22.02.2015 Views

Determination of Phenolic Acid and Antioxidant Activity from ... - CRDC

Determination of Phenolic Acid and Antioxidant Activity from ... - CRDC

Determination of Phenolic Acid and Antioxidant Activity from ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 377-380 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 377-380 (2554)<br />

การวิเคราะห์กรดฟี นอลิกและฤทธิ ต้านออกซิเดชั นของสารสกัดจากฟางข้าว<br />

<strong>Determination</strong> <strong>of</strong> <strong>Phenolic</strong> <strong>Acid</strong> <strong>and</strong> <strong>Antioxidant</strong> <strong>Activity</strong> <strong>from</strong> Rice Straw Extracts<br />

สุภัทรา ลิลิตชาญ 1 สุดารัตน์ สุพานิช 1 ธัญญลักษณ์ ทอนราช 1 ปฐมาภรณ์ พิทักษ์ภากร 1 และ นิตยา เทพปฐม 1<br />

Lilitchan, S. 1 , Supanich, S. 1 , Thonrach, T. 1 , Pitakphakorn, P. 1 <strong>and</strong> Teppathom, N. 1<br />

Abstract<br />

Rice husk is the low-value agricultural waste. In recent year, researcher found that the straw contains<br />

the important phenolic acid. <strong>Phenolic</strong> acid is a good antioxidant. There have been several studies indicated<br />

that this compound has many applications in food, medical <strong>and</strong> cosmetics. The primary objective <strong>of</strong> this study<br />

is to determine the phenolic acid composition <strong>of</strong> the waxy rice (RD 2) <strong>and</strong> rice (Pathumthani 1) straw extracts<br />

by using High performance liquid chromatography (HPLC). Another objective is to analyze the total phenolic<br />

compounds <strong>and</strong> antioxidant activity <strong>of</strong> these extracts. The results showed that the three major phenolic acids<br />

in Pathumthani 1 straw extract was p-coumaric, ferulic <strong>and</strong> syringic acid. While the two major phenolic acids in<br />

RD 2 straw extract was ferulic <strong>and</strong> syringic acid. In addition, the major portion <strong>of</strong> phenolic acids existed in<br />

insoluble form. Analysis <strong>of</strong> total phenolics using Folin–Ciocalteu reagent showed that 12.94 <strong>and</strong> 12.98 (mg<br />

GAE/100g) <strong>from</strong> Pathumthani 1 <strong>and</strong> RD 2 rice straw extracts, respectively. With DPPH radical-scavenging<br />

assay, percentage inhibition was 44.6 % <strong>and</strong> 48.3 % <strong>from</strong> Pathumthani 1 <strong>and</strong> RD 2 rice straw extracts,<br />

respectively. This study demonstrates that rice straw still contains useful bioactive compounds with high<br />

antioxidant properties. In further study, the safe extracted product will be evaluated for food <strong>and</strong> cosmetics.<br />

Keywords: rice straw, phenolic acid, antioxidant activity, extraction<br />

บทคัดย่อ<br />

ฟางข้าวเป็ นของเหลือทิ งทางการเกษตร ซึงมีรายงานวิจัยพบว่าในฟางข้าวยังคงประกอบไปด้วยสารสําคัญกรดฟี<br />

นอลิก (phenolic acids) ซึงเป็ นสารต้านออกซิเดชันทีดี มีผลการศึกษาวิจัยทีระบุว่าสารนี มีคุณประโยชน์มากมายทั ง<br />

ทางด้านอาหาร ทางการแพทย์ และเครืองสําอาง โดยวัตถุประสงค์หลักในงานวิจัยนี คือศึกษาองค์ประกอบของกรดฟี นอลิก<br />

ของสารสกัดจากฟางข้าวเหนียว (พันธุ ์กข 2) และข้าวเจ้า (พันธุ ์ปทุมธานี 1) โดยใช้เทคนิคโครมาโทรกราฟี ของเหลวสมรรถนะ<br />

สูง (High performance liquid chromatography, HPLC) รวมทั งปริมาณสารประกอบฟี นอลิกทั งหมดและฤทธิ การต้านออก<br />

ซิเดชัน จากผลการทดลองพบ สารสกัดทีได้จากฟางข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 ประกอบด้วยกรดฟี นอลิกหลักอยู ่ 3 ชนิด ได้แก่ กรด<br />

พาราคูมาลิก กรดเฟอรูลิก และกรดไซรินจิก ส่วนฟางข้าวพันธุ ์กข 2 พบกรดฟี นอลิกเป็ นองค์ประกอบหลักเพียง 2 ชนิดได้แก่<br />

