part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

122 ประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหย ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคที่จะศึกษาประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อยในการควบคุมการ เจริญเติบโตของเชื้อรา A. flavus และ A. niger ที่ปนเปอนในเมล็ดพันธุขาวโพดในระหวางการเก็บรักษาและสามารถที่จะ นํามาประยุกตใชในการควบคุมเชื้อราที่เกิดในเมล็ดพันธุชนิดอื่นๆ ตอไปได อุปกรณและวิธีการ นําใบกระดุมทองเลื้อยมาลางทําความสะอาด หั่นใหเปนชิ้นเล็กแลวนํามาสกัดดวยวิธีตมกลั่น (hydrodistillation) จากนั้นนํามาทดสอบประสิทธิภาพน้ํามันหอมระเหยที่ไดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใย และสปอรของเชื้อรา A. flavus และ A. niger ที่คัดแยกไดจากเมล็ดพันธุขาวโพดหวาน ดวยวิธี agar dilution method ที่ความเขมขน 0 100 500 1,000 5,000 และ 10,000 ppm นําเชื้อรา A. flavus และ A. niger มาเลี้ยงบนอาหาร Potato dextrose agar (PDA) นาน ประมาณ 5-7 วัน เตรียม spore suspension ของเชื้อราทั้ง 2 ชนิดนี้ใหมีความเขมขนประมาณ 1x10 3 สปอรตอมิลลิลิตร ตรวจดูการงอกของสปอรภายใตกลองจุลทรรศนทุก 6 ชั่วโมง รายงานผลโดยวัดความยาวเสนผานศูนยกลางของโคโลนี (mm) และ รอยละการงอกของสปอร คํานวณตามสูตรดังนี้ รอยละการงอกของสปอร = จํานวนสปอรที่งอก x 100 จํานวนสปอรทั้งหมด วางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จํานวน 4 ซ้ํา ผล น้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อยสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใยไดเพิ่มขึ้นตามความเขมขนของ น้ําหอมระเหยที่เพิ่มขึ้น โดยในชวง 1-3 วันแรกของการบมเชื้อที่ความเขมขน 100-500 ppm มีการเจริญเติบโตของเชื้อรา A. flavus ไดใกลเคียงกันกับชุดควบคุมแตหลังจากวันที่ 4 พบวาที่ความเขมขนมากกวา 500 ppm สามารถชะลอการ เจริญเติบโตของเชื้อรา A. flavus ไดดีกวาที่ความเขมขน 0-100 ppm และในวันที่ 7 ของการบมเชื้อรา พบวา ที่ความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา A. flavus ไดซึ่งสังเกตจากขนาดของโคโลนีที่มีขนาดเล็กที่สุดโดยมีเสน ผานศูนยกลางเทากับ 32.9 mm รองลงมาคือ 5,000 1,000 500 และ 100 ppm ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางของโคโลนี เทากับ 41.1 53.4 60.6 และ 67.4 mm ตามลําดับ เมื่อเทียบกับชุดควบคุมซึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลางของโคโลนีคือ 71.5 mm (Figure 1 และ 2A) สวนการงอกของสปอรเชื้อรา A. flavus พบวาน้ํามันหอมระเหยที่ความเขมขน 100 ppm สามารถ ยับยั้งการงอกของสปอรไดใกลเคียงกับชุดควบคุมประมาณ 30% สวนที่ความเขมขน 500 ppm สามารถยับยั้งการงอกของ สปอรไดประมาณ 60% เปนเวลา 6 ชั่วโมงหลังการบมสปอร ในขณะที่ความเขมขน 1,000-10,000 ppm ยับยั้งการงอกของ สปอรได 100% เปนเวลา 6 ชั่วโมงหลังการบมสปอร และหลังจากชั่วโมงที่ 12 ไปแลวพบวาที่ความเขมขนนอยกวา 500 ppm ไมสามารถยับยั้งการงอกของสปอรได แตที่ความเขมขน 5,000 ppm สามารถยับยั้งการงอกของสปอรไดใกลเคียงกับที่ความ เขมขน 10,000 ppm ซึ่งยับยั้งการงอกสปอรได 100% แตอยางไรก็ตามประสิทธิภาพในการยับยั้งการงอกของสปอรดวยน้ํามัน หอมระเหยที่ความเขมขน 10,000 ppm ในชั่วโมงที่ 18 และ 24 สามารถยับยั้งการงอกของสปอรได 92% และ 49% ตามลําดับ (Figure 2B) สําหรับเชื้อรา A. niger พบวา น้ํามันหอมระเหยสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรานี้ไดโดยที่ ความเขมขน 0-1,000 ppm การเจริญเติบโตของเชื้อราใกลเคียงกันในชวง 5 วันแรกหลังจากบมเชื้อ แตหลังจากวันที่ 5 พบวา น้ํามันหอมระเหยที่ความเขมขน 500-10,000 ppm สามารถชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อรา A. niger ไดดีกวาความเขมขน 100 และ 500 ppm และที่ความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา A. niger ไดดีที่สุดตลอด ระยะเวลาในการบมเชื้อเปนเวลา 7 วัน วิจารณผล น้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อยที่สกัดดวยวิธีตมกลั่นมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใย และการงอกสปอรของเชื้อรา A. flavus ได โดยประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใยจะเพิ่มขึ้นเมื่อความเขมขน ของน้ํามันหอมระเหยเพิ่มขึ้น โดยที่ความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการเจริญของเสนใยไดมากที่สุดซึ่งแตกตางจาก

