Listea petiolata Physical Properties and Volatile Compound ... - CRDC

Listea petiolata Physical Properties and Volatile Compound ... - CRDC Listea petiolata Physical Properties and Volatile Compound ... - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 313-316 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 313-316 (2554) คุณภาพทางกายภาพและสารหอมระเหยของนํามันหอมระเหย Listea petiolata Physical Properties and Volatile Compound of Listea petiolata นลินี พูลพิพัฒน์1 ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์1 อรพิน เกิดชูชื น 1 และ อาภาพรรณ ชัฎไพศาล 1 Pulpipat, N. 1 , Laohakunjit, N. 1 , Kerdchoechuen, O. and Chatpaisarn, A. 1 Abstract The chemical compositions of essential oil from Listea petiolata Hook.f. extracted by supercritical fluid carbon dioxide at various pressure (200, 300, 400 bar) and temperature at 35, 45, 55°C were conducted. Essential Oil has light to dark green yellow color. Refractive index was ranged at 1.332 to 1.366, L* a* and b* between 62.60 to 70.45, -4.98 to -0.92, 3.42 to 28.75. It was found 21 volatile compounds, analyzed and identified by Gas Chromatography Mass spectrometry. However, the best extraction pressure and temperature was at 200 bars and 45°C. The best condition gave the highest yielded of essential oil and volatile compounds included alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alpha- phellandrene, 2-nonanone, alpha-farnesene which their % relative peak area were 0.95, 1.73, 0.58, 0.17, 63.60, 2.59, 15.59 and 5.02, respectively. Odor descriptions of the volatile compounds from Listea petiolata oil were fresh green, fruit and sweet. Keywords: supercritical carbon dioxide extraction, thummang, Listea petiolata, essential oil บทคัดย่อ งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของนํ ามันหอมระเหย Listea petiolata Hook.f. ทีสกัด ด้วยเครืองซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด โดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวทําละลาย แปรความดันที 200, 300, 400 บาร์ อุณหภูมิ 35, 45, 55 องศาเซลเซียส นํ ามันหอมระเหยจากการสกัดมีสีเขียวเหลืองอ่อนจนถึงเข้ม มีค่าดัชนีการหักเหของ แสงอยู ่ระหว่าง 1.332-1.366 มีค่า L* a* และ b* อยู ่ในช่วง 62.60-70.45, (-4.98)-(-0.92) และ 3.42-28.75 ตามลําดับ เมือวิเคราะห์องค์ประกอบของนํ ามันหอมระเหยโดยใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิทรี พบว่ามีสารหอม ระเหย 21 ชนิด ซึงการสกัดทีความดัน 200 บาร์ อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส พบจํานวนชนิดสารหอมระเหยสูงทีสุด ได้แก่ alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alpha- phellandrene, 2-nonanone, alpha-farnesene โดยมีค่า % relative peak area เท่ากับ 0.95, 0.16, 0.22, 1.10, 1.73 และ 6.03 ตามลําดับ และมีลักษณะกลินเป็ น fresh green, fruit และ sweet คําสําคัญ: ซุปเปอร์คริติคอลคาร์บอนไดออกไซด์ ทํามัง Listea petiolata นํ ามันหอมระเหย คํานํา ทํามัง Listea petiolata Hook.f. หรือไม้แมงดา อยู ่ในสกุล Litsea วงศ์ Lauraceae อยู ่ในวงศ์เดียวกับ การบูรและ อบเชย เป็ นต้นไม้ยืนต้นทีมีลําต้นขนาดกลางถึงใหญ่ พบมากทางภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ใบ และกิงของต้นไม้ชนิดนี มีกลินคล้ายกลินแมลงดานา จึงนิยมนําใบอ่อนมาเป็ นผักสดเครืองเคียงกับอาหารชนิดอืน หรือนําใบ สดมาย่างไฟเติมลงในนํ าพริกแทนกลินแมลงดานา นอกจากนี ส่วนของเปลือกมีสรรพคุณทางยาใช้ขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ จุกเสียด และบํารุงประสาท (ปิ ยะ, 2538) มีรายงานการวิจัยสกัดนํ ามันหอมระเหยใบและกิงทํามังด้วยตัวทํา ละลายเฮกเซน เอทานอล และการกลันด้วยไอนํ า วิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิทรี พบว่าใบมี ปริมาณนํ ามันหอมระเหยมากกว่ากิง มีสารสําคัญ 8 ชนิด คือ 4-cyclohexyl-2-butanol, 11-dodecen-2-one, 5-hepten- 2-one, 6-methyl-2-tridecanone, 1-ethyl-2-methylcyclohexane, 7-octane-2-one, undecanone, และ 2-nonanone (สาโรจน์, 2537) และการสกัดใบและกิง ทั งแบบสดและแห้งด้วยวิธีการต้มกลัน (hydrodistillation) กลันพร้อมสกัด (simultaneous distillation extraction) และสกัดด้วยตัวทําละลาย 3 ชนิด (เอทานอล ปิ โตรเลียมอีเทอร์ และไดเอทิล อีเทอร์) มีสารสําคัญ 5 ชนิด ได้แก่ undec-10-en-2-one, 2-undecanone, tridec-12-en-2-one, undecanal และ 2- 1 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 49 ถนนเทียนทะเล ท่าข้าม บางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 1 School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 49 Tein-talay Rd., Tha-kam, Bangkhuntein, Bangkok 10150

