22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

28 สมบัติทางเคมีและกายภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

คํานํา<br />

มะตูมมีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Aegle marmelos (L.) Correa อยูในวงศ Rutaceae เปนพืชที่มีสรรพคุณใชเปน<br />

สมุนไพรและมีความสําคัญตอระบบยาพื้นบาน ลักษณะทางกายภาพของเนื้อมะตูมสุกคือ มีสีสมอมเหลืองและมีกลิ่นรสหอม<br />

หวานเปนเอกลักษณ ประกอบดวยสารเมือก โดยมีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สําคัญหลายชนิด เชน สารในกลุมแคโรทีนอยด ฟ<br />

นอลิก ฟลาโวนอยด เทอรปน และใยอาหาร เปนตน การผลิตสารสกัดจากผักและผลไมดวยวิธีทางชีวภาพโดยใชเอนไซมยอย<br />

สลาย เพกทินที่อยูในชั้นผนังเซลลพืช จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการสกัดของเหลวตางๆ รวมทั้งสารใหสี กลิ่นรส และสารออก<br />

ฤทธิ์ทางชีวภาพ (ปราณี, 2547) โดยไมตองผานกระบวนการกรองแยกกากหรือใยอาหารออก ทําใหสารสกัดหรือไฮโดรไลเสตที่<br />

ไดยังคงองคประกอบเดิมและเพิ่มองคประกอบใหมที่ไดจากการยอยดวยเอนไซม จากขอมูลดังกลาวจะเห็นวามะตูมจัดเปนพืช<br />

ที่มีศักยภาพในการผลิตเปนสารสกัด เพื่อพัฒนาเปนสารปรุงแตงสี กลิ่นรส และลักษณะเนื้อสัมผัสในอาหารที่มีหนาที่เฉพาะ<br />

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสมบัติทางเคมีกายภาพของไฮโดรไลเสตมะตูมที่ไดจากการยอยดวยเอนไซม<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

วัตถุดิบ<br />

ตีปนเนื้อมะตูมสุกพันธุไขจากจังหวัดพิจิตร และควบคุมการเกิดปฏิกิริยาสีน้ําตาลโดยเติมกรดแอสคอรบิกเขมขน<br />

0.3% (w/w) รวมกับการใหความรอนดวยไอน้ ําที่อุณหภูมิ 85ºC นาน 3 นาที<br />

การผลิตไฮโดรไลเสตมะตูมดวยเอนไซม<br />

ยอยเนื้อมะตูมตีปนดวยเอนไซมเพกทิเนสทางการคา (Pectinex ® Ultra SP-L; 10292 PGU/ml) ที่ความเขมขน 1.0-<br />

3.0% (v/w) เวลาการยอยนาน 0-6 ชั่วโมง ควบคุมอุณหภูมิที่ 32±2ºC ติดตามการทํางานของเอนไซมโดยพิจารณาจากระดับ<br />

การตัดพันธะไกลโคซิลของพอลิเมอรในเนื้อมะตูมที่ประเมินจากคาของน้ําตาลรีดิวซ (Nelson, 1944)<br />

สมบัติทางเคมีกายภาพของไฮโดรไลเสตมะตูม<br />

ศึกษาลักษณะทางเคมีกายภาพโดยวัดปริมาณแคโรทีนอยดทั้งหมด (Talcott และ Howard, 1999) วิเคราะหฤทธิ์<br />

ตานออกซิเดชันดวยวิธี DPPH (Maisuthisakul et al., 2007) และวิธี FRAP (Benzie และ Strain, 1996) วัดขนาดอนุภาคดวย<br />

เครื่อง Laser Particle Size Analyzer ศึกษาพฤติกรรมการไหลดวยเครื่อง Rheometer วิเคราะหปริมาณใยอาหาร (AOAC,<br />

1995) และวิเคราะหสารระเหยโดยวิธี solid-phase microextraction (SPME) ดวยเครื่อง GC-MS<br />

การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป SPSS Version 11.5 เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ย<br />

โดยใชวิธี Duncan’s New Multiple Range Test และ T-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%<br />

ผลและวิจารณ<br />

ภาวะการผลิตไฮโดรไลเสตมะตูมดวยเอนไซม<br />

เมื่อเพิ่มความเขมขนของเอนไซมและระยะเวลาการยอย ไฮโดรไลเสตมีปริมาณน้ําตาลรีดิวซเพิ่มขึ้น (Figure 1)<br />

ปริมาณน้ําตาลรีดิวซที่เพิ่มขึ้นเกิดจากการตัดพันธะไกลโคซิลของพอลิเมอรในเนื้อมะตูมที่มากขึ้น การใชเอนไซมความเขมขน<br />

2.5% (v/w) เปนภาวะที่ใหปริมาณน้ําตาลรีดิวซในชวงกวาง สามารถแบงเปน 5 ชวง โดยประมาณคือ 39 55 68 77 และ 85<br />

mg glucose/ g fresh weight ที่เวลายอย 0 1 2 4 และ 6 ชั่วโมง ตามลําดับ อยางไรก็ตามปริมาณน้ําตาลรีดิวซที่ไดมีคาไม<br />

แตกตางกับภาวะที่ใชเอนไซมความเขมขน 3.0% (v/w) ดังนั้นจึงใชภาวะนี้เปนตัวแทนเพื่อศึกษาสมบัติทางเคมีกายภาพของ<br />

ไฮโดรไลเสตมะตูมที่มีระดับการตัดพันธะไกลโคซิลตางกัน<br />

สมบัติทางเคมีกายภาพของไฮโดรไลเสตมะตูม<br />

สมบัติทางเคมีกายภาพของไฮโดรไลเสตมะตูมที่มีระดับการตัดพันธะไกลโคซิลตางกันแสดงใน Table 1 พบวา<br />

ไฮโดรไลเสตที่เวลาการยอย 2 ชั่วโมงขึ้นไป มีปริมาณแคโรทีนอยดสูงกวาที่ภาวะอื่น เนื่องจากเอนไซมจะชวยสลายเพกทินใน<br />

ผนังเซลลพืชและปลอยแคโรทีนอยดที่อยูในคลอโรพลาสตหรือโครโมพลาสตและอยูในของเหลวภายในเซลลออกมา และ<br />

ไฮโดรไลเสตที่เวลาการยอย 4 ชั่วโมงขึ้นไป จะมีฤทธิ์ตานออกซิเดชันสูงกวาที่ภาวะอื่น สวนที่เวลาการยอย 6 ชั่วโมง ไฮโดรไล<br />

เสตมีขนาดอนุภาคเฉลี่ยเล็กที่สุด เนื่องจากเอนไซมยอยเพกทินทําใหไดขนาดของเพกทินที่สั้นลง เมื่อใช Herschel-Bulkley<br />

model ทํานายพฤติกรรมการไหลพบวา ไฮโดรไลเสตมะตูมมีพฤติกรรมการไหลแบบ pseudoplastic with yield stress ที่ทุก<br />

เวลาการยอย หรือแสดงสมบัติเปน shear thinning และมีลักษณะการไหลแบบ thixotropic ไฮโดรไลเสตที่ผานการยอยดวย<br />

เอนไซมมีคา yield stress (τ o ) สูงขึ้น เมื่อการตัดพันธะไกลโคซิลในไฮโดรไลเสตมีมากขึ้นจะสงผลใหคา consistency

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!