22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

120 สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากหญาดอกขาว ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

Table1 แสดงเลขคลื่นที่ปรากฏใน spectrum ของสาร 1 (cm -1 )<br />

เลขคลื่นที่ปรากฏใน spectrum ของ<br />

สาร 1 (cm -1 )<br />

ลักษณะการสั่น<br />

ของหมูฟงกชัน<br />

ชวงความถี่<br />

(cm -1 )<br />

3500-3200 OH 3150-3500<br />

2959, 2930, 2873, 2870 CH 2 , CH 3 - stretching 3000-2800<br />

1727 C =O stretching 1950-1960<br />

1680, 1580 C=C 1680-1560<br />

1463 CH 2 , CH 3 1495-1450<br />

1725 C=O 1275-1070<br />

1124, 1073 C-O 1275-1070<br />

n<br />

COOH<br />

Figure 1 โครงสรางของกรดอินทรียโซยาว (สาร 1)<br />

จาก Table 1 เลขคลื่นสําคัญที่ปรากฏใน spectrum สาร 1 นาจะเปนสารที่มีหมูฟงกชัน เปนกรดอินทรีย และเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับกรดอินทรียโซยาวมาตรฐาน (authentic sample) ดวยวิธีทินแลรเยอรโครมาโทกราฟ พบวามีคา R f เทากันใน<br />

ทุกระบบตัวทําละลาย จึงสรุปวาสาร 1 นาจะเปนกรดอินทรียโซยาวที่มีโครงสรางดังแสดงใน Figure 1 เมื่อนําไปทําการ<br />

ทดสอบการยับยั้งการงอกของเมล็ดไมยราบยักษ ที่ความเขมขน 10 mg/ml พบวามีรอยละของการยับยั้งเปน 55 สามารถ<br />

ยับยั้งการเจริญของยอดและรากไดรอยละ 42 และ 35 ตามลําดับ<br />

สรุป<br />

ในการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสกัดสารจากหญาดอกขาว และการวิเคราะหสูตรโครงสรางของสารออกฤทธิ์ตอการ<br />

ยับยั้งการงอกของเมล็ดไมยราบยักษ พบวา สารที่มีฤทธิ์นั้นคือ กรดอินทรียโซยาว มีฤทธิ์การยับยั้งการงอกของไมยราบยักษ ที่<br />

ความเขมขน 10 mg/ml เทากับรอยละ 55 และยับยั้งการเจริญของความยาวยอดและรากเทากับรอยละ 42 และ 35 ตามลําดับ<br />

ดังนั้นกรดอินทรียโซยาวที่แยกไดจากหญาดอกขาว นาจะนํามาพัฒนาเพื่อใชประโยชนในการควบคุมวัชพืชทางชีววิธีตอไปได<br />

คําขอบคุณ<br />

ขอขอบพระคุณ สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการ<br />

เครือขายเชิงกลยุทธ พัฒนาอัตลักษณ มหาวิทยาลัยกลุมใหม ที่สบับสนุนงบประมาณในการทําวิจัย<br />

เอกสารอางอิง<br />

ชาญ มงคล. 2536. ขาว. ตําราเอกสาร ฉบับที่ 63 ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการ หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู.<br />

จํานงค กาญจนบุรางกูร, ปทุม บุญนะฤที และพิศาล วสุวานิช. 2542. อิทธิพลของการปฏิบัติตอเมล็ดกอนเพาะเพื่อเรงการงอก<br />

ของเมล็ดไมปา 10 ชนิด. รายงานวนวัฒนวิจัย. สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. กรุงเทพฯ. หนา 162-182.<br />

พงษศักดิ์ พลตรี. 2538. เมษายน-มิถุนายน. “หญายอนหู”. ขาวกรองพฤกษศาสตรและวัชพืช.3(2).<br />

วิมลพรรณ รุงพรหม และสุปราณี แกวกระจาง. 2550. สารยับยั้งการงอกของเมล็ดวัชพืชจากรากลําเจียก. วารสารวิทยาศาสตร<br />

เกษตร 38 (6)(พิเศษ): 299-302.<br />

Rimando, M. A. 2001. Searching for rice allelochemical: An example of bioassay-guided Isolation. Agronomy<br />

Journal. 93: 16-20.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!