กรดเฟอรูลิก และกรดไซรินจิก และพบว่ากรดฟี นอลิกทีสกัดได้จากฟางข้าวส่วนใหญ่อยู ่ในรูป Insoluble ผลการวิเคราะห์<br />

ปริมาณสารประกอบฟี นอลิกทั งหมดด้วยวิธี Folin-Ciocalteu พบว่า สารสกัดทีได้จากฟางข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 และพันธุ ์กข 2<br />

มีปริมาณสารประกอบฟี นอลิกทั งหมด 12.94 และ 12.98 (mg GAE/100g) ตามลําดับ และผลการวิเคราะห์ฤทธิ ต้านออกซิ<br />

เดชันต่อ DPPH ของฟางข้าวรายงานในรูปเปอร์เซ็นการยับยั งอนุมูลอิสระ พบว่า สารสกัดทีได้จากฟางข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1<br />

และพันธุ ์กข 2 มีฤทธิ ต้านการออกซิเดชัน 44.6% และ 48.3 % ตามลําดับ จากการศึกษานี ชี ให้เห็นว่าฟางข้าวยังคงเป็ นแหล่ง<br />

วัตถุดิบทีมีองค์ประกอบของกรดฟี นอลิกและสารสําคัญทางชีวภาพทีมีสมบัติในการต้านออกซิเดชันสูง และควรมีการศึกษา<br />

ความปลอดภัยของสารทีสกัดได้จากฟางข้าวนี เพือนํามาใช้กับอาหารหรือเครืองสําอางต่อไป<br />

<br />

คําสําคัญ: ฟางข้าว กรดฟี นอลิก ฤทธิ ต้านออกซิเดชัน การสกัด<br />

คํานํา<br />

ฟางข้าวเป็ นของเหลือทิ งทางการเกษตรทีมีราคาตํา จากการศึกษาทีผ่านมาของ Tilay และคณะ (2008) พบว่าใน<br />

ฟางข้าวสาลียังคงมีสารสําคัญกรดฟี นอลิก (phenolic acids) ซึงสารสําคัญนี จัดว่าเป็ นวัตถุดิบทีสําคัญในอุตสาหกรรม<br />

1<br />

ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 420/1 ถนนราชวิถี ราชเทวี กทม. 10400<br />

1<br />

Department <strong>of</strong> Nutrition, Faculty <strong>of</strong> Public Health, Mahidol University, 420/1 Rajchavithi Rd., Rajchathevee, Bangkok 10400


378 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

อาหารและเครืองสําอาง นอกจากนี ยังพบว่ามีการนําสารนี มาใช้ในรูปของยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอีกด้วย (Alothman<br />

และคณะ, 2009) ปัจจุบันประเทศไทยยังต้องนําเข้าสารเหล่านี จากต่างประเทศซึงมีราคาสูง ในขณะประเทศไทยมีวัตถุดิบ<br />

ฟางข้าวซึงเป็ นของเหลือทิ งทางการเกษตรจํานวนมาก แต่ยังไม่มีการศึกษาวิจัยเกียวกับการนําสารสําคัญดังกล่าวจากฟาง<br />

ข้าวมาใช้ประโยชน์เพือเพิมมูลค่าให้กับฟางข้าวไทย ดังนั นในการศึกษานี จึงมีความสนใจศึกษาองค์ประกอบของกรดฟี นอลิก<br />

ในฟางข้าวด้วยเทคนิค isocratic HPLC รวมทั งหาปริมาณสารฟี นอลิกทั งหมดและฤทธิ การต้านออกซิเดชันของสารสกัดจาก<br />

ฟางข้าวเพือเป็ นข้อมูลเบื องต้นทีจะช่วยเพิมมูลค่าให้กับฟางข้าวซึงเป็ นวัสดุเหลือทิ งทางการเกษตร และทดแทนการนําเข้า<br />

ของสารสําคัญกรดฟี นอลิกได้<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

ฟางข้าวเจ้า (พันธุ ์ปทุมธานี1) จากศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และ ฟางข้าวเหนียว (พันธุ ์กข 2) จาก<br />

จังหวัดนครพนม สารมาตรฐานกรดฟี นอลิกจาก Fluka chemical (Buchs, Switerl<strong>and</strong>) ตัวทําละลายอินทรีย์ทีใช้เป็ น<br />

analytical grade จาก Merck (Darmstadt, Germany) ตัวอย่างฟางข้าวนํามาบดให้ละเอียดและร่อนผ่านตะแกรงร่อน<br />

ขนาด 50 MESH เก็บใส่ถุงพลาสติกปิ ดสนิททึบแสง เก็บในตู ้แช่แข็งทีอุณหภูมิ -18 ๐ C<br />

ทําการสกัด soluble phenolic acid จากฟางข้าว ตามวิธีของ Renuka และ Arumughan (2007) โดยใช้ตัวอย่าง<br />

ฟางข้าว 10 กรัมต่อเมทานอล 750 มิลลิลิตร สกัดด้วย Soxhlet extractor เป็ นเวลา 10 ชัวโมง และทําการสกัด Insoluble<br />

phenolic acid จากฟางข้าว ดัดแปลงจากวิธีของ Adom และ Liu (2002) โดยใช้กากฟางข้าวทีสกัด soluble phenolic<br />

acid ปริมาณ 10 กรัม มาไฮโดรไลซ์ด้วย 2 โมลาร์ของโซเดียมไฮดรอกไซด์ (30 มิลลิลิตร) เขย่าภายใต้ก๊าซไนโตรเจนที<br />

อุณหภูมิห้องเป็ นเวลาประมาณ 1 ชัวโมง แล้วปรับสภาวะของสารละลายให้ได้ค่า pH 2 ด้วยกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 6 โม<br />

ลาร์ และนํามาสกัดด้วยเฮกเซน 30 มิลลิลิตร สกัดต่อด้วยเอททิลอาซิเตท 30 มิลลิลิตร แล้วนําไประเหยจนเอททิลอาซิเตท<br />

แห้ง นําทั งสองส่วนมาทําการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของกรดฟีนอลิกด้วย HPLC บนคอลัมน์ C 18 reversed-phase<br />

HPLC pump รุ่น Waters 510 UV-Detector โดย mobile phase ทีใช้คือ 2% acetic acid ในนํ าต่อเมทานอลในอัตราส่วน<br />

82:18 (Bonoli และคณะ, 2004) โดยควบคุมอัตราการไหลของวัฏภาคเคลือนทีเท่ากับ 1.5 มิลลิลิตร/นาที ใช้ระบบการแยก<br />

สารแบบ isocratic elution ตรวจวิเคราะห์ด้วย UV-spectrophotometry detector รุ่น Waters 2487 ทีความยาวคลืนที<br />

280 และ 320 นาโนเมตร<br />

นําสารสกัดทีเหลือนําไปวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบฟี นอลิกทั งหมดตามวิธีของ Alothman และคณะ (2009)<br />

โดยนําสารสกัดฟางข้าว 0.1 มิลลิลิตร ผสมกับ Folin-Ciocalteu reagent 0.5 มิลลิลิตร และ นํ า 6 มิลลิลิตร ตั งทิ งไว้ 2 นาที<br />

ทีอุณหภูมิห้อง จากนั นเติม Na 2 CO 3 7.5% (นํ าหนักต่อปริมาตร) ปริมาตร 2 มิลลิลิตรตั งทิ งไว้ทีอุณหภูมิห้อง 30 วินาที ปรับ<br />

ปริมาตรด้วยนํ ากลันให้ปริมาตรสุดท้ายเป็ น 10 มิลลิลิตร ตั งทิ งไว้ทีอุณหภูมิห้อง 1 ชัวโมง แล้วนํามาวัดค่าการดูดกลืนแสง<br />

ด้วยเครืองสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ทีความยาวคลืน 765 นาโนเมตร เปรียบเทียบผลโดยใช้กราฟมาตรฐานของสารละลายกรด<br />

แกลลิก และหาฤทธิ ต้านออกซิเดชัน ตามวิธีของ Alothman และคณะ (2009) โดยนําสารสกัดฟางข้าวปริมาตร 0.1<br />

มิลลิลิตร ผสมกับ DPPH 2.5 มิลลิโมลาร์ ในเมทานอลปริมาตร 1.9 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากันแล้วทิ งไว้ในทีมืดเป็ นเวลา 30<br />

นาที จากนั นวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครืองสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ทีความยาวคลืน 515 นาโนเมตร ฤทธิ ต้านออกซิเดชันต่อ<br />

DPPH รายงานในรูปของเปอร์เซ็น (% inhibition)<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

ในการศึกษานี มุ ่งเน้นพัฒนาวิธีวิเคราะห์สารด้วยเทคนิค HPLC แบบ isocratic elution ผลการทดสอบการใช้ได้ของ<br />

การวิเคราะห์ด้วย HPLC สรุปไว้ใน Table 1 ได้กราฟมาตรฐานทีมีความสัมพันธ์อย่างเป็ นเส้นตรง (R 2 มีค่าสูงกว่า 0.999)<br />

