22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 121-124 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 121-124 (2552)<br />

ประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหยใบกระดุมทองเลื้อยตอการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus flavus<br />

Efficacy of essential oil extracted of Wedelia trilobata (L.) leaves on the growth of Aspergillus flavus<br />

สรอยสุดา อุตระกูล 1 ทรงศิลป พจนชนะชัย 1 ณัฏฐา เลาหกุลจิตต<br />

1 และ ทวีรัตน วิจิตรสุนทรกุล 1<br />

Utrakoon, S. 1 , Photchanachai, S. 1 , Laohakunjit, N. 1 and. 1 Vichitsoonthonkul, T. 1<br />

Abstract<br />

The antifungal effect of essential oil extracted from Climbing wedelia (Wedelia trilobata L.) leaves by<br />

hydrodistillation on growth of mycelium and spore germination of Aspergillus flavus and Aspergillus niger isolated<br />

from sweet corn seed was tested by the agar dilution method at 6 concentrations; 0, 100, 500, 1,000, 5,000 and<br />

10,000 ppm. After 7-days of incubation, the greater the extract concentration the greater the inhibition of mycelium<br />

and spore germination. At a concentration of 10,000 ppm extract, mycelial growth was inhibited by 58.1%<br />

compared to the control. Spore germination was completely inhibited by 10,000 ppm extract within 12 hours.<br />

Key words : Wedelia trilobata L., hydrodistillation, Aspergillus flavus, essential oil<br />

บทคัดยอ<br />

ผลของน้ํามันหอมระเหยจากใบกระดุมทองเลื้อย (Wedelia trilobata L.) ที่สกัดดวยวิธีตมกลั่นตอการยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของเสนใยและการงอกของสปอรของเชื้อรา Aspergillus flavus และ Aspergillus niger ที่แยกไดจากเมล็ดพันธุ<br />

ขาวโพดหวาน ทดสอบโดยวิธี agar dilution method ที่มีความเขมขน 6 ระดับ คือ 0 100 500 1,000 5,000 และ 10,000<br />

ppm หลังจากบมไวนาน 7 วัน พบวา น้ํามันหอมระเหยความเขมขนที่สูงขึ้นมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ<br />

รา A. flavus มากขึ้น และที่ความเขมขน 10,000 ppm สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเสนใยไดประมาณ 58.1% เมื่อเทียบ<br />

กับชุดควบคุม และสามารถยับยั้งการงอกของสปอรไดอยางสมบูรณ ภายใน 12 ชั่วโมง<br />

คําสําคัญ : กระดุมทองเลื้อย การตมกลั่น Aspergillus flavus น้ํามันหอมระเหย<br />

คํานํา<br />

ประเทศไทยตั้งอยูในเขตภูมิอากาศแบบรอนชื้นซึ่งเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ปนเปอนในผลิตผลทาง<br />

การเกษตร เชน ถั่วลิสง เครื่องเทศ เมล็ดธัญพืช และเมล็ดพันธุอื่นๆ โดยเฉพาะเชื้อราสกุล Aspergillus sp. เชน A. niger<br />

A. flavus เปนเชื้อราที่พบมากในโรงเก็บและสามารถผลิตสารพิษได โดยเชื้อรา A. flavus สรางสารพิษชนิดหนึ่งเรียกวา<br />

“Aflatoxins” ทําใหผลผลิตเสื่อมคุณภาพ ซึ่ง Aflatoxins ที่สําคัญและพบมากแบงออกเปน 5 ชนิด คือ B 1 B 2 G 1 G 2 และ M ซึ่ง<br />

ชนิด B 1 นับวามีความสําคัญมากที่สุดเนื่องจากพบในปริมาณสูงและเปนพิษรายแรง (D’Mello et al., 1997) จากปญหา<br />

ดังกลาวจึงมีการศึกษาหาวิธีการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อรา A. flavus และ A. niger รวมทั้งเพื่อลดการสูญเสียความ<br />

งอกของเมล็ดพันธุในระหวางการเก็บรักษา (วันชัย, 2542) ดวยสารสกัดจากธรรมชาติ ที ่ไดจากพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ<br />

หลายชนิด กระดุมทองเลื้อย (W. trilobata L.) เปนวัชพืชที่ควบคุมยาก (Thaman et al.,1999) อยูในวงศ Compositae ซึ่งพืช<br />

ในวงศนี้ถูกนํามาใชเปนยาสมุนไพรพื้นบานเพื่อปองกันและรักษาโรคตางๆ หลายชนิด เชน ปวดหัว ไขหวัด (Lin et al.,1994)<br />

การติดเชื ้อในระบบทางเดินหายใจ (Miles et al.,1990) กระดุมทองเลื้อยมีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เชน ent-kaurenic acids<br />

(Farag et al., 1996), lactone, flavones, diterpenes และ wedelolactones (Bohlmann et al., 1984; Block et al., 1998)<br />

มีบางประเทศที่นํามาใชเปนยาสมุนไพรพื้นบาน เชน จีน อินเดีย และสิงคโปร (Xuesong et al., 2006)<br />

1 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 83 หมู 8 ถนนเทียนทะเล ทาขาม บางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150<br />

1 School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Tha-kam, Bangkhuntein, Bangkok 10150

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!