การเหลือรอดของ Lactobacillus acidophilus - CRDC

การเหลือรอดของ Lactobacillus acidophilus - CRDC การเหลือรอดของ Lactobacillus acidophilus - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

Agricultural Sci. J. 43(2)(Suppl.): 261-264 (2012) ว. วิทย์. กษ. 43(2)(พิเศษ): 261-264 (2555) การเหลือรอดของ Lactobacillus acidophilus ในโยเกิร์ตกล้วยน ้าว้าและสภาวะเลียนแบบระบบย่อยอาหาร Survival of Lactobacillus acidophilus in Banana (Musa sapientum L.) Yoghurt and Simulated Gastrointestinal Conditions ทิพรักษ์ วงษาดี 1 อัสนี วงค าหาร 1 และ สุรีพร หงส์สีดา 1 Wongsadee, T. 1 , Wongkhumhan, A. 1 and Hongseeda, S. 1 Abstract The objective of this study was to determine the effects of supplemented with modified banana (Musa sapientum L.) starch at 3 and 5% levels (v/v) in yoghurt containing Lactobacillus acidophilus on the survival of L. acidophilus during refrigerated storage and simulated gastrointestinal conditions. The yoghurt with modified banana starch added during storage had a significantly higher survival of L. acidophilus than without added (p

Agricultural Sci. J. 43(2)(Suppl.): 261-264 (2012) ว. วิทย์. กษ. 43(2)(พิเศษ): 261-264 (2555)<br />

การเหลือรอดของ <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> ในโยเกิร์ตกล้วยน ้าว้าและสภาวะเลียนแบบระบบย่อยอาหาร<br />

Survival of <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> in Banana (Musa sapientum L.) Yoghurt and Simulated<br />

Gastrointestinal Conditions<br />

ทิพรักษ์ วงษาดี<br />

1 อัสนี วงค าหาร 1 และ สุรีพร หงส์สีดา 1<br />

Wongsadee, T. 1 , Wongkhumhan, A. 1 and Hongseeda, S. 1<br />

Abstract<br />

The objective of this study was to determine the effects of supplemented with modified banana (Musa<br />

sapientum L.) starch at 3 and 5% levels (v/v) in yoghurt containing <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> on the survival of<br />

L. <strong>acidophilus</strong> during refrigerated storage and simulated gastrointestinal conditions. The yoghurt with modified<br />

banana starch added during storage had a significantly higher survival of L. <strong>acidophilus</strong> than without added<br />

(p


262 ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

เจริญของโพรไบโอติกจึงเป็ นวิธีการที่ดี กลุ ่มของสารอาหารที่ร่างกายไม่สามารถย่อยและดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร<br />

ตอนบน และส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์โพรไบโอติก เรียกว่า พรีไบโอติก เช่น สารประกอบฟรุคโตโอลิโกแซคคาร์ไรด์<br />

(fructo-oligosaccharides) กาแลคโตโอลิโกแซคคาไรด์ (Galactooligosaccharide) และอินนูลิน (inulin) เป็ นต้น กล้วย<br />

น ้าว้าเป็ นผลไม้ไทยที่นิยมบริโภคกันมานาน มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและมีแร่ธาตุที่ส าคัญต่อร่างกาย นอกจากนี ้ยัง<br />

ประกอบด้วยอินนูลิน และโอลิโกฟรุกโตสที่มีคุณสมบัติเป็ นพรีไบโอติกอีกด้วย งานวิจัยนี ้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ<br />

รอดชีวิตของจุลินทรีย์โพรไบโอติกในโยเกิร์ตกล้วยน ้าว้าที่สภาวะเลียนแบบระบบย่อยอาหารเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ<br />

ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายผู ้บริโภคสูงสุด<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

เตรียมเชื ้อเริ่มต้นในการผลิตโยเกิร์ตจาก Streptococcus thermophilus TISTR 895 และ <strong>Lactobacillus</strong><br />

delbrueckii subsp. bulgaricus TISTR 458 ที่อยู ่ในรูปผงแห้ง และจุลินทรีย์โพรไบโอติก คือ <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong><br />

ได้รับมาจากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย โดยท าการเพาะเชื ้อ S. thermophilus และ L.<br />

delbrueckii subsp. bulgaricus ลงในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ MRS และ L. <strong>acidophilus</strong> ในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ MRS-sorbitol ท า<br />