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 313-316 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 313-316 (2554)<br />

คุณภาพทางกายภาพและสารหอมระเหยของนํามันหอมระเหย <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong><br />

<strong>Physical</strong> <strong>Properties</strong> <strong>and</strong> <strong>Volatile</strong> <strong>Compound</strong> of <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong><br />

นลินี พูลพิพัฒน์1 ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์1 อรพิน เกิดชูชื น 1 และ อาภาพรรณ ชัฎไพศาล 1<br />

Pulpipat, N. 1 , Laohakunjit, N. 1 , Kerdchoechuen, O. <strong>and</strong> Chatpaisarn, A. 1<br />

Abstract<br />

The chemical compositions of essential oil from <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> Hook.f. extracted by supercritical fluid<br />

carbon dioxide at various pressure (200, 300, 400 bar) <strong>and</strong> temperature at 35, 45, 55°C were conducted.<br />

Essential Oil has light to dark green yellow color. Refractive index was ranged at 1.332 to 1.366, L* a* <strong>and</strong> b*<br />

between 62.60 to 70.45, -4.98 to -0.92, 3.42 to 28.75. It was found 21 volatile compounds, analyzed <strong>and</strong><br />

identified by Gas Chromatography Mass spectrometry. However, the best extraction pressure <strong>and</strong> temperature<br />

was at 200 bars <strong>and</strong> 45°C. The best condition gave the highest yielded of essential oil <strong>and</strong> volatile compounds<br />

included alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alpha- phell<strong>and</strong>rene, 2-nonanone, alpha-farnesene which<br />

their % relative peak area were 0.95, 1.73, 0.58, 0.17, 63.60, 2.59, 15.59 <strong>and</strong> 5.02, respectively. Odor<br />

descriptions of the volatile compounds from <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> oil were fresh green, fruit <strong>and</strong> sweet.<br />

Keywords: supercritical carbon dioxide extraction, thummang, <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong>, essential oil<br />

บทคัดย่อ<br />

งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของนํ ามันหอมระเหย <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> Hook.f. ทีสกัด<br />

ด้วยเครืองซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด โดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวทําละลาย แปรความดันที 200, 300, 400 บาร์<br />

อุณหภูมิ 35, 45, 55 องศาเซลเซียส นํ ามันหอมระเหยจากการสกัดมีสีเขียวเหลืองอ่อนจนถึงเข้ม มีค่าดัชนีการหักเหของ<br />

แสงอยู ่ระหว่าง 1.332-1.366 มีค่า L* a* และ b* อยู ่ในช่วง 62.60-70.45, (-4.98)-(-0.92) และ 3.42-28.75 ตามลําดับ<br />

เมือวิเคราะห์องค์ประกอบของนํ ามันหอมระเหยโดยใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิทรี พบว่ามีสารหอม<br />

