22.02.2015 Views

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

์<br />

์<br />

506 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

2009) โดยเฉพาะการปลูกข้าวที่ข้าววัชพืชท าความเสียหายอย่างรุนแรงในหลายพื ้นที่และแพร่กระจายไปทั่วโลก (Gealy และ<br />

คณะ, 2009) ข้าววัชพืชเป็ นข้าวที่เกิดจากการผสมระหว่างข้าวปลูกกับข้าวป่ า (สงกรานต์ และคณะ, 2538) และมีลักษณะทาง<br />

กายภาพบางลักษณะที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เปลือกเมล็ดมีสีด า เมล็ดข้าวสารมีสีแดง ปลายเมล็ดมีหางยาวและเมื่อสุกแก่เมล็ด<br />

จะร่วงก่อนเกี่ยวข้าว ส าหรับลักษณะเมล็ดข้าวสารมีสีแดงเป็ นลักษณะเด่นของข้าววัชพืชพวกข้าวแดง ส่วนปลายเมล็ดมีหาง<br />

ยาว เป็ นลักษณะเด่นของข้าวหาง เป็ นต้น ข้าววัชพืชมีการกระจายอยู ่ทั่วไปเนื่องจากมีข้าวป่ าขึ ้นปะปนในทุกแหล่งปลูกข้าว<br />

และบางลักษณะของข้าววัชพืชได้รