J. Zukauskaite and R.P. Venskutonis. 2007. Flavor retention of peppermint (Mentha<br />

piperita) essential oil spray-dried in modified starches during encapsulation and storage. Journal of<br />

agricultural and food chemistry. 55: 3027-3036.<br />

Desobry, S.A., F.M. Netto and T.P. Labuza. 1997. Comparison of spray-drying drum drying and freeze-drying for<br />

β-carotene encapsulation and preservation. Journal of food science. 62: 1158-1162.<br />

Kim, Y.D., C.V. Morr and T.W. Schenz. 1996. Microencapsulation properties of gum arabic and several food<br />

proteins: liquid orange oil emulsion particles. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 44: 1308-1313.<br />

Krishnan S., A.C. Kshirsagar and R.S. Singha. 2005. The use of gum arabic and modified starch in the<br />

microencapsulation of a food flavoring agent. Carbohydrate Polymers. 62: 309–315.<br />

Laksanalamai, V., and S. Ilangantileke. 1993. Comparison of aroma compound (2-acetyl 1-pyrroline) in leaves<br />

from pandan (Pandanus amaryllifolius) and Thai fragrant rice (Khao Dawk Mali-105). Cereal Chemistry.<br />

70: 381-384.<br />

Reineccius, G.A. 2001. The spray drying of food flavors. In: The Microencapsulation of Food Ingredients.<br />

Leatherhead. UK: Leatherhead Publishing Co. Forthcoming.<br />

Thaipong, K., U. Boonprakob, K. Crosby, L. Cisneros-Zevallos and D.H. Byrn. 2006. Comparison of ABTS. DPPH,<br />

FRAP, and ORAC assays for estimating antioxidant activity from guava fruit extracts. Journal of Food<br />

Composition and Analysis. 19: 669–675.<br />

Vernon, L.P. 1966. The chlorophylls. Eds. Academic Press. New York. 343 p.<br />

Wagner, L.A. and J.J. Warthesen. 1995. Stability of spray dried encapsulated carrot carotene. Journal of Food<br />

Science. 60: 1048-1053.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!