22.02.2015 Views

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New, 15 pt, Bold, Exactly at 19 pt ... - CRDC

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New, 15 pt, Bold, Exactly at 19 pt ... - CRDC

ชื่อเรื่องภาษาไทย (Cordia New, 15 pt, Bold, Exactly at 19 pt ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Agricultural Sci. J. 43(2)(Suppl.): 105-108 (2012) ว. วิทย์. กษ. 43(2)(พิเศษ): 105-108 (2555)<br />

การผลิตและการทดสอบการยอมรับบร็อคโคลีทอดสุญญากาศของผู ้บริโภค<br />

Vacuum Fried Broccoli Production and Consumer Acce<strong>pt</strong>ance Evalu<strong>at</strong>ion<br />

เหมือนหมาย อภินทนาพงศ์1 1<br />

และ เสาวนีย์ เอี้ยวสกุลรัตน์<br />

Apintanapong, M. 1 and Ieowsakulr<strong>at</strong>, S. 1<br />

Abstract<br />

The objective of this study was to investig<strong>at</strong>e the effect of frying temper<strong>at</strong>ure on sensory evalu<strong>at</strong>ion of<br />

vacuum fried broccoli and determine the most flavor acce<strong>pt</strong>ance of applied seasoning in the products from<br />

consumer testing. The proxim<strong>at</strong>e composition and some physicochemical properties were also tested. The<br />

temper<strong>at</strong>ures for vacuum frying process were 95, 105, and 1<strong>15</strong>°C and sensory test was evalu<strong>at</strong>ed to select the<br />

suitable temper<strong>at</strong>ure using 9 point hedonic scale test. Hot and spicy flavor and cheese flavor seasonings were<br />

mixed in products, consumer studies with 100 adults in University of Thai Chamber of Commerce were done<br />

about responses of consumers regarding the flavored vacuum fried broccoli. The result of this study showed<br />

th<strong>at</strong> frying temper<strong>at</strong>ure affected on the appearance and sensory test, the highest acce<strong>pt</strong>ance obtained from<br />

95°C vacuum fried broccoli products (p≤0.05). Moisture and chlorophyll content of the products decreased<br />

but other proxim<strong>at</strong>e compositions increased when compared with fresh broccoli. The w<strong>at</strong>er activity of the<br />

product was 0.391. The level of flavor applied (3 and 6% for both flavors) gave no significant difference in<br />

sensory test (p>0.05). From 100 consumers, the most of age group was <strong>15</strong> – 24 years (81%) and 64% of<br />

consumers acce<strong>pt</strong>ed vacuum fried broccoli products mixed with 3% hot and spicy seasoning. The 99% of<br />

consumers were interested in buying this product and the result showed th<strong>at</strong> the first factor for buying was the<br />

taste of product (57%).<br />

Keywords: broccoli, vacuum fried method, consumer test<br />

บทคัดย่อ<br />

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี ้เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิในการทอดต่อการประเมินผลทางประสาทสัมผัสและ<br />

ทดสอบการยอมรับเกี่ยวกับกลิ่นรสของผลิตภัณฑ์ที่ปรุงแต่งด้วยผงปรุงรส นอกจากนี ้ยังมีการวิเคราะห์องค์ประกอบทาง<br />

เคมีและสมบัติทางเคมีกายภาพ ในการทดลองใช้การแปรอุณหภูมิในการทอด 3 ระดับ คือ 95 105 และ 1<strong>15</strong> องศา<br />

เซลเซียส จากนั ้นเลือกอุณหภูมิที่เหมาะสมโดยใช้การทดสอบความชอบแบบ 9 point hedonic scale ผลิตภัณฑ์ที่ได้ถูก<br />

น ามาปรุงแต่งกลิ่นรสด้วยผงปรุงรสแบบฮอทแอนด์สไปซี่และรสชีสแล้วน ามาทดสอบหาระดับปริมาณผงปรุงรสที่เหมาะสม<br />

โดยการทดสอบทางประสาทสัมผัสจากผู ้ชิมและท าการทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์ของผู ้บริโภคจ านวน 100 คน ภายใน<br />

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ผลการศึกษาพบว่า อุณหภูมิในการทอดมีผลต่อลักษณะปรากฎและการทดสอบทางประสาท<br />

สัมผัส โดยผู ้ชิมให้คะแนนความชอบผลิตภัณฑ์ที่ใช้อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียสมากกว่าสูตรอื่น (p≤0.05) การทอดท าให้<br />

ปริมาณความชื ้นและคลอโรฟิ ลล์ลดลง ในขณะที่องค์ประกอบทางเคมีอื่นเพิ่มขึ ้นเมื่อเทียบกับบร็อคโคลีสด ค่า a w เท่ากับ<br />

0.391 การศึกษาระดับปริมาณผงปรุงรสพบว่าการใช้ที่ปริมาณ 3% ให้ผลการทดสอบไม่ต่างจาก 6% ทั ้งรสฮอทแอนด์สไปซี่<br />

และรสชีส (p>0.05) และผลการทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภค 100 คน พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ใส่ 3% ฮอทแอนด์สไปซี่ได้รับ<br />

การยอมรับมากที่สุด (64%) จากผู ้บริโภคส่วนใหญ่ที่มีช่วงอายุ <strong>15</strong>-24 ปี (81%) และผลส ารวจยังพบว่าผู ้บริโภคสนใจที่จะ<br />

ซื ้อสินค้านี ้(99%) โดยปัจจัยแรกที่มีผลต่อการเลือกซื ้อผลิตภัณฑ์คือ รสชาติ (57%)<br />

ค าส าคัญ: บร็อคโคลี การทอดสุญญากาศ การทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภค<br />

1 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพมหานคร 10400<br />

1 Department of Food Business Management, School of Science and Technology, University of the Thai Chamber of Commerce, Bangkok 10400


106 ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

ค าน า<br />

บร็อคโคลี (Broccoli) จัดอยู ่ในพืชผักตระกูลกะหล ่าและเป็ นผักที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีสารต้านอนุมูล<br />

อิสระอีกหลายชนิด แต่มีการเสื่อมเสียคุณภาพอย่างรวดเร็วจากกระบวนการหายใจท าให้เกิดสีเหลืองของดอกบร็อคโคลีซึ่ง<br />

ไม่เป็ นที่ต้ องการของผู ้ บริโภคและท าให้ อายุการวางจ าหน่ายสั ้นลง (คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย, 2545;<br />

คณะท างานโครงการหนูรักผักสีเขียวสถาบันวิจัยโภชนาการ, 2541) นอกจากนี ้ยังมีผู ้บริโภคบางกลุ ่มที่ไม่นิยมที่จะ<br />

รับประทานพืชผัก ดังนั ้นการน าบร็อคโคลีมาทอดสุญญากาศจึงเป็ นทางเลือกหนึ่งของการเพิ่มคุณค่าบร็อคโคลีและได้<br />

ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี ้ยวซึ่งเป็ นแนวทางการส่งเสริมการบริโภคผักได้ งานวิจัยนี ้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิ<br />

ในการทอดต่อการประเมินผลทางประสาทสัมผัสและทดสอบการยอมรับเกี่ยวกับกลิ่นรสของผลิตภัณฑ์ที่ปรุงแต่งด้วยผง<br />

ปรุงรส นอกจากนี ้ยังท าการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและสมบัติทางเคมีกายภาพของผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบกับ<br />

ผลิตผลบร็อคโคลีสด<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

1.การผลิตบร็อคโคลีทอดสุญญากาศที่อุณหภูมิต่างๆ<br />

ตัดแต่งบร็อคโคลีให้ได้ขนาด 5-6 เซนติเมตรแล้วแช่ในน ้าเกลือ 5% จากนั ้นน ามาลวกน ้าเดือดแล้วแช่น ้าเย็น<br />

สะเด็ดน ้าแล้วน ามาทอดสุญญากาศ โดยแปรอุณหภูมิในการทอด 3 ระดับ คือ 95 105 และ 1<strong>15</strong>°C โดยใช้ความดัน70<br />

cmHg (vac)<br />

2.การทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

น าตัวอย่างบร็อคโคลีทอดสุญญากาศมาทดสอบทางประสาทสัมผัส โดยใช้แบบทดสอบ 9 point hedonic scale<br />

(1 = ไม่ชอบมากที่สุด 9= ชอบมากที่สุด) ผู ้ทดสอบชิม 20 คน แผนการทดลองเป็ นแบบ RCBD วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม<br />

วิเคราะห์ทางสถิติ เลือกอุณหภูมิการทอดที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดเพื่อใช้เป็ นสภาวะที่เหมาะสมในการผลิต<br />

3.การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติทางเคมีกายภาพของบร็อคโคลีทอดสุญญากาศ<br />

บร็อคโคลีทอดสุญญากาศสูตรที่ได้รับการยอมรับจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสมากสุดน ามาวิเคราะห์หา<br />

องค์ประกอบทางเคมี (proxim<strong>at</strong>e analysis) วิเคราะห์ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ และค่า w<strong>at</strong>er activity(a w )(AOAC, 2000)<br />

4.การศึกษาผลของระดับความเข้มข้นของผงปรุงรสที่ผสมในบร็อคโคลีทอดสุญญากาศต่อการทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

บร็อคโคลีทอดสุญญากาศสูตรที่ได้รับการยอมรับจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสมากสุดน ามาผสมผงปรุงรส<br />

2 ชนิด ได้แก่ รสฮอทแอนด์สไปซี่ และรสชีส โดยแปรปริมาณ 3 และ 6% โดยน ้าหนัก แล้วน าไปทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

โดยใช้แบบทดสอบ Scoring test 5 point (1 = น้อยเกินไป 3= เหมาะสม 5 = มากเกินไป) ผู ้ทดสอบชิม 10 คน แผนการ<br />

ทดลองเป็ นแบบ T-test วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติ ผลการประเมินระดับผงปรุงรสที่เหมาะสมจะน าไป<br />

ทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภคต่อไป<br />

5.การทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์บร็อคโคลีทอดสุญญากาศรสชาติต่างๆ<br />

ตัวอย่างบร็อคโคลีทอดสุญญากาศที่ใช้ทดสอบ ได้แก่ บร็อคโคลีทอดสุญญากาศรสดั ้งเดิม รสชีส และรสฮอท<br />

แอนด์สไปซี่ ถูกน ามาท าการทดสอบโดยใช้แบบสอบถามเรื่อง การทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภค ในผลิตภัณฑ์บร็อคโคลี<br />

ทอดสุญญากาศ โดยใช้กลุ ่มผู ้บริโภคจ านวน 100 คน ในมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

ผลของอุณหภูมิในการทอดบร็อคโคลีต่อการทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

การทดลองผลิตผลิตภัณฑ์โดยการทอดสุญญากาศในสภาวะอุณหภูมิที่แตกต่างกันส่งผลท าให้เปอร์เซ็นต์ผลผลิต<br />

ที่ได้และลักษณะปรากฏของบร็อคโคลีทอดสุญญากาศแต่ละสภาวะอุณหภูมิมีความแตกต่างกัน จึงต้องคัดเลือกสภาวะ<br />

อุณหภูมิในการทอดที่เหมาะสม โดยใช้การทดสอบทางประสาทสัมผัสประเมินผลในด้านต่างๆ แสดงใน (Table 1)<br />

จากผลการทดสอบ พบว่าอุณหภูมิในการทอดมีผลต่อการประเมินทางประสาทสัมผัส โดยผู ้ชิมให้คะแนน<br />

ความชอบบร็อคโคลีทอดสุญญากาศที่อุณหภูมิ 95°C สูงสุดทั ้งทางด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื ้อสัมผัส รสชาติ และ<br />

ความชอบโดยรวม เมื่อเทียบกับบร็อคโคลีทอดสุญญากาศในอุณหภูมิอื่น (p≤0.05) และเมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วการทอด<br />

ที่อุณหภูมิ 95°C ได้เปอร์เซ็นต์ผลผลิตที่สูงและลักษณะปรากฏที่ดีที่สุด


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 107<br />

ผลการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีและกายภาพของผลิตภัณฑ์บร็อคโคลีทอดสุญญากาศ<br />

การทอดสุญญากาศมีผลต่อสมบัติทางเคมีของบร็อคโคลีทอดสุญญากาศโดยท าให้ปริมาณความชื ้นลดลงใน<br />

ขณะที่ปริมาณไขมันและองค์ประกอบทางเคมีอื่นๆเพิ่มมากขึ ้นเมื่อเทียบกับบร็อคโคลีสด เช่นเดียวกับผลการทดลองของ<br />

Garayo และ Moreira (2002) และ Shyu และ Hwang (2001) ซึ่งรายงานว่าขณะทอดสุญญากาศปริมาณน ้ามันและ<br />

ความชื ้นจะมีความสัมพันธ์กันโดยความชื ้นภายในผลิตภัณฑ์จะถูกเปลี่ยนไปเป็ นไอน ้า เนื่องจากความแตกต่างของความ<br />

ดันไอน ้า เมื่อน ้าถูกระเหยออกไปแล้วน ้ามันจะแพร่เข้าสู ่ผลิตภัณฑ์โดยปริมาณการเพิ่มขึ ้นของน ้ามันสัมพันธ์กับการลดลง<br />

ของความชื ้น นอกจากนี ้พบว่าปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทั ้งหมดลดลง 810.85% (โดยน ้าหนักแห้ง) ดังแสดงใน (Table 2)<br />

ผลของระดับความเข้มข้นของผงปรุงรสต่อการทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

การศึกษาระดับปริมาณผงปรุงรสพบว่าการใช้ที่ปริมาณ 3% ให้ผลการทดสอบไม่ต่างจาก 6% ทั ้งรสฮอทแอนด์<br />

สไปซี่และรสชีส (p>0.05) (ไม่แสดงข้อมูล) การทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภคในขั ้นตอนถัดไปจึงเลือกใช้ผงปรุงรส 3%<br />

เพื่อลดต้นทุนการผลิต<br />

ผลการทดสอบการยอมรับของผู ้บริโภคผลิตภัณฑ์บร็อคโคลีทอดสุญญากาศ<br />

พบว่าการใช้ผงปรุงรสฮอทแอนด์สไปซี่ที่ระดับ 3% ในผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับจากผู ้บริโภคมากที่สุด (64%)<br />

เมื่อเทียบกับรสดั ้งเดิม (13%) และรสชีส (23%) จากผู ้บริโภคที่มีอายุในช่วง <strong>15</strong> – 24 ปี (81%) และผลส ารวจพบว่า ในกลุ ่ม<br />

ผู ้ทดสอบมีจ านวน 10% ที่ไม่ชอบทานผักและผู ้บริโภคยินดีที่จะซื ้อสินค้าชนิดนี ้ (99%) ในราคา 20 – 30 บาท ต่อ 7 – 10<br />

ชิ ้น ที่บรรจุในถุงอะลูมิเนียมฟอยล์มีซิปล็อค (75%) และปัจจัยอันดับหนึ่งที่มีความส าคัญในการตัดสินใจซื ้อสินค้า คือ<br />

รสชาติ (57%)<br />

สรุปผล<br />

บร็อคโคลีทอดสุญญากาศที่ 95°C ได้รับความชอบสูงสุดทั ้งด้านสี ลักษณะปรากฏ เนื ้อสัมผัส รสชาติ และ<br />

ความชอบโดยรวม การทอดบร็อคโคลีในสภาพสุญญากาศท าให้มีปริมาณความชื ้นลดลงในขณะที่ปริมาณไขมันและ<br />

องค์ประกอบทางเคมีอื่นๆเพิ่มมากขึ ้น และการทอดส่งผลให้ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ลดลงเมื่อเทียบกับบร็อคโคลีสด การใช้ผง<br />

ปรุงรสฮอทแอนด์สไปซี่ที่ระดับ 3% ในผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับจากผู ้บริโภคส่วนใหญ่ที่มีอายุในช่วง <strong>15</strong> – 24 ปี จาก<br />

ผลทดสอบยังพบว่า ผู ้บริโภคยินดีที่จะซื ้อสินค้าชนิดนี ้ (99%) ในราคา 20 – 30 บาท ต่อ 7 – 10 ชิ ้น ที่บรรจุในถุง<br />

อะลูมิเนียมฟอยด์มีซิปล็อคและปัจจัยอันดับหนึ่งที่มีความส าคัญในการตัดสินใจซื ้อสินค้า คือ รสชาติ<br />

ข้อเสนอแนะ จากการส ารวจในท้องตลาดที่มีการวางขายผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน พบว่า จะมีการน าไปอบก่อนทอด<br />

และมีปริมาณไขมันที่ต ่า ดังนั ้นการท าแห้งก่อนการน าไปทอดอาจท าให้ปริมาณไขมันของผลิตภัณฑ์ลดลง<br />

ค าขอบคุณ<br />

ผู ้จัดท าขอขอบคุณ นางสาวปาริฉัตร จันทร์ประเสริฐ ที่จัดเตรียมการทดลองที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยนี ้<br />

Table 1 Sensory evalu<strong>at</strong>ion of vacuum fried broccoli by different frying temper<strong>at</strong>ure.<br />

Attribute<br />

Test score of broccoli products*<br />

95°C 105°C 1<strong>15</strong>°C<br />

Color 7.60 ± 1.14 a 5.95 ± 2.37 b 5.10 ± 2.13 b<br />

Appearance 7.35 ± 1.79 a 6.05 ± 2.06 b 5.30 ± 1.98 b<br />

Odor 6.90 ± 1.25 a 6.50 ± 1.91 a 5.25 ± 2.12 b<br />

Texture 7.25 ± 1.37 a 5.20 ± 2.07 b 2.80 ± 2.02 c<br />

Taste 7.25 ± 1.25 a 6.20 ± 1.67 b 4.<strong>15</strong> ± 2.21 c<br />

Overall acce<strong>pt</strong>ance 7.45 ± 1.32 a 6.00 ± 1.62 b 4.00 ± 2.13 c<br />

*mean± SD<br />

a,b,c Values with differen tletter in same row were different significantly. (p≤0.05)


108 106 ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table 2 Proxim<strong>at</strong>e analysis and physical properties of fresh broccoli and vacuum fried broccoli<br />

Properties Fresh broccoli Vacuum fried broccoli<br />

Proxim<strong>at</strong>e composition * Ash (g/100 g) 1.14 3.97<br />

Calories (kcal/100 g) 41.34 611.94<br />

Carbohydr<strong>at</strong>e (g/100 g) 4.43 16.<strong>19</strong><br />

Crude Fiber (g/100 g) 1.07 5.06<br />

F<strong>at</strong> (g /100 g) 0.50 51.02<br />

Moisture (g/100 g) 89.<strong>15</strong> 6.82<br />

Protein (% N × 6.25)(g/100 g) 4.78 22.00<br />

Chlorophyll* Chlorophyll A (mg/100 g) 0.0209 ± 0.0010 0.0265 ± 0.00<strong>15</strong><br />

Chlorophyll B(mg/100 g) 0.0131 ± 0.0004 0.0136 ± 0.0005<br />

Total chlorophyll(mg/100 g) 0.0340 ± 0.0014 0.0401 ± 0.0020<br />

a w - 0.391<br />

*mean± SD<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข, 2545, ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย, สาม<br />

เจริญพาณิชย์ จ ากัด, กรุงเทพฯ.<br />

คณะท างานโครงการหนูรักผักสีเขียวสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิโตโยต้า ประเทศไทย, 2541,<br />

มหัศจรรย์ผัก108, โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, กรุงเทพฯ.<br />

AOAC, 2000, Official Methods of Analysis of AOAC Intern<strong>at</strong>ional, Associ<strong>at</strong>ion of Official Analytical Chemists,<br />

Gaithersburg.<br />

Garayo, J. and Moreira, R., 2002, Vacuum Frying of Pot<strong>at</strong>o Chips, Journal of Food Engineering, 55(2): 181-<strong>19</strong>1.<br />

Shyu, S.L. and Hwang, L.S., 2001, Effects of Processing Conditions on The Quality of Vacuum Fried Apple<br />

Chips, Journal of Food Research Intern<strong>at</strong>ional, 34: 133-142.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!