ระเหย 21 ชนิด ซึงการสกัดทีความดัน 200 บาร์ อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส พบจํานวนชนิดสารหอมระเหยสูงทีสุด ได้แก่<br />

alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alpha- phell<strong>and</strong>rene, 2-nonanone, alpha-farnesene โดยมีค่า %<br />

relative peak area เท่ากับ 0.95, 0.16, 0.22, 1.10, 1.73 และ 6.03 ตามลําดับ และมีลักษณะกลินเป็ น fresh green, fruit<br />

และ sweet<br />

คําสําคัญ: ซุปเปอร์คริติคอลคาร์บอนไดออกไซด์ ทํามัง <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> นํ ามันหอมระเหย<br />

คํานํา<br />

ทํามัง <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> Hook.f. หรือไม้แมงดา อยู ่ในสกุล Litsea วงศ์ Lauraceae อยู ่ในวงศ์เดียวกับ การบูรและ<br />

อบเชย เป็ นต้นไม้ยืนต้นทีมีลําต้นขนาดกลางถึงใหญ่ พบมากทางภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ใบ<br />

และกิงของต้นไม้ชนิดนี มีกลินคล้ายกลินแมลงดานา จึงนิยมนําใบอ่อนมาเป็ นผักสดเครืองเคียงกับอาหารชนิดอืน หรือนําใบ<br />

สดมาย่างไฟเติมลงในนํ าพริกแทนกลินแมลงดานา นอกจากนี ส่วนของเปลือกมีสรรพคุณทางยาใช้ขับลม แก้ท้องอืด<br />

ท้องเฟ้ อ จุกเสียด และบํารุงประสาท (ปิ ยะ, 2538) มีรายงานการวิจัยสกัดนํ ามันหอมระเหยใบและกิงทํามังด้วยตัวทํา<br />

ละลายเฮกเซน เอทานอล และการกลันด้วยไอนํ า วิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิทรี พบว่าใบมี<br />

ปริมาณนํ ามันหอมระเหยมากกว่ากิง มีสารสําคัญ 8 ชนิด คือ 4-cyclohexyl-2-butanol, 11-dodecen-2-one, 5-hepten-<br />

2-one, 6-methyl-2-tridecanone, 1-ethyl-2-methylcyclohexane, 7-octane-2-one, undecanone, และ 2-nonanone<br />

(สาโรจน์, 2537) และการสกัดใบและกิง ทั งแบบสดและแห้งด้วยวิธีการต้มกลัน (hydrodistillation) กลันพร้อมสกัด<br />

(simultaneous distillation extraction) และสกัดด้วยตัวทําละลาย 3 ชนิด (เอทานอล ปิ โตรเลียมอีเทอร์ และไดเอทิล<br />

อีเทอร์) มีสารสําคัญ 5 ชนิด ได้แก่ undec-10-en-2-one, 2-undecanone, tridec-12-en-2-one, undecanal และ 2-<br />

1<br />

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 49 ถนนเทียนทะเล ท่าข้าม บางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150<br />

1<br />

School of Bioresources <strong>and</strong> Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 49 Tein-talay Rd., Tha-kam, Bangkhuntein, Bangkok 10150


314 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

tridecanone (ณภัทร, 2551) แต่การสกัดด้วยวิธีต้มกลัน และวิธีกลันพร้อมสกัด อาจทําให้สารสําคัญบางชนิดเกิดการเสีย<br />

สภาพ จากการได้รับความร้อน (Grosso, 2009) ส่วนการสกัดโดยใช้ตัวทําละลายสารสกัดทีได้มีสีเข้ม เกิด wax ระหว่าง<br />

กระบวนการสกัด รวมทั งได้สารสกัดทีมีรสขม เนืองจากตัวทําละลายสามารถสกัดรงควัตถุ ฟี นอลิก และแทนนินทีมีในใบ<br />

และกิงทํามังออกมาด้วย ปัจจุบันมีวิธีการสกัดสารโดยใช้เทคนิคซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด เป็ นการสกัดด้วยตัวทําละลายที<br />

ความดัน และอุณหภูมิเหนือจุดวิกฤต ทําให้ตัวทําละลายมีความหนาแน่นคล้ายของเหลว ความหนืดตํา จึงมีความสามารถ<br />

