part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

30 สมบัติทางเคมีและกายภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร Table 3 Effect of enzyme treatment on volatile compounds of bael fruit hydrolysate Compound name RI % Area Untreated Enzyme treated Compound name Isoamyl acetate 1147 1.86 - Limonene 1202 36.48 9.46 β-Phellandrene 1217 5.16 - β-cis-Ocimene 1245 - 0.69 3-Methyl-2-butenyl acetate 1266 - 0.95 p-Cymene 1279 29.96 - α-Terpinolene 1297 - 0.90 4-Methylpentan-1-ol 1301 0.96 - cis-Rose-oxide 1338 - 0.29 Dehydro-p-cymene 1414 1.99 - Linalool oxide 1425 - 5.09 α-Cubebene 1463 - 0.42 α-Copaene 1536 1.46 0.35 β-Cubebene 1558 1.32 - Linalool 1565 - 7.62 β-Element 1570 - 2.37 β-Caryophyllene 1594 1.93 21.56 Citronellyl acetate 1607 - 0.27 Aromadendrene 1650 - 0.71 Pulegone 1665 1.71 - α-Humulene 1680 1.11 7.00 RI % Area Untreated Enzyme treated α-Amorphene 1691 - 0.37 Verbenone 1729 1.16 - Bicyclogermacrene 1738 - 1.28 trans-Pyranoid linalool oxide 1747 - 1.13 Carvone 1751 0.87 - trans-Carvyl acetate 1759 0.89 - Germacrene-D 1772 - 7.44 Methyl laurate 1813 - 0.49 Dihydro-β-ionone 1825 3.63 6.31 Geranyl acetone 1840 2.27 1.08 β-Ionone 1947 3.31 12.11 Tridecanol 1952 - 0.35 Dihydro-β-Ionol 1991 - 0.70 Caryophyllene oxide 1999 3.10 - cis-Nerolidol 2010 - 0.43 Pentadecanol 2035 - 0.29 Methyl cinnamate 2056 - 0.82 Elemol 2069 - 0.37 Methyl palmitate 2170 - 0.43 Methyl palmitoleate 2237 - 0.72 2,4-Di-tert-butylphenol 2243 - 5.79 Hexadecanoic acid 2860 0.81 - สรุป การใชเอนไซมเพกทิเนสทางการคายอยเนื้อมะตูมสงผลใหไฮโดรไลเสตที่ไดมีสมบัติทางเคมีกายภาพแตกตางกันตาม ระดับการตัดพันธะไกลโคซิลของพอลิเมอรในเนื้อมะตูม เอนไซมที่ใชมีบทบาทในการเพิ่มปริมาณแคโรทีนอยดทั้งหมด ฤทธิ์ตาน ออกซิเดชัน ปริมาณใยอาหารที่ละลายน้ํา และชนิดสารระเหย มีผลทําใหคา yield stress และ flow behavior index มากขึ้น สวนคา consistency coefficient และ apparent viscosity ลดลง โดยยังคงพฤติกรรมการไหลแบบ pseudoplastic with yield stress และมีขนาดอนุภาคเฉลี่ยเล็กลง จากลักษณะดังกลาวจะเห็นไดวาไฮโดรไลเสตมะตูมมีแนวโนมในการใชเปนสารปรุง แตงสี กลิ่น รส รวมทั้งใชเปนสารเพิ่มลักษณะเนื้อสัมผัสในอาหารที่มีหนาที่เฉพาะ คําขอบคุณ ขอขอบคุณโครงการนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารสูโครงสรางเศรษฐกิจยุคใหม ทุน วิจัยเงินงบประมาณแผนดิน และบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ใหทุนสนับสนุนการทําวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอางอิง ปราณี อานเปรื่อง. 2547. เอนไซมทางอาหาร. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. AOAC. 1995. Official Methods of Analysis of AOAC International. 16 th ed. Washington D.C. Benzie, I.F.F. and J.J. Strain. 1996. The ferric reducing ability of plasma (FRAP) as a measure of “Antioxidant Power” the FRAP assay. Analytical Biochemistry. 239: 70-76. Maisuthisakul, M., M. Suttajit and R. Pongsawatmanit. 2007. Assessment of phenolic content and free radical scavenging capacity of some Thai indigenous plants. Food Chemistry. 100: 1409-1418. Nelson, N. 1944. Determination of glucose. Journal Biological and Chemistry. 153: 375-380. Talcott, S.T. and L.R. Howard. 1999. Phenolic autooxidation is responsible for color degradation in processed carrot puree. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 47: 2109-2115.