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหย 123 น้ํามันหอมระเหยที่ความเขมขนอื่นๆ อยางมีนัยสําคัญ และสามารถยับยั้งการงอกของสปอรได 100% ที่ความเขมขน 10,000 ppm เปนเวลา 12 ชั่วโมง (รูปที่ 2A) และน้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ เชื้อราทั้ง A. niger ไดเหมือนกับเสนใยเชื้อรา A. flavus ซึ่งมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใยในเชื้อราทั้ง 2 ชนิดและการงอกสปอรของเชื้อรา A. flavus ไดนั้นเนื่องจากสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพดังที่กลาวขางตนที่มีอยูในกระดุมทอง เลื้อยมีผลตอการเจริญเติบโตของเสนใยและการงอกของสปอร หรือน้ํามันหอมระเหยอาจจะไปรบกวนกระบวนการขนสงสาร ผานเขาออกของเซลลเมมเบรนและยับยั้งกระบวนการหายใจ (Cox et al., 2000) และ Thyagarajan et al. (1999) พบ สารประกอบ 5 ชนิดจากกระดุมทองเลื้อยที่มีคุณสมบัติตานเชื้อราได 9 สปชีส ซึ่งแตกตางจากรายงานของ Taddei และ Romero (1999) พบวาสารสกัดหยาบจากใบกระดุมทองเลื้อยดวยเฮกเซน เอทิลอะซิเตท และน้ําสามารถยับยั้งเชื้อจุลินทรียได บางชนิด เชน Bacillus sutilis, Mycobacterium smegmmatis และ Staphylococcus aureus แตไมสามารถยับยั ้งเชื้อรา A. flavus และ A. niger ไดและแตกตางจากผลการทดลองนี้ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกรรมวิธีในการสกัดแตกตางกันทําให ปริมาณและสารที่สกัดไดจากใบกระดุมทองเลื้อยแตกตางกัน จึงอาจสงผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อรานี้ไดแตกตางกันดวย สรุป น้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อยที่สกัดดวยวิธีตมกลั่นความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการ เจริญเติบโตของเสนใยเชื้อรา A. flavus และ A. niger ไดดีที่สุดประมาณ 70 และ 80% ตามลําดับ โดยมีเสนผานศูนยกลาง ของโคโลนีของเชื้อรา A. flavus และ A. niger เทากับ 32.9 และ 20.7 mm ตามลําดับ เมื่อบมเปนเวลา 7 วัน และสามารถ ยับยั้งการงอกของสปอรเชื้อรา A. flavus ได 100% เปนเวลา 12 ชั่วโมง 0 ppm 100 ppm 500 ppm diameter of A.flavus (mm.) Figure 1 The effect of essential oil extracted from W. trilobala (L.) leaves to inhibit on growth of A. flavus at 0- 10,000 ppm for 7 days. 80 70 60 50 40 30 20 10 0 (A) 0 1 2 3 4 5 6 7 Time (days) 1000 ppm 5000 ppm 10000 ppm spore germination (%) 100 80 60 40 20 0 Figure 2 Concentration of essential oil of W. trilobala (L.) leaves which inhibit mycelium growth for 7 days (A) and spore germination of A. flavus for 24 hours. (B) (B) 0 6 12 18 24 Time (hours) 0 ppm 100 ppm 500 ppm 1,000 ppm 5,000 ppm 10,000 ppm