ในการละลาย และซึมผ่านสารต่างๆ ได้ดี จากการสกัดนํ ามันหอมระเหยผักชีด้วยวิธีต้มกลันเปรียบเทียบกับวิธีซุปเปอร์คริติ<br />

คอลฟลูอิด โดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวทําละลาย พบว่าการสกัดด้วยวิธีซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด ให้ปริมาณ<br />

สารสําคัญ เช่น linalool 79.0% camphor 3.4% limonene 2.0% สูงกว่าการสกัดด้วยวิธีต้มกลัน 65.0, 3.0 และ 1.0%<br />

ตามลําดับ (Grosso, 2009) นอกจากนี มีการนํามาใช้สกัดนํ ามันหอมระเหย สารฟี นอลิก คลอโรฟิ ลล์ แคโรทีนอยด์ และสาร<br />

ให้กลิน จากโรสแมรี คาโมมาย มาเจอร์แรม และกระวานเทศ เป็ นต้น (Ramirez และคณะ, 2004, Hamburger และคณะ,<br />

2004 และ Vagi และคณะ, 2002) ดังนั นงานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์สกัดนํ ามันหอมระเหยจากใบทํามังโดยวิธีซุปเปอร์คริติ<br />

คอลฟลูอิด และวิเคราะห์องค์ประกอบของสารหอมระเหยด้วยเครืองแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิเตอร์<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

นําทํามัง <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> Hook.f. จากจังหวัดพัทลุง ใช้ส่วนใบ ล้างนํ าให้สะอาด อบทีอุณหภูมิ 50 องศา<br />

เซลเซียสให้ความชื นลดลงร้อยละ 10 นํามาบดลดขนาด จากนั นนําตัวอย่างทํามังบดปริมาณ 20 กรัม สกัดนํ ามันหอม<br />

ระเหยด้วยเครือง ซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด โดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวทําละลาย แปรความดันที 200, 300, 400 บาร์<br />

อุณหภูมิ 35, 45, 55 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 นาที เก็บนํ ามันหอมระเหยใบทํามังในขวดสีชาขนาด 20 มิลลิลิตร ในเอ<br />

ทานอล 10 มิลลิลิตร นํามาวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีและกายภาพ ได้แก่ ค่าสีของนํ ามันหอมระเหยด้วยเครืองวัดสี<br />

(chromameter) (Hunter L a b รุ่น mini scan EZ) ค่าการหักเหของแสง (refractive index; RI) ทีอุณหภูมิ 25 องศา<br />

เซลเซียส ด้วยเครือง h<strong>and</strong> held refractometer (ATAGO รุ่น R-5000, USA) ค่าการหมุนจําเพาะของสาร (optical<br />

rotation) (ATAGO รุ่น POLAX-2L) และวิเคราะห์องค์ประกอบของสารหอมระเหย ด้วยเครืองแก๊สโครมาโทกราฟฟี-<br />

แมสสเปกโตรมิเตอร์ (GC-MS) (Agilent GC 7890A, MSD 5975C, USA) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ไอระเหยของสารด้วย<br />

solid-phase micro extraction (SPME) ไฟเบอร์ Stable Flex TM 65 µm PDMS/DVB (Supelco, USA) ทีอุณหภูมิ 50<br />

องศาเซลเซียสเป็ นเวลา 20 นาที จากนั นชะสารระเหยออกทีอุณหภูมิ 240 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 นาที จากนั นฉีด<br />

ตัวอย่างแบบ splitless อุณหภูมิ injector เท่ากับ 220 องศาเซลเซียส ชนิดคอลัมน์ DB-5MS แบบ capillary (length 30 m.<br />

x ID 0.25 mm. x film thickness 0.25 µm.) มีสภาวะดังนี อุณหภูมิคอลัมน์เริมต้น 50 องศาเซลเซียสคงไว้นาน 2 นาที<br />

เพิมอุณหภูมิในอัตรา 5 องศาเซลเซียสต่อนาที จนถึง 90 องศาเซลเซียส เพิมอุณหภูมิในอัตรา 3 องศาเซลเซียสต่อนาที<br />

