22.02.2015 Views

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 507<br />

วัชพืชจากการทดลองในครั ้งนี ้มีความกว้างเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.122-0.127 มม. และมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.047-0.066 มม.<br />

ซึ่งน้อยกว่าการศึกษาของอัญชลี และคณะ (2550) ที่รายงานว่า เมล็ดข้าววัชพืชมีความกว้างเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.49-4.43 มม. และ<br />

มีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.7-2.62 มม. จากการวัดลักษณะทางสรีรวิทยาของเมล็ด พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มี<br />

ความงอกสูงสุด เท่ากับร้อยละ 97 และ 99 ตามล าดับ ส่วนข้าวดีดมีความงอกต ่าสุด เท่ากับร้อยละ 23 (Table 2) จะเห็นได้ว่า<br />

เมล็ดข้าววัชพืชที่น ามาทดสอบในครั ้งนี ้มีการพักตัว โดยเฉพาะข้าวดีดและข้าวแดง เช่นเดียวกับเมล็ดข้าวแดงที่มีการพักตัวของ<br />

เมล็ดอยู ่ระหว่าง 7-9 สัปดาห์ (อัญชลี และอ่วม, 2547) นอกจากพันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มีความงอกสูงสุดแล้วยังมีดัชนี<br />

ความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าสูงสุด ส าหรับข้าววัชพืชทั ้ง 3 ชนิด พบว่า ข้าวดีดมีดัชนีความเร็วใน<br />

การงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าต ่าสุด ส าหรับความยาวรากของต้นกล้า พบว่า พันธุ ์ขาวเมล็ดเล็กและพันธุ ์พวง<br />

มีความยาวรากสูงสุด ส่วนข้าวดีดมีความยาวรากต ่าสุด (Table 2) จากการเพาะทดสอบความงอก พบว่า ข้าวปลูกทุกชนิดไม่มีการ<br />

พักตัวของเมล็ด ในขณะที่ข้าววัชพืช มีการพักตัว ท านองเดียวกับการทดสอบเมล็ดข้าววัชพืช พบว่า เมล็ดมักมีการพักตัวหลังการ<br />

เก็บเกี่ยว (Gianinetti และ Cohn, 2007; Gianinetti และ Cohn, 2008) จากการศึกษานี ้ พบว่า เมล็ดของข้าวดีดมีการพักตัว<br />

ค่อนข้างสูง ส่วนข้าวหาง พบว่า เมล็ดไม่มีการพักตัว ซึ่งเป็ นไปตามที่อัญชลี และคณะ (2550) รายงานว่า ข้าววัชพืชมีช่วงเวลาของ<br />

การพักตัวนานแตกต่างกันตั ้งแต่ 2-12 สัปดาห์ จากการทดลองนี ้พบว่า พันธุ ์ปทุมธานีและพันธุ ์สุพรรณบุรี 1 มีความงอกค่อนข้างสูง<br />

โดยมีความงอกมากกว่าร้อยละ 95 (Table 2) เช่นเดียวกับการเพาะทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ ์ข้าว 5 พันธุ ์ พบว่า พันธุ<br />

ปทุมธานี 1 มีความงอกร้อยละ 95 ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 1 และสุพรรณบุรี 2 ที่มีความงอกร้อยละ 93 (Sawatdikarn,<br />

2007) เมื่อพิจารณาลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดระหว่างข้าวปลูกกับข้าววัชพืช พบว่า ลักษณะทางกายภาพที่<br />

สามารถแยกข้าวปลูกออกจากข้าววัชพืชได้อย่างชัดเจนมีอยู ่ 2 ลักษณะด้วยกัน คือ ความหนาเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ด โดย<br />

กลุ ่มข้าวปลูกมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.067-0.127 มม. ในขณะที่ข้าววัชพืชมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.047-0.066 มม.<br />

และกลุ ่มข้าวปลูกมีน ้าหนัก 100 เมล็ดอยู ่ระหว่าง 2.445-2.762 กรัม ในขณะที่ข้าววัชพืชมีน ้าหนักเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.722-2.230<br />

กรัม (Table 1) ส่วนลักษณะทางกายภาพอีก 2 ลักษณะ คือ น ้าหนักเปลือกและน ้าหนักเมล็ดข้าวสารไม่สามารถแยกข้าวปลูกออก<br />