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหย 123<br />

น้ํามันหอมระเหยที่ความเขมขนอื่นๆ อยางมีนัยสําคัญ และสามารถยับยั้งการงอกของสปอรได 100% ที่ความเขมขน 10,000<br />

ppm เปนเวลา 12 ชั่วโมง (รูปที่ 2A) และน้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ<br />

เชื้อราทั้ง A. niger ไดเหมือนกับเสนใยเชื้อรา A. flavus ซึ่งมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใยในเชื้อราทั้ง<br />

2 ชนิดและการงอกสปอรของเชื้อรา A. flavus ไดนั้นเนื่องจากสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพดังที่กลาวขางตนที่มีอยูในกระดุมทอง<br />

เลื้อยมีผลตอการเจริญเติบโตของเสนใยและการงอกของสปอร หรือน้ํามันหอมระเหยอาจจะไปรบกวนกระบวนการขนสงสาร<br />

ผานเขาออกของเซลลเมมเบรนและยับยั้งกระบวนการหายใจ (Cox et al., 2000) และ Thyagarajan et al. (1999) พบ<br />

สารประกอบ 5 ชนิดจากกระดุมทองเลื้อยที่มีคุณสมบัติตานเชื้อราได 9 สปชีส ซึ่งแตกตางจากรายงานของ Taddei และ<br />

Romero (1999) พบวาสารสกัดหยาบจากใบกระดุมทองเลื้อยดวยเฮกเซน เอทิลอะซิเตท และน้ําสามารถยับยั้งเชื้อจุลินทรียได<br />

บางชนิด เชน Bacillus sutilis, Mycobacterium smegmmatis และ Staphylococcus aureus แตไมสามารถยับยั ้งเชื้อรา<br />

A. flavus และ A. niger ไดและแตกตางจากผลการทดลองนี้ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกรรมวิธีในการสกัดแตกตางกันทําให<br />

ปริมาณและสารที่สกัดไดจากใบกระดุมทองเลื้อยแตกตางกัน จึงอาจสงผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อรานี้ไดแตกตางกันดวย<br />

สรุป<br />

น้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อยที่สกัดดวยวิธีตมกลั่นความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของเสนใยเชื้อรา A. flavus และ A. niger ไดดีที่สุดประมาณ 70 และ 80% ตามลําดับ โดยมีเสนผานศูนยกลาง<br />

ของโคโลนีของเชื้อรา A. flavus และ A. niger เทากับ 32.9 และ 20.7 mm ตามลําดับ เมื่อบมเปนเวลา 7 วัน และสามารถ<br />

ยับยั้งการงอกของสปอรเชื้อรา A. flavus ได 100% เปนเวลา 12 ชั่วโมง<br />

0 ppm<br />

100 ppm 500 ppm<br />

diameter of A.flavus (mm.)<br />

Figure 1 The effect of essential oil extracted from W. trilobala (L.) leaves to inhibit on growth of A. flavus at 0-<br />

10,000 ppm for 7 days.<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

(A)<br />

0 1 2 3 4 5 6 7<br />

Time (days)<br />

1000 ppm 5000 ppm 10000 ppm<br />

spore germination (%)<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Figure 2 Concentration of essential oil of W. trilobala (L.) leaves which inhibit mycelium growth for 7 days (A) and<br />

spore germination of A. flavus for 24 hours. (B)<br />

(B)<br />

0 6 12 18 24<br />

Time (hours)<br />

0 ppm<br />

100 ppm<br />

500 ppm<br />

1,000 ppm<br />

5,000 ppm<br />

10,000 ppm

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!