จนกระทัง 220 องศาเซลเซียส คงไว้นาน 1 นาทีใช้ helium เป็ นแก๊สตัวพา mass range ตั งแต่ 40-450 m/z แปลผลเทียบ<br />

กับ Wiley Library และ NIST มีคุณลักษณะใกล้เคียงกันมากกว่าร้อยละ 80 และเทียบกับสารมาตรฐานอัลเคน (C 8 -C 20<br />

alkane) วางแผนการทดลองแบบ 3x3 Factorial in R<strong>and</strong>omized Complete Block Design (RCBD) วิเคราะห์ความ<br />

แตกต่างของค่าเฉลียด้วย Duncan's Multiple Range Test (DMRT)<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จากการศึกษานํ ามันหอมระเหยทํามังทีสกัดด้วยวิธี SFE แปรความดัน 200, 300, 400 บาร์ อุณหภูมิ 35, 45, 55<br />

องศาเซลเซียส นาน 30 นาที วัดค่า refractive index ได้ 1.332-1.366 (Table 1) ซึงนํ ามันหอมระเหยทํามังมีค่าความ<br />

บริสุทธิ ใกล้เคียงกันแม้ว่าจะเพิมความดันและอุณหภูมิในการสกัด เมือนํามาวัดค่า L* มีค่าความสว่างอยู ่ระหว่าง 62.60-<br />

70.45 ค่า a* อยู ่ระหว่าง (-4.98)-(-0.92) และค่า b* อยู ่ระหว่าง 3.42-28.75 จากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าทุกสภาวะการ<br />

สกัดมีค่า L*, a*, b* แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (p≤0.01) (Table 1) สีของนํ ามันหอมระเหยมีสีเขียวเหลืองอ่อน แต่เมือ<br />

เพิมอุณหภูมิและความดัน นํ ามันหอมระเหยมีสีเขียวเหลืองเข้มขึ น อาจเนืองจากทีสภาวะดังกล่าวสามารถสกัดสารฟี นอลิก<br />

(Ramirez และคณะ, 2004) alpha-tocopherol ทีมีสีเหลือง และ กลุ ่มแทนนินทีมีสีเหลืองจนถึงนํ าตาล สอดคล้องกับ<br />

รายงานของ ณภัทร (2551) พบว่าในใบและกิงทํามังมีสารแทนนิน 11.36 - 36.2 มิลลิกรัม catechin ต่อ กรัม extract และ<br />

รายงานของ ปิ ยศิริ (2551) พบว่าใบทํามังมีสารฟี นอลิกมากกว่าขิงสองเท่า และมี alpha-tocopherol 5,479.85 ไมโครกรัม<br />

ต่อ 100 กรัมนํ าหนักเปี ยก จากผลการวัดค่าการหมุนจําเพาะของสารอยู ่ในช่วง -0.30 ถึง 0.10 ดัง (Table 1) ทีอุณหภูมิ 35


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 315<br />

องศาเซลเซียส ความดัน 400 บาร์ และอุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส ความดัน 200, 300, 400 บาร์ มีค่าการบิดเบนแสงเป็ น<br />

ลบเนืองจากสภาวะดังกล่าวสามารถสกัดสาร alpha-pinene, beta-myrcene, alpha- phell<strong>and</strong>rene, caryophyllene ซึงมี<br />

ค่าการบิดเบนแสงเป็ นลบ ผลจากการวิเคราะห์สารหอมระเหยด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี-แมสสเปกโตรมิทรี พบ<br />

สารสําคัญ 2-nonanone, 2-nonanol, 2-undecanone สอดคล้องกับงานวิจัยทีสกัดนํ ามันหอมระเหยทํามังด้วยตัวทํา<br />

ละลายและการต้มกลัน (สาโรจน์, 2537 และ ณภัทร, 2551) แต่พบจํานวนสารหอมระเหยมากกว่าการสกัดด้วยตัวทํา<br />

ละลายและการต้มกลัน การสกัดทีความดัน 200 บาร์ อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส พบจํานวนชนิดของสารหอมระเหยสูง<br />

ทีสุด 21 ชนิด สารทีมี % relative peak area สูง ได้แก่ alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alphaphell<strong>and</strong>rene,<br />

