part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

16 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัว ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร ไดมีการสกัดสีจากรากของตน Red beet (Beta vulgaris) หรือ บีตรูต ซึ่งมีสารใหสีที่สําคัญในกลุม เบตาไซยานิน มาใชเปนสี ผสมอาหารโดยสีมีความปลอดภัย และมีการนํามาใชเพื่อการคา เชน แตงสีโยเกิรต หรือ ไอศกรีม เปนตน นอกจากนี้ยังพบวา เบตาไซยานิน ที่ไดจากธรรมชาตินอกจากจะใหสีแลว ยังมีสารหนาที่เฉพาะและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สําคัญหลายชนิด เชน สารตานออกซิเดชัน สารประกอบฟนอลิก และฟลาโวนอยด เปนตน โดย Wu et al. (2005) ศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ในผลแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดง พบวาเปนแหลงที่ดีของสารตานออกซิเดชัน และสารโพลีฟนอล ทั้งในสวนเนื้อและเปลือก ใน ปจจุบันยังไมพบขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัวของเบตาไซยานินจากผลแกวมังกรที่ พบในประเทศไทยที่แนชัด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัวของเบตาไซยา นินจากเปลือกและเนื้อแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดง นอกจากนี้ยังเปนการเพิ่มฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรและแนวทางการใช ประโยชนจากผลแกวมังกร ซึ่งอาจจะเปนแนวทางที่เปนประโยชนที่จะใชผลิตในเชิงการคาได อุปกรณและวิธีการ นําแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดงที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน นับตั้งแตออกดอกจนถึงระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตแยก เปน 2 สวนคือ สวนที่เปนเนื้อ และสวนที่เปนเปลือก วิเคราะหสมบัติทางเคมีและกายภาพของเนื้อและเปลือกแกวมังกรแดงโดย วัดปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมด (total soluble solids; TSS) โดยใช Hand refractometer Atago รุน N-1α 0-32°Brix วัดคาความเปนกรดดางโดยใช pH meter (Eutech, Cyber Scan pH 1000 Bench, Singapore) ปริมาณน้ําตาลรีดิวซ (Nelson, 1944) ปริมาณกรดทั้งหมดในรูปของกรดซิตริกและปริมาณความชื้น (AOAC, 1995) ปริมาณใยอาหารทั้งหมด (total dietary fiber) แบงเปนใยอาหารที่ละลายน้ํา (soluble dietary fiber) และใยอาหารที่ไมละลายน้ํา (insoluble dietary fiber) (AOAC, 1995) ปริมาณฟนอลิกและฟลาโวนอยดทั้งหมด (Marinova et al., 2005) ปริมาณวิตามินซี (Pearson, 1976) ปริมาณเบตาไซยานิน (Stintzing et al., 2003) ปริมาณสารตานอนุมูลอิสระวิธี DPPH และ ABTS (Maisuthisakul et al., 2007) และความคงตัวของเบตาไซยานิน (Kirca et al., 2007) ผลและวิจารณ จากการวิเคราะหสมบัติทางเคมีและกายภาพของเปลือกและเนื้อของแกวมังกรแดง แสดงผลใน Table 1 พบวา เปลือกและเนื้อมีปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดเทากับ 2.20 และ 6.37˚brix มีคา pH เทากับ 4.70 และ 4.60 ตามลําดับ มีปริมาณน้ําตาลรีดิวซเทากับ 2.35 และ 36.31 mg glucose /g fresh mass ปริมาณกรดทั้งหมดในรูปของกรดซิตริกเทากับ 0.09 และ 0.30% และมีปริมาณความชื้นเทากับ 91.48 และ 83.26% ตามลําดับ และเมื่อเปรียบเทียบสมบัติทางเคมีและ กายภาพของแกวมังกรแดงที่พบในประเทศไทยกับที่พบในประเทศเกาหลีใตพบวา แกวมังกรแดงจากทั้งสองแหลงมีคา pH ปริมาณน้ําตาลรีดิวซ และความชื ้นใกลเคียงกัน แตแกวมังกรแดงที่พบในประเทศไทยมีปริมาณของแข็งที่ละลายไดและปริมาณ กรดทั้งหมดมากกวา (Pyo et al., 2004) Table 1 Physicochemical properties of skin and flesh of red dragon fruit Physicochemical characteristics Mean±SD skin flesh Total soluble solids (°Brix) 2.20±0.22 6.37±0.15 pH 4.70±0.02 4.60±0.03 Reducing sugar (mg glucose/g FM a ) 2.35±0.07 36.31±0.33 Total acidity (%) 0.09±0.03 0.30±0.03 Moisture (%) 91.48±0.15 83.26±0.59 a FM = fresh mass, All values were performed in triplicate สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่พบในเปลือกและเนื้อแกวมังกรแดง แสดงผลใน Table 2 พบวา ปริมาณใยอาหารทั้งหมด ในเปลือกและเนื้อมีคา 3.62 และ 2.50 g/100g fresh mass แบงเปนใยอาหารที่ละลายน้ํา 1.93 และ 0.90 g/100g fresh mass และใยอาหารที่ไมละลายน้ํา 1.69 และ 1.67g/100g fresh mass ตามลําดับ ปริมาณฟนอลิกทั้งหมดเทากับ 191.24 และ 480.47 µg GAE /g FM ปริมาณฟลาโวนอยดทั้งหมดเทากับ 32.63 และ 288.27 µg CE/g FM และปริมาณวิตามินซี