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 31-34 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 31-34 (2552) สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารใหกลิ่นของฝรั่งขาวและฝรั่งแดง (Psidium guajava L.) Bioactive Compounds and Aroma Components of White and Red Guava (Psidium guajava L.) วสาวี ถวยทอง 1 และ ปราณี อานเปรื่อง 2 Thuaytong, W. 1 and Anprung, P. 2 Abstract This research involves the comparison of bioactive compounds and aroma components of different varieties of white guava (Pansithong) and red guava (Samsi). The antioxidant activity values determined by DPPH assays and FRAP assays were 7.82 µg fresh mass/ µg DPPH and 78.56 µg Trolox equivalent/g fresh mass for white guava, and 10.28 µg fresh mass/ µg DPPH and 111.06 µM Trolox equivalent/ g fresh mass for red guava. Vitamin C contents were 130 and 112 mg/ 100 g, total phenolics contents were 145.52 and 163.36 mg gallic acid equivalents/100 g fresh mass and total flavonoids contents were 19.06 and 35.85 mg catechin equivalents/ 100 g fresh mass, in white and red guava, respectively. Only red guava had lycopene content of 849.58 µg/ 100 g. Most of the biological activity of red guava was higher than white guava. Analysis of aroma components in red guava by the SPME/GC/MS showed the presence of cinnamyl alcohol, ethyl benzoate, ß-caryophyllene, (E)-3-hexenyl acetate, α-bisabolene and aromadendrene. The same compounds in different amount were also found in white guava. In addition, the total dietary fiber content was 3.28 and 4.99% dry basis for white and red guava, respectively. Keywords : guava, bioactive compounds, aroma components, dietary fiber บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและชนิดสารใหกลิ่นจากฝรั่งขาว พันธุแปนสีทอง และฝรั่งแดง พันธุสามสี จากการเปรียบเทียบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในฝรั่งขาวและฝรั่งแดง พบ สารที่มีฤทธิ์ตานออกซิเดชันที่ วิเคราะหดวยวิธี DPPH และวิธี FRAP ในฝรั่งขาวเทากับ 7.82 µg fresh mass/ µg DPPH และ 78.56 µM Trolox equivalent/ g fresh mass และในฝรั่งแดงเทากับ 10.28 µg fresh mass / µg DPPH และ 111.06 µM Trolox equivalent/ g fresh mass ปริมาณวิตามินซีในฝรั่งขาวและฝรั่งแดงเทากับ 130 และ 112 mg/ 100 g สารประกอบฟนอลิคทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่งแดง เทากับ 145.52 และ 163.36 mg gallic acid equivalents/ 100 g fresh mass และฟลาโวนอยดทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่ง แดงเทากับ 19.06 และ 35.85 mg catechin equivalents/ 100 g fresh mass และสารไลโคปนตรวจพบเฉพาะในฝรั่งแดง เทานั้น เทากับ 849.58 µg/ 100g เมื่อเปรียบเทียบระหวางพันธุพบวาปริมาณสารออกฤทธทางชีวภาพที่พบในฝรั่งแดง สวน ใหญมีสูงกวาในฝรั่งขาว และเมื่อวิเคราะหชนิดสารใหกลิ่นที่พบในเนื้อฝรั่งแดง ดวยเทคนิค SPME/GC/MS พบวา สามารถบอก ชนิดสารใหกลิ่นหลักในเนื้อฝรั่งได ดังนี้ cinnamyl alcohol ethyl benzoate ß-caryophyllene (E)-3-hexenyl acetate α- bisabolene และ aromadendrene เปนตน ขณะที่ฝรั่งขาวก็พบสารชนิดเดียวกันแตปริมาณมากนอยตางกัน นอกจากนี้ยัง พบวามีปริมาณใยอาหารทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่งแดงเทากับ 3.28 และ 4.99% โดยน้ําหนักแหง คําสําคัญ : ฝรั่ง สารมีฤทธิ์ตานออกซิเดชัน สารใหกลิ่น ใยอาหาร คํานํา ปจจุบันไดมีการใหความสนใจและมีความตองการอาหารเพื่อสุขภาพ และสารใหกลิ่นจากธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากปญหาทางดานสุขภาพและโภชนาการ ทําใหผลงานการศึกษาที่เกี่ยวกับสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารใหกลิ่นจาก แหลงธรรมชาติมีศักยภาพทางการตลาดสูงขึ้น โดยเฉพาะการศึกษาการสกัดและประเมินสมบัติการเปนสารตานอนุมูลอิสระ 1 หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 1 Program in Biotechnology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Phayathai Road, Phatumwan, Bangkok 10330 2 ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 2 Department of Food Technology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Phayathai Road, Phatumwan, Bangkok 10330

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 31-34 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 31-34 (2552)<br />

สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารใหกลิ่นของฝรั่งขาวและฝรั่งแดง (Psidium guajava L.)<br />

Bioactive Compounds and Aroma Components of White and Red Guava (Psidium guajava L.)<br />

วสาวี ถวยทอง 1 และ ปราณี อานเปรื่อง 2<br />

Thuaytong, W. 1 and Anprung, P. 2<br />

Abstract<br />

This research involves the comparison of bioactive compounds and aroma components of different<br />

varieties of white guava (Pansithong) and red guava (Samsi). The antioxidant activity values determined by DPPH<br />

assays and FRAP assays were 7.82 µg fresh mass/ µg DPPH and 78.56 µg Trolox equivalent/g fresh mass for<br />

white guava, and 10.28 µg fresh mass/ µg DPPH and 111.06 µM Trolox equivalent/ g fresh mass for red guava.<br />

Vitamin C contents were 130 and 112 mg/ 100 g, total phenolics contents were 145.52 and 163.36 mg gallic acid<br />

equivalents/100 g fresh mass and total flavonoids contents were 19.06 and 35.85 mg catechin equivalents/ 100 g<br />

fresh mass, in white and red guava, respectively. Only red guava had lycopene content of 849.58 µg/ 100 g. Most<br />

of the biological activity of red guava was higher than white guava. Analysis of aroma components in red guava by<br />

the SPME/GC/MS showed the presence of cinnamyl alcohol, ethyl benzoate, ß-caryophyllene, (E)-3-hexenyl<br />

acetate, α-bisabolene and aromadendrene. The same compounds in different amount were also found in white<br />

guava. In addition, the total dietary fiber content was 3.28 and 4.99% dry basis for white and red guava,<br />

respectively.<br />

Keywords : guava, bioactive compounds, aroma components, dietary fiber<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและชนิดสารใหกลิ่นจากฝรั่งขาว พันธุแปนสีทอง<br />

และฝรั่งแดง พันธุสามสี จากการเปรียบเทียบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในฝรั่งขาวและฝรั่งแดง พบ สารที่มีฤทธิ์ตานออกซิเดชันที่<br />

วิเคราะหดวยวิธี DPPH และวิธี FRAP ในฝรั่งขาวเทากับ 7.82 µg fresh mass/ µg DPPH และ 78.56 µM Trolox equivalent/<br />

g fresh mass และในฝรั่งแดงเทากับ 10.28 µg fresh mass / µg DPPH และ 111.06 µM Trolox equivalent/ g fresh mass<br />

ปริมาณวิตามินซีในฝรั่งขาวและฝรั่งแดงเทากับ 130 และ 112 mg/ 100 g สารประกอบฟนอลิคทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่งแดง<br />

เทากับ 145.52 และ 163.36 mg gallic acid equivalents/ 100 g fresh mass และฟลาโวนอยดทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่ง<br />

แดงเทากับ 19.06 และ 35.85 mg catechin equivalents/ 100 g fresh mass และสารไลโคปนตรวจพบเฉพาะในฝรั่งแดง<br />

เทานั้น เทากับ 849.58 µg/ 100g เมื่อเปรียบเทียบระหวางพันธุพบวาปริมาณสารออกฤทธทางชีวภาพที่พบในฝรั่งแดง สวน<br />

ใหญมีสูงกวาในฝรั่งขาว และเมื่อวิเคราะหชนิดสารใหกลิ่นที่พบในเนื้อฝรั่งแดง ดวยเทคนิค SPME/GC/MS พบวา สามารถบอก<br />

ชนิดสารใหกลิ่นหลักในเนื้อฝรั่งได ดังนี้ cinnamyl alcohol ethyl benzoate ß-caryophyllene (E)-3-hexenyl acetate α-<br />

bisabolene และ aromadendrene เปนตน ขณะที่ฝรั่งขาวก็พบสารชนิดเดียวกันแตปริมาณมากนอยตางกัน นอกจากนี้ยัง<br />

พบวามีปริมาณใยอาหารทั้งหมดในฝรั่งขาวและฝรั่งแดงเทากับ 3.28 และ 4.99% โดยน้ําหนักแหง<br />

คําสําคัญ : ฝรั่ง สารมีฤทธิ์ตานออกซิเดชัน สารใหกลิ่น ใยอาหาร<br />

คํานํา<br />

ปจจุบันไดมีการใหความสนใจและมีความตองการอาหารเพื่อสุขภาพ และสารใหกลิ่นจากธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น<br />

เนื่องจากปญหาทางดานสุขภาพและโภชนาการ ทําใหผลงานการศึกษาที่เกี่ยวกับสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารใหกลิ่นจาก<br />

แหลงธรรมชาติมีศักยภาพทางการตลาดสูงขึ้น โดยเฉพาะการศึกษาการสกัดและประเมินสมบัติการเปนสารตานอนุมูลอิสระ<br />

1 หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330<br />

1 Program in Biotechnology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Phayathai Road, Phatumwan, Bangkok 10330<br />

2 ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330<br />

2 Department of Food Technology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Phayathai Road, Phatumwan, Bangkok 10330

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!