2-nonanone, alpha-farnesene (0.95, 0.16, 0.22, 1.10, 1.73 และ 6.03 ตามลําดับ) (Table 2 และ<br />

Figure 1) เนืองจากเมือมีการใช้ความดันสูงทําให้คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่นมากขึ น ส่งผลให้ความสามารถใน<br />

การละลายเพิมขึ น แต่ถ้าใช้อุณหภูมิสูงความหนาแน่นจะลดลง การละลายลดลง และทําให้ตัวอย่างถูกทําลายจากความ<br />

ร้อนสารทีได้จึงมีปริมาณลดลง (Pourmortazavi และคณะ, 2007) โดยนํ ามันหอมระเหยทํามังมีลักษณะกลินแบบ fresh<br />

green, fruit และ sweet เป็ นลักษณะสําคัญของกลินแมลงดานา (สาโรจน์, 2537)<br />

Figure 1 Chromatogram of volatile compounds from <strong>Listea</strong> <strong>petiolata</strong> extracted by SFE at 200 bar 45 o C.<br />

สรุปผล<br />

การสกัดนํ ามันหอมระเหยจากทํามังด้วยเครืองซุปเปอร์คริติคอลฟลูอิด โดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวทํา<br />

ละลาย แปรความดัน และอุณหภูมิ พบว่าการสกัดที 200 บาร์ อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส มีจํานวนชนิดของสารหอม<br />

ระเหยสูงสุด พบสารทีมี % relative peak area สูง ได้แก่ alpha-pinene, beta-pinene, beta-myrcene, alphaphell<strong>and</strong>rene,<br />

2-nonanone, alpha-farnesene<br />

คําขอบคุณ<br />

งานวิจัยนี ได้รับการสนับสนุนจากโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ณภัทร พิมพ์ผะกา, 2551, การศึกษาวิธีการสกัดสารปรุงแต่งกลินรสแมลงดานาจากต้นทํามัง (Litsea <strong>petiolata</strong>),<br />

วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพระ<br />

จอมเกล้าธนบุรี, 101 หน้า<br />

ปิ ยะ เฉลิมกลิน, 2538, ต้นไม้กลินแมงดา ในวิทยาศาสตร์สําหรับเยาวชน 8, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง<br />

ประเทศไทย, กรุงเทพฯ หน้า 100-101.<br />

สาโรจน์ ปัญญามงคล, 2537, การสกัดนํ ามันหอมระเหยจากใบและกิงต้นทํามัง Litsea <strong>petiolata</strong> Hook.f เพือเป็ นสารแต่ง<br />

กลินรสอาหาร, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาคเทคโนโลยีทางอาหาร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

Grosso, C., Coelho, J.A., Urieta, J.S. <strong>and</strong> Palavra, A.M.F., 2010, Herbicidal Activity of <strong>Volatile</strong>s from Cori<strong>and</strong>er,<br />

Winter Savory, Cotton Lavender, <strong>and</strong> Thyme Isolated by Hydrodistillation <strong>and</strong> Supercritical Fluid<br />

Extraction, Journal Agricultural <strong>and</strong> Food Chemistry, 58: 11007-11013.


316 314 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Pourmortazavi, S.M. <strong>and</strong> Hajimirsadeghi, 2007, Supercritical Fluid Extraction in Plant Essential <strong>and</strong> <strong>Volatile</strong> Oil<br />

Analysis, Journal of Chromatography, 1163; 2-24.<br />

Hamburger, M., Baumann, D. <strong>and</strong> Adler, S., 2004, Supercritical Carbon Dioxide Extraction of Selected<br />

Medicinal Plants Effects of High Pressure <strong>and</strong> Added Ethanol on Yield of Extracted Substances, Journal<br />

Phytochemical Analysis, 15: 46.<br />

Ramirez, P., Senorans, F.J. <strong>and</strong> Ibanez, E., 2004, Separation of Rosemary Antioxidant <strong>Compound</strong>s by<br />

Supercritical Fluid Chromatography on Coated Packed Capillary Columns, Journal Chromatography A,<br />

1057: 241.<br />

Table 1 <strong>Physical</strong> properties of essential oil from Litsea <strong>petiolata</strong> extracted by SFE.<br />