จากผลการทดสอบหาค่า LOD จาก 3 เท่าของ SD และ LOQ จาก 10 เท่าของ SD ได้ LOD เท่ากับ 0.0001 และ LOQ<br />

เท่ากับ 0.0003 mg/kg ซึงแสดงถึงว่าวิธีนี มีสมรรถนะดี สามารถวิเคราะห์ปริมาณตัวอย่างทีมีความเข้มข้นตําได้ ซึงเหมาะสม<br />

กับการวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดฟี นอลิกในตัวอย่างฟางข้าว (Figure 1) ในขณะที Figure 2 แสดงปริมาณของกรดฟี<br />

นอลิกในฟางข้าว พบว่า soluble phenolic acid ในสารกัดจากฟางข้าวสายพันธุ ์ปทุมธานี 1 พบกรดไซรินจิก กรดพาราคูมา<br />

ริก และกรดเฟอรูลิก โดยพบกรดพาราคูมาริกมีปริมาณสูงทีสุด ส่วนฟางข้าวพันธุ ์กข 2 พบกรดไซรินจิก และกรดเฟอรูลิก โดย<br />

ทีกรดเฟอรูลิกมีปริมาณสูงกว่ากรดไซรินจิก Insoluble phenolic acid ของฟางข้าวทั ง 2 สายพันธุ ์พบกรดพาราคูมาริกและ<br />

กรดเฟอรูลิก ซึงฟางข้าวสายพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีปริมาณกรดพาราคูมาริกสูงกว่ากรดเฟอรูลิก และทั ง 2 สายพันธุ ์มีปริมาณกรด


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 379<br />

เฟอรูลิกใกล้เคียงกัน นอกจากนี พบว่ากรดฟี นอลิกส่วนใหญ่ในรูปของ Insoluble phenolic acid ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยที<br />

ผ่านมา พบว่ากรดฟี นอลิกในธัญพืชส่วนใหญ่จะอยู ่ในรูป bound phenolic acid (Laokuldilok และคณะ, 2011; Liu, 2007)<br />

Table 1 St<strong>and</strong>ard calibration curves, maximum wavelengths (λ max ) <strong>and</strong> method validation data for<br />

determination <strong>of</strong> caffeic acid, chlorogenic acid, syringic acid, p-coumaric acid <strong>and</strong> ferulic acid by<br />

isocratic HPLC-UV detection<br />

Compound Linear range Calibration curves<br />

LOD LOQ λ max (nm)<br />

(mg/ml) Regression R 2 (mg/ml) (mg/ml)<br />

equation a<br />

Caffeic acid 0.001-0.1 Y = 66334.53x 0.9997 0.0001 0.0003 320<br />

Chlorogenic acid 0.001-0.1 Y = 37736.06x 0.9987 0.0003 0.001 320<br />

Syringic acid 0.001-0.1 Y = 38998.54x 0.9998 0.0001 0.0002 280<br />

p-coumaric acid 0.001-0.1 Y = 85720.67x 0.9999 0.0001 0.0004 320<br />

Ferulic acid 0.001-0.1 Y = 69463.45x 0.9959 0.0001 0.0003 320<br />

a<br />

y = peak area, x = concentration (mg/ml)<br />

Figure 1 Chromatogram <strong>of</strong> soluble (left) <strong>and</strong> insoluble (right) phenolic acid <strong>from</strong> Pathum Thani 1 rice straw<br />

extract. Peaks : (a) Syringic acid (b) p-Coumaric acid (c) Ferulic acid detected at 2 nm.<br />

Figure 2 Soluble (left) <strong>and</strong> insoluble (right) phenolic acid content <strong>from</strong> rice straw extract.<br />

จากการศึกษาพบว่า soluble phenolic acid ของสารสกัดจากฟางข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 และพันธุ ์กข 2 มีปริมาณ<br />

สารประกอบฟี นอลิกทั งหมด เท่ากับ 12.94 และ 12.98 (mg GAE/100g) ตามลําดับ นอกจากนี ได้ศึกษาฤทธิ ต้านอนุมูล<br />

อิสระ DPPH ของฟางข้าว ซึงรายงานในรูปเปอร์เซ็นต์การยับยั งของอนุมูลอิสระ DPPH พบว่า soluble phenolic acid ของ<br />

สารสกัดจากฟางข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 และพันธุ ์กข 2 มีฤทธิต้านการออกซิเดชัน 44.6% และ 48.3% ตามลําดับ ซึงชี ให้เห็น<br />