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัว 17 ทั้งหมดเทากับ 45.11 และ 44.91 mg /g FM ตามลําดับ และจากการหาคาฤทธิ์ตานออกซิเดชันของแกวมังกรแดง ที่วิเคราะห โดยวิธี DPPH แสดงในรูปความเขมขนของสารตานอนุมูลอิสระที่ใชกําจัดอนุมูลอิสระ DPPH ไปได 50% ภายในเวลาที่กําหนด (EC 50 ) ทั้งนี้สารตานอนุมูลอิสระมีฤทธิ์ตานออกซิเดชันสูงเมื่อมีคา EC 50 ต่ํา พบวา ฤทธิ์ตานออกซิเดชันของเปลือกและเนื้อมีคา 20.88 และ 3.27 µg FM/ µg DPPH ตามลําดับ ซึ่งมีคาอยูในชวงของฤทธิ์ตานออกซิเดชันในผัก ผลไม และพืชสมุนไพร ที่ระบุ วามีฤทธิ์ตานออกซิเดชันสูง เชน พลับ มังคุด มะกอก กระถิน และพลู (0.3-7 µg FM /µg DPPH) (Maisuthisakul et al., 2007) และจากวิธี ABTS มีคา 110.41และ 332.14 µg TE /µg FM ตามลําดับ ซึ่งคาที่ไดมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกันกับการหา ดวยวิธี DPPH ดังนั้นแกวมังกรแดงจึงจัดเปนพืชที่มีฤทธิ์ตานออกซิเดชันคอนขางสูงและมีปริมาณเบตาไซยานินเทากับ14.27 และ 15.53 mg/100 g FM ตามลําดับ Table 2 Bioactive compounds in skin and flesh of red dragon fruit Bioactive compounds Mean±SD skin flesh Total dietary fiber (g/100g FM) 3.62± 0.01 2.57±0.06 Soluble dietary fiber 1.93± 0.05 0.90±0.02 Insoluble dietary fiber 1.69± 0.07 1.67±0.03 Total phenolics (µg GAE a / g FM b ) 191.24±0.05 480.47±0.01 Total flavoniolds (µg CE c /g FM) 32.63±0.03 288.27±0.04 Total vitamin C (mg / g FM) 45.11±0.02 44.91±0.03 Antioxidant activities DPPH assay (EC 50 , µg FM/ µg DPPH) 20.88±0.023 3.27±0.05 ABTS assay (µg TE d / µg FM) 110.41±0.06 332.14±0.21 Total betacyanin (mg/100 g FM) 14.27±0.22 15.53±0.07 a GAE = gallic acid equivalent, b FM = fresh mass, c CE = catechin equivalent, d TE = Trolox equivalent, All values were performed in triplicate. Table 3 Thermal stability of red dragon fruit Experimental conditions L* a* b* C 40°C , light 79.61±0.09 a 42.11±0.02 b 24.22±1.09 c 62.25±0.18 a 53.33±0.19 b 40°C , dark 84.23±1.20 a 48.02±1.40 a 19.25±1.10 d 67.83±0.03 a 38.53±1.12 c 60°C , light 65.72±1.08 b 40.35±0.09 b 32.11±0.11 b 56.14±0.09 b 61.08±1.20 b 60°C , dark 69.98±1.14 a 41.41±0.02 b 29.09±0.05 b 58.79±1.11 b 60.11±0.09 b 80°C , light 63.17±0.03 b 35.13±0.03 c 36.22±0.03 a 49.13±0.07 c 87.57±0.05 a 80°C , dark 62.56±00.2 b 38.63±0.04 c 34.47±0.09 b 51.33±0.28 b 85.34±0.26 a 100°C , light 61.66±0.04 c 20.03±0.40 d 39.05±1.05 a 39.87±0.04 d 91.60±0.11 a 100°C , dark 60.48±0.18 c 23.57±1.30 d 41.11±0.16 a 44.08±0.04 c 90.03±0.03 a จากการทดสอบความคงตัวของเบตาไซยานินพบวา ที่อุณหภูมิ 40°C ในที่ที่ไมมีแสงสวาง เบตาไซยายนินมีความคง ตัวดีกวาที่สภาวะอื่น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) คาที่แสดงดัง Table 3 และจากการหาชวง pH ที่เบตาไซยานินมี ความคงตัวไดดีที่สุดคือ ที่ชวง pH 4.5-5.5 โดยมีความคงตัวดีกวาที่สภาวะอื่น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) Figure 1 0 H