Pressure (Bar) Temperature (˚C) Refractive index Optical rotation Color<br />

L* a* b*<br />

200 35 1.362 0.08 67.96 d -1.77 c 7.41 e<br />

45 1.364 -0.16 69.71 ab -0.98 a 3.51 g<br />

55 1.360 0.02 70.30 a -0.95 a 3.38 g<br />

300 35 1.361 0.08 69.64 b -1.27 d 11.32 d<br />

45 1.330 -0.24 69.55 b -1.27 b 5.18 f<br />

55 1.363 0.10 68.73 c -3.26 e 15.08 c<br />

400 35 1.364 -0.22 67.78 d -3.70 f 16.06 c<br />

45 1.361 -0.30 67.63 d -4.71 g 20.86 b<br />

55 1.364 0.10 63.24 e -4.67 g 23.60 a<br />

F-test ns ns ** ** **<br />

Remark: ** Signification at p ≤ 0.01; ns = Non Significant<br />

a, b, c,… in the same column with different letters are not significantly different (p≤0.01) according to DMRT.<br />

Table 2 <strong>Volatile</strong> compounds of essential oil from Litsea <strong>petiolata</strong> extracted by SFE.<br />

<strong>Compound</strong>s RI*<br />

% Relative peak area<br />

Odor<br />

200 Bar 300 Bar 400 Bar<br />

description<br />

35˚C 45˚C 55˚C 35˚C 45˚C 55˚C 35˚C 45˚C 55˚C<br />

alpha-pinene 937 - 0.95 0.26 0.41 0.48 0.23 0.33 0.04 0.02 pine<br />

beta-pinene 982 - 0.16 - 0.11 0.1 0.06 0.09 0.05 - turpentine<br />

beta-myrcene 992 - 0.22 - - 0.14 0.09 0.14 0.12 - spice<br />

alphaphell<strong>and</strong>rene<br />

spice<br />

1010 0.13 1.10 0.45 0.78 0.5 0.33 0.63 - -<br />

beta-cymene 1027 - 0.23 - 0.32 0.10 0.14 0.25 0.25 0.11 citrus<br />

beta-ocimene 1046 - 0.11 0.07 0.06 0.11 - 0.05 0.96 0.05 sweet<br />

gamma-terpinene<br />

2-nonanone<br />

1059<br />

1091<br />

-<br />

0.92<br />

0.10<br />

1.73<br />

-<br />

1.06<br />

0.14<br />

1.27<br />

0.09<br />

1.35<br />

0.04<br />

0.46<br />

0.08<br />

-<br />

0.51<br />

0.11<br />

0.10<br />

0.39<br />

turpentine<br />

green<br />

2-nonanol 1102 0.32 0.58 0.41 0.27 0.63 0.22 0.26 0.05 0.21 cucumber<br />

alpha-terpineol 1119 0.70 0.37 - - - - - - 0.08 mint<br />

citral 1267 - 0.17 0.24 0.16 0.25 0.20 0.16 0.15 0.19 lemon<br />

2-undecanone 1300 72.93 63.6 72.79 57.02 67.10 51.88 51.25 0.32 0.11 fresh green<br />

alpha-cubebene 1353 0.92 0.69 0.48 1.45 0.69 1.16 1.14 0.13 0.13 herb<br />

alpha-copaene 1379 - 2.59 2.53 - 3.26 5.17 4.82 - 0.27 spice<br />

caryophyllene 1430 13.15 15.59 16.73 37.30 19.62 35.55 30.7 0.29 0.05 spice<br />

aromadendrene 1440 - 0.12 0.13 - - - 0.24 - - wood<br />

valencene 1477 - 0.23 - - - - - - - green<br />

alpha-farnesene 1505 0.87 6.03 - - - 0.37 0.45 - - sweet<br />

delta-cadinene 1520 - 0.32 0.39 0.63 0.36 0.6 0.56 96.74 38.86 thyme<br />

cadinadiene 1534 - 0.09 - - - 0.14 - 0.28 35.45 fruit<br />

(E)-farnesol 1709 10.07 5.02 4.45 0.08 5.24 3.35 8.86 0.28 23.97 sweet<br />

* Retention time calculated

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!