การบ่มเชื ้อที่อุณหภูมิ 37°C เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง ในสภาวะไร้อากาศ เตรียมสารแขวนลอยของเชื ้อโดยวัดค่าการดูดกลืนแสง<br />

ที่ 600 นาโนเมตร ด้วยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ให้มีเชื ้อเริ่มต้นประมาณ 10 9 cfu/ml ท าการเตรียมแป้ งกล้วยน ้าว้าดัด<br />

แปรโดยน ากล้วยน ้าว้าดิบน าไปนึ่งด้วยไอน ้าแล้วท าแห้งด้วยเครื่องอบแห้งแบบถาดจากนั ้นท าการบดและร่อน น าแป้ งกล้วย<br />

น ้าว้าดัดแปรมาเติมเชื ้อ L. <strong>acidophilus</strong> ในอัตราส่วนของกล้วยต่อสารแขวนลอยเท่ากับ 1:1 จากนั ้นน าไปกวนด้วยเครื่อง<br />

กวนสารเพื่อให้เชื ้อเกาะติด จากนั ้นท าการผลิตโยเกิร์ตโดยเตรียมน ้านมสดรสจืดมาให้ความร้ อนที่อุณหภูมิ 85°C เป็ นเวลา<br />

15 นาที จากนั ้นท าให้เย็นลงแล้วเติมเชื ้อจุลินทรีย์ผลิตโยเกิร์ตในอัตราส่วน 1:1 ปริมาณ 10% v/v แล้วเติมแป้ งกล้วยน ้าว้าที่<br />

มี L. <strong>acidophilus</strong> คือ 3 และ 5% v/v แล้วน าไปบ่มที่อุณหภูมิ 42°C จนกระทั่งมี pH ประมาณ 4.3-4.5 จากนั ้นเก็บรักษาใน<br />

อุณหภูมิ 4°C (Ricardo และคณะ, 2011) ต่อมาท าการศึกษาการเหลือรอดของ L. <strong>acidophilus</strong> ในโยเกิร์ต ระหว่างการ<br />

เก็บรักษาเป็ นเวลา 28 วัน ส าหรับการศึกษาการเหลือรอดในสภาวะเลียนแบบระบบย่อยอาหารท าได้โดยเตรียมสารละลาย<br />

เอนไซม์เพปซิน (Fluka-77160) ความเข้มข้น 3 กรัมต่อลิตรละลายด้วยโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น 0.5% v/v ปรับ pH ให้<br />

อยู ่ระหว่าง 2.0-2.5 ท าให้ปลอดเชื ้อโดยการกรองด้วยกระดาษกรองขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.22 µm และเตรียม<br />

สารละลายเกลือน ้าดี (Hi-media) ความเข้มข้น 0.5% ปรับ pH เป็ น 6.0 แล้วกรองให้ปลอดเชื ้อ ท าการทดสอบ<br />

ความสามารถในการเจริญของ L. <strong>acidophilus</strong> ในโยเกิร์ตที่ 5 สภาวะ โดยท าการบ่มที่อุณหภูมิ 37°C ได้แก่ (1) กลุ ่ม<br />

ควบคุม (2) เอนไซม์เพปซิน เป็ นเวลา 2 ชั่วโมง (3) เอนไซม์เพปซิน เป็ นเวลา 2 ชั่วโมงแล้วเติมเกลือน ้าดีบ่มต่อเป็ นเวลา 2<br />

ชั่วโมง (4) เอนไซม์เพปซิน เป็ นเวลา 4 ชั่วโมง และ (5) เอนไซม์เพปซิน เป็ นเวลา 4 ชั่วโมงแล้วเติมเกลือน ้าดีบ่มต่อเป็ นเวลา<br />

2 ชั่วโมง จากนั ้นท าการตรวจนับเชื ้อ L. <strong>acidophilus</strong> ที่เจริญบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ MRS-sorbitol หลังจากบ่มที่อุณหภูมิ<br />

37ºC 48 ชั่วโมง ในสภาวะไร้อากาศ (อาทิตย์, 2550; Lian และคณะ, 2003)<br />

ผลการทดลอง<br />

จากผลการวิจัยพบว่าการเติมแป้ งกล้วยในโยเกิร์ตท าให้ L. <strong>acidophilus</strong> เหลือรอดในผลิตภัณฑ์ระหว่างการเก็บ<br />