จากข้าววัชพืชได้เนื่องจากมีลักษณะไม่แตกต่างกัน (Table 1) การใช้ลักษณะทางกายภาพทั ้งสองลักษณะ คือ ความหนาเมล็ด และ<br />

น ้าหนัก 100 เมล็ด สามารถแยกความแตกต่างของข้าวปลูกและข้าววัชพืชออกจากกันได้อย่างชัดเจน<br />

สรุปผล<br />

พันธุ ์พวงมีความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดข้าวสารสูงสุด ส่วนพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความ<br />

ยาวเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ดสูงสุด ส าหรับข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง พบว่ามีลักษณะทางภายภาพ 3<br />

ด้าน คือ ความหนาเมล็ด น ้าหนักเมล็ดข้าวสาร และน ้าหนัก 100 เมล็ดต ่าสุด พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มีความงอกสูงสุด<br />

เท่ากับร้อยละ 97 และ 99 ตามล าดับ และยังมีดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าสูงสุด และเมื่อ<br />

เพาะทดสอบความงอกของเมล็ดข้าววัชพืช 3 ชนิด พบว่า ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง มีความงอก เท่ากับร้อยละ 23 76 และ 91<br />

ตามล าดับ นอกจากนี ้ยังพบว่าข้าวดีดมีการพักตัวของเมล็ดสูง และมีความยาวยอด ความยาวราก และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าต ่าสุด<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ปัญญา ร่มเย็น กรรณิกา นากลาง และเอกสิทธิ์ สกุลคู, 2549, การแข่งขันระหว่างข้าวกับวัชพืชจากการใส่ปุ ๋ ยรองพื ้นระยะเวลาต่าง ๆ ในนาหว่าน<br />

ข้าวแห้ง, วารสารวิชาการเกษตร, 24: 67-82.<br />

สงกรานต์ จิตรากร ฉวีวรรณ วุฒิญาโณ และผกาวรรณ ภู ่สุวรรณ, 2538ก, การแพร่กระจายและความผันแปรลักษณะของข้าวป่ าในประเทศไทย,<br />

วารสารวิชาการเกษตร, 13: 125-135.<br />

สงกรานต์ จิตรากร ฉวีวรรณ วุฒิญาโณ ผกาวรรณ ภู ่สุวรรณ และกัมปนาท มุขดี, 2538ข, การบันทึกลักษณะและวิเคราะห์ลักษณะข้าวป่ าใน<br />

ประเทศไทย, วารสารวิชาการเกษตร ,13: 197-218.<br />

สุรพล จัตุพร อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ และอมรรัตน์ อินทร์มั่น, 2549, การจัดการข้าวแดงแบบผสมผสานในนาหว่านน ้าตม, วารสารวิชาการเกษตร, 24:<br />

83-96.<br />

อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ และอ่วม คงชู, 2547, การรอดชีวิตของเมล็ดพันธุ ์ข้าวและข้าวแดงบางชนิดในสภาพน ้าขัง, วารสารวิชาการเกษตร, 22: 188-204.<br />

อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ อ่วม คงชู ศิริวรรณ ตั ้งวิสุทธิจิต สุรพล จัตุพร อมรรัตน์ อินทร์มั่น จิตรกร นวลแก้ว อรสา วงษ์เกษม ประทาย เคนเหลื่อม และ<br />

ปรัชญา จุฑามาตย์, 2550, การจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลลักษณะข้าววัชพืชที่มีเยื่อหุ ้มเมล็ดสีแดงในประเทศไทย, วารสารวิชาการเกษตร, 25:<br />

18-30.<br />

AOSA, 2002, Seed Vigor Testing Handbook, Association of Official Seed Analysts, 32: 20-73.<br />

Askew, S.D., Street, J.E. and. Shaw, D.R., 1998, Herbicide Programs for Red Rice (Oryza sativa) Control in Soybean. (Glycine max),<br />

Weed Technology, 12: 103-107.<br />

Gealy, D.R., Agrama, H.A., and Eizenga, G.C., 2009, Exploring Genetic and Spatial Structure of U. S. Weedy Red Rice (Oryza sativa)<br />

in Relation to Rice Relatives Worldwide, Weed Science, 57: 627-643.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!