ว่าฟางข้าวยังคงเป็ นแหล่งวัตถุดิบทีมีองค์ประกอบของสารสําคัญทางชีวภาพทีมีสมบัติในการต้านออกซิเดชันสูง (Table 2)


378 380 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table 2 Total phenolic content (TPC) <strong>and</strong> antioxidant activity (DPPH assay) in soluble phenolic acid <strong>from</strong><br />

different rice straw extracts<br />

Varieties TPC (mg GAE/100 g <strong>of</strong> straw) 1 DPPH radical scavenging activity<br />

(% inhibition )<br />

Pathum Thani 1 12.94±0.011 44.6<br />

RD 2 12.98±0.002 48.3<br />

1 Values are mean±SD (n=3).<br />

สรุปผล<br />

การศึกษานี สามารถพัฒนาวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดฟี นอลิกในฟางข้าวด้วย Isocratic HPLC ซึงเป็ นวิธีที<br />

สะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง เหมาะกับการนํามาใช้สําหรับงานวิเคราะห์ทีต้องทําเป็ นประจํา จากผลการทดลองพบปริมาณ<br />

กรดฟี นอลิกในฟางข้าวจะแตกต่างกันขึ นกับชนิดของสายพันธุ ์ข้าว โดยพบว่ากรดเฟอรูลิกและกรดพาราคูมาลิกเป็ น<br />

องค์ประกอบหลักในฟางข้าวทั งสองสายพันธุ ์ และกรดฟี นอลิกทีพบส่วนใหญ่จะอยู ่ในรูป insoluble จากการศึกษานี ชี ให้เห็น<br />

ว่าฟางข้าวยังคงมีสมบัติในการต้านออกซิเดชันสูง ดังนั นฟางข้าวเป็ นแหล่งของสารต้านออกซิเดชันธรรมชาติทีน่าสนใจและ<br />

มีคุณค่า<br />

คําขอบคุณ<br />

ขอขอบคุณมูลนิธิโทเรเพือการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทยทีให้การสนับสนุนทุนวิจัยในการศึกษานี <br />

เอกสารอ้างอิง<br />

Adom, K.K. <strong>and</strong> Liu, R.H., 2002, <strong>Antioxidant</strong> <strong>Activity</strong> <strong>of</strong> Grains, Journal <strong>of</strong> Agricultural <strong>and</strong> Food Chemistry, 50:<br />

6182-6187.<br />

Alothman, M., Bhat, R. <strong>and</strong> Karim, A.A., 2009, <strong>Antioxidant</strong> Capacity <strong>and</strong> <strong>Phenolic</strong> Content <strong>of</strong> Selected Tropical<br />

Fruits <strong>from</strong> Malaysia, Extracted with Different Solvent, Food chemistry, 115: 785-788.<br />

Bonoli, M., Verardo, V., Marconi, E. <strong>and</strong> Caboni, M.F., 2004, <strong>Antioxidant</strong> Phenols in Barley (Hordeum vulgare<br />

L.) Flour: Comparative Spectrophotometric Study among Extraction Methods <strong>of</strong> Free <strong>and</strong> Bound <strong>Phenolic</strong><br />

Compounds, Journal <strong>of</strong> Agricultural <strong>and</strong> Food chemistry, 52: 5195-5200.<br />

Laokuldilok, T., Shoemaker, C.F., Jongkaewwattana, S. <strong>and</strong> Tulyathan, V., 2011, <strong>Antioxidant</strong>s <strong>and</strong> <strong>Antioxidant</strong><br />

<strong>Activity</strong> <strong>of</strong> Several Pigmented Rice Brans, Journal <strong>of</strong> Agricultural <strong>and</strong> Food chemistry, 59: 193-199.<br />

Liu, R.H., 2007, Whole Grain Phytochemicals <strong>and</strong> Health, Journal <strong>of</strong> Cereal Science, 46: 207-219.<br />

Renuka, D.R. <strong>and</strong> Arumughan, C., 2007, Phytochemical Characterization <strong>of</strong> Defatted Rice Bran <strong>and</strong><br />

Optimization <strong>of</strong> a Process for their Extraction <strong>and</strong> Enrichment, Bioresource Technology, 98: 3037-3043.<br />

Tilay, A., Bule, M., Kishenkumar, J. <strong>and</strong> Annapure, U., 2008, Preparation <strong>of</strong> Ferulic <strong>Acid</strong> <strong>from</strong> Agricultural<br />

Wastes: Its Improved Extraction <strong>and</strong> Purification, Journal <strong>of</strong> Agricultural <strong>and</strong> Food chemistry, 56: 7644-<br />

7648.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!