16 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัว ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

ไดมีการสกัดสีจากรากของตน Red beet (Beta vulgaris) หรือ บีตรูต ซึ่งมีสารใหสีที่สําคัญในกลุม เบตาไซยานิน มาใชเปนสี<br />

ผสมอาหารโดยสีมีความปลอดภัย และมีการนํามาใชเพื่อการคา เชน แตงสีโยเกิรต หรือ ไอศกรีม เปนตน นอกจากนี้ยังพบวา<br />

เบตาไซยานิน ที่ไดจากธรรมชาตินอกจากจะใหสีแลว ยังมีสารหนาที่เฉพาะและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สําคัญหลายชนิด<br />

เชน สารตานออกซิเดชัน สารประกอบฟนอลิก และฟลาโวนอยด เปนตน โดย Wu et al. (2005) ศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ<br />

ในผลแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดง พบวาเปนแหลงที่ดีของสารตานออกซิเดชัน และสารโพลีฟนอล ทั้งในสวนเนื้อและเปลือก ใน<br />

ปจจุบันยังไมพบขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัวของเบตาไซยานินจากผลแกวมังกรที่<br />

พบในประเทศไทยที่แนชัด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและความคงตัวของเบตาไซยา<br />

นินจากเปลือกและเนื้อแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดง นอกจากนี้ยังเปนการเพิ่มฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรและแนวทางการใช<br />

ประโยชนจากผลแกวมังกร ซึ่งอาจจะเปนแนวทางที่เปนประโยชนที่จะใชผลิตในเชิงการคาได<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

นําแกวมังกรพันธุเนื้อสีแดงที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน นับตั้งแตออกดอกจนถึงระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตแยก<br />

เปน 2 สวนคือ สวนที่เปนเนื้อ และสวนที่เปนเปลือก วิเคราะหสมบัติทางเคมีและกายภาพของเนื้อและเปลือกแกวมังกรแดงโดย<br />

วัดปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมด (total soluble solids; TSS) โดยใช Hand refractometer Atago รุน N-1α 0-32°Brix<br />

วัดคาความเปนกรดดางโดยใช pH meter (Eutech, Cyber Scan pH 1000 Bench, Singapore) ปริมาณน้ําตาลรีดิวซ<br />

(Nelson, 1944) ปริมาณกรดทั้งหมดในรูปของกรดซิตริกและปริมาณความชื้น (AOAC, 1995) ปริมาณใยอาหารทั้งหมด (total<br />

dietary fiber) แบงเปนใยอาหารที่ละลายน้ํา (soluble dietary fiber) และใยอาหารที่ไมละลายน้ํา (insoluble dietary fiber)<br />

(AOAC, 1995) ปริมาณฟนอลิกและฟลาโวนอยดทั้งหมด (Marinova et al., 2005) ปริมาณวิตามินซี (Pearson, 1976)<br />

ปริมาณเบตาไซยานิน (Stintzing et al., 2003) ปริมาณสารตานอนุมูลอิสระวิธี DPPH และ ABTS (Maisuthisakul et al.,<br />

2007) และความคงตัวของเบตาไซยานิน (Kirca et al., 2007)<br />

ผลและวิจารณ<br />

จากการวิเคราะหสมบัติทางเคมีและกายภาพของเปลือกและเนื้อของแกวมังกรแดง แสดงผลใน Table 1 พบวา<br />

เปลือกและเนื้อมีปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมดเทากับ 2.20 และ 6.37˚brix มีคา pH เทากับ 4.70 และ 4.60 ตามลําดับ<br />

มีปริมาณน้ําตาลรีดิวซเทากับ 2.35 และ 36.31 mg glucose /g fresh mass ปริมาณกรดทั้งหมดในรูปของกรดซิตริกเทากับ<br />

0.09 และ 0.30% และมีปริมาณความชื้นเทากับ 91.48 และ 83.26% ตามลําดับ และเมื่อเปรียบเทียบสมบัติทางเคมีและ<br />

กายภาพของแกวมังกรแดงที่พบในประเทศไทยกับที่พบในประเทศเกาหลีใตพบวา แกวมังกรแดงจากทั้งสองแหลงมีคา pH<br />

ปริมาณน้ําตาลรีดิวซ และความชื ้นใกลเคียงกัน แตแกวมังกรแดงที่พบในประเทศไทยมีปริมาณของแข็งที่ละลายไดและปริมาณ<br />

กรดทั้งหมดมากกวา (Pyo et al., 2004)<br />

Table 1 Physicochemical properties of skin and flesh of red dragon fruit<br />

Physicochemical characteristics<br />

Mean±SD<br />

skin<br />

flesh<br />

Total soluble solids (°Brix) 2.20±0.22 6.37±0.15<br />

pH 4.70±0.02 4.60±0.03<br />

Reducing sugar (mg glucose/g FM a ) 2.35±0.07 36.31±0.33<br />

Total acidity (%) 0.09±0.03 0.30±0.03<br />

Moisture (%) 91.48±0.15 83.26±0.59<br />

a FM = fresh mass, All values were performed in triplicate<br />

สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่พบในเปลือกและเนื้อแกวมังกรแดง แสดงผลใน Table 2 พบวา ปริมาณใยอาหารทั้งหมด<br />

ในเปลือกและเนื้อมีคา 3.62 และ 2.50 g/100g fresh mass แบงเปนใยอาหารที่ละลายน้ํา 1.93 และ 0.90 g/100g fresh<br />

mass และใยอาหารที่ไมละลายน้ํา 1.69 และ 1.67g/100g fresh mass ตามลําดับ ปริมาณฟนอลิกทั้งหมดเทากับ 191.24<br />

และ 480.47 µg GAE /g FM ปริมาณฟลาโวนอยดทั้งหมดเทากับ 32.63 และ 288.27 µg CE/g FM และปริมาณวิตามินซี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!