รักษาที่อุณหภูมิ 4°C สูงกว่าการไม่เติมแป้ งกล้วย (p


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 263<br />

กระเพาะอาหารและด่างสูงได้สอดคล้องกับการศึกษาของ Michida และคณะ (2006) ที่รายงานว่าการใช้เส้นใยจากข้าว<br />

บาร์เล่ย์ในการตรึงเซลล์ L. plantarum มีผลท าให้เชื ้อเหลือรอดหลังจากผ่านสภาวะเลียนแบบระบบกระเพาะอาหารได้<br />

มากกว่าเซลล์อิสระ<br />

สรุปผล<br />

การผลิตโยเกิร์ตโดยการเติมแป้ งกล้วย 5% มีผลต่อการเหลือรอดของเชื ้อ L. <strong>acidophilus</strong> ในโยเกิร์ต ระหว่างการ<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4°C และในสภาวะเลียนแบบระบบย่อยอาหารสูงที่สุด ซึ่งจ านวนเชื ้อ L. <strong>acidophilus</strong> ที่เหลือรอดในโย<br />

เกิร์ต อยู ่ในระดับที่ยอมรับว่ามีประโยชน์เพียงพอต่อร่างกายผู ้บริโภค<br />

ค าขอบคุณ<br />

ขอขอบคุณกองทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา<br />

ปี งบประมาณ 2555<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

อาทิตย์ คมข า, 2550, การเจริญและการเหลือรอดของ <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> ในเครื่องดื่มแอซิโดฟิ ลัสและระบบ<br />

กระเพาะอาหาร-ล าไส้จ าลอง, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร บัณฑิต<br />

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.<br />

Donkor, O.N., Nilmini S.L.I., Stolic, P., Vasiljevic, T. and Shah, N.P., 2007, Survival and Activity of Selected<br />

Probiotic Organisms in Set-type Yoghurt During Cold Storage, International Dairy Journal, 17: 657-665.<br />

Lian, W.C., Hsiao, H.C. and Chou, C.C., 2003, Viability of Microencapsulated Bifidobacteria in Simulated<br />

Gastric Juice and Bile Solution, International Journal of Food Microbiology, 86: 293– 301.<br />

Michida, H., Tamalampudi, S., Pandiella, S.S., Webb, C., Fukuda, H. and Kondo, A., 2006, Effect of Cereal<br />

Extracts and Cereal Fiber on Viability of <strong>Lactobacillus</strong> plantarum under Gastrointestinal Tract Conditions,<br />

Biochemical Engineering Journal, 28: 73-78.


262 264<br />

ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Table 1 The viability of <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> in yoghurt samples in the presence of different levels of<br />

modified banana (Musa sapientum L.) starch during four weeks at 4ºC.<br />

Period of storage (days)<br />

Concentration of modified banana starch 1<br />

0% 3% 5%<br />

0 8.3±0.05 Ba 8.6±0.05 ABb 8.8±0.25 Abc<br />

7 7.3±0.17 Bb 9.3±0.20 Aa 9.3±0.05 Aa<br />

14 7.2±0.30 Bbc 9.0±0.05 Aa 9.0±0.11 Aab<br />

28 6.7±0.35 Bc 8.5±0.25 Ab 8.3±0.10 Ac<br />

1<br />

Means in the same column with different small letter superscripts are significantly different; Means in the<br />

same row with different capital letter superscripts are significantly different<br />

Table 2 The viability of <strong>Lactobacillus</strong> <strong>acidophilus</strong> in yoghurt samples in the presence of different levels of<br />

modified banana (Musa sapientum L.) starch in conditions simulating gastrointestinal stresses.<br />

Conditions<br />

Concentration of modified banana starch 1<br />

0% 3% 5%<br />

Control 8.3±0.05 Ba 8.6±0.05 ABa 8.8±0.25 Aa<br />

2 hour with pepsin enzyme 7.2±0.17 Bb 8.2±0.11 Ab 8.4±0.05 Ab<br />

2 hour with pepsin enzyme and bile salt 6.2±0.11 Cc 7.5±0.05 Bc 8.3±0.15 Ab<br />

4 hour with pepsin enzyme 6.1±0.15 Cc 7.3±0.10 Be 8.2±0.20 Ab<br />

4 hour with pepsin enzyme 6.0±0.20 Bc 6.6±0.05 Af 6.8±0.28 Ac<br />

1<br />

Means in the same column with different small letter superscripts are significantly different; Means in the<br />

same row with different capital letter superscripts are significantly different

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!