22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

36 ผลของชนิดตัวพยุงตอสมบัติทางเคมีกายภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

ใชสารสกัดสด คือความไมคงตัวตอสิ่งแวดลอมเมื่อสกัดและตั้งทิ้งไวสารสกัดเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีน้ําตาลเพราะคลอโรฟลล<br />

เปลี่ยนเปนอนุพันธฟโอไฟติน ประกอบกับรูปแบบการนําไปใชงานไมสะดวก ดังนั้นหากเปลี่ยนรูปของสารสกัดสดมาอยูในรูปผง<br />

โดยวิธีการทําแหงแบบพนฝอยจะชวยใหการใชงานไดดีขึ้น การเลือกชนิดของตัวพยุงและอัตราสวนที่เหมาะสมจะชวยปองกัน<br />

การทําปฏิกิริยากับสภาวะแวดลอม เชน ความรอน ความเปนกรด-ดาง และการเกิดออกซิเดชันจากแสงซึ่งเปนการปรับปรุง<br />

คุณภาพผลิตภัณฑและสามารถนําไปใชในผลิตภัณฑอาหารไดสะดวกและหลากหลายยิ่งขึ้น<br />

การเลือกชนิดของตัวพยุง ตองพิจารณาปจจัยตางๆ ไดแก ลักษณะผลิตภัณฑที่ตองการ ตัวพยุงตองไมทําปฏิกิริยากับ<br />

สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และตัวพยุงควรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมตอการใชงาน เชน ความหนืดต่ําที่ความเขมขนสูง มี<br />

คุณสมบัติการเปนอิมัลชันที่ดี สามารถทําแหงไดงาย สามารถปองกันการทําปฏิกิริยากับสิ่งแวดลอม และสามารถปลดปลอย<br />

สารออกฤทธิ์ได โดยตัวพยุงที่เปนโพลีแซคาไรดที่นิยมใชในอุตสาหกรรมอาหารเชน Gum arabic Modified starch และ<br />

Hydrolyzed starch (Krishnan et al., 2005) พบวาตัวพยุงมีผลในการยืดอายุใหแกผลิตภัณฑ Wagner et al. (1995) ใชมอล<br />

โตเด็กซทรินตเปนตัวพยุงในการรักษาสารเบตาแคโรทีนดในแครอท ซึ่งสามารถเพิ่มอายุการเก็บรักษาได 100-200 เทา เมื่อ<br />

เทียบกับน้ําแครอทสด Apintanapong และ Noomhorm (2003) พบวาการรักษากลิ่น 2-AP ที่สกัดจากใบเตยเมื่อใช gum<br />

acacia 70 สวน และ maltodextrin 30 สวน<br />

จากขอมูลขางตนแสดงใหเห็นวาการเลือกใชตัวพยุงที่มีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑ ดังนั้นการวิจัยนี้จึงศึกษาชนิด<br />

ของตัวพยุงไดแก gum arabic (GA) maltodextrin (MD) และ modified starch (MS) ตอคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของผง<br />

ใบเตย ศึกษาอัตราสวนปริมาณของแข็งที่เหมาะสม และความคงตัวของคลอโรฟลลในตัวพยุงชนิดตางๆ<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

การเตรียมสารสกัดใบเตย โดยใชใบเตยสด 500 กรัม ปนกับน้ําในอัตราสวน 1 ตอ 4 แยกน้ําคั้นที่กรองไดแลวผสมกับ<br />

ตัวพยุงใหเขากันดวยการโฮโมจิไนสที่ความเร็วรอบ 6,000 รอบ/นาที เปนเวลา 1 นาที วัดปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดให<br />

อยูในชวงที่กําหนด นําไปทําแหงโดยใชเครื่องทําแหงแบบพนฝอย รุน Eyela spray dryer SD-1000 โดยควบคุมอุณหภูมิ<br />

อากาศรอนขาเขาและขาออกที่ระดับ 150+5 o C และ 90+ 5 o C ตามลําดับ ควบคุมความดันของ atomizer ที่ 50 kPa อัตราการ<br />

นําตัวอยางเขาที่ 300 ml/h ควบคุม Blower ที่ 0.70 m 3 /min ทําการแปรชนิดตัวพยุงไดแก gum arabic maltodextrin (DE15)<br />

และ modified starch (1-Octenyl succinylanhydride; n-OSA) ที่ระดับ 10 20 และ 30% (w/w) ของแข็งทั้งหมด<br />

ตรวจสอบทางเคมีกายภาพ โดยการวัดคาสี (เครื่อง Minolta CR300) ปริมาณคลอโรฟลล (Vernon,1966) ปริมาณ<br />

สารตานอนุมูลอิสระวิธี TEAC (Thaipong et al., 2006) รูปทรงโดยใชกลองจุลทรรศนอิเลคตรอนแบบสองกราด (scanning<br />

electron microscopy) ปริมาณความชื้น ปริมาณน้ําอิสระ และวัดขนาดอนุภาค (เครื่อง Mastersizer 2000, Malvern<br />

Instrument Ltd.) ตรวจติดตามปริมาณคลอโรฟลลในตัวพยุงตางๆ 0-30 วัน ในสภาวะการเก็บในขวดแกวใสที่อุณหภูมิหอง<br />

ผลการทดลอง<br />

ผลของชนิดตัวพยุงตอคาทางเคมีกายภาพแสดงใน Table 1 พบวา เมื่อใช MS เปนตัวพยุงทําใหผงใบเตยมีคาสีเขียว<br />

ปริมาณคลอโรฟลลและสารตานอนุมูลอิสระสูงสุด รองลงมาคือ MD และ GA ตามลําดับ คา pH ของผงคลอโรฟลลทั้งหมดอยู<br />

ในชวงเปนกลาง (6.5-7.3) คา a w ของผงคลอโรฟลลทั้งหมดอยูในชวง 0.28-0.30 เมื่อพิจารณาขนาดอนุภาคเฉลี่ยพบวาทั้ง GA<br />

และ MD ทําใหผงที่ไดมีขนาดใหญเทากับ 145.63 และ 124.29 µm ตามลําดับ ในขณะที่ MS มีขนาดอนุภาคที่เล็กที่สุดเทากับ<br />

15.96 µm (Figure 1) จึงสงผลใหคา bulk density ของ MS มีคาสูงสุดเพราะอนุภาคขนาดเล็กทําใหผงที่ไดมีการบรรจุกันแนน<br />

จากภาพถาย SEM ที่แสดงใน Figure 2 พบวาผงคลอโรฟลลเมื่อใช GA และ MD เปนตัวพยุงใหลักษณะรูปทรงกลมแตมี<br />

พื้นผิวที่หดตัวมาก แตเมื่อใช MS เปนตัวพยุงพบวายังคงมีลักษณะทรงกลมและผิวเรียบซึ่งเปนลักษณะที่เหมาะสมเพราะเปน<br />

รูปทรงที่เก็บรักษาที่ตองการไดสูงสุด เมื่อพิจารณาปริมาณตัวพยุงที่เหมาะสม พบวาที่ 30% MS ใหปริมาณผลผลิตสูงสุด<br />

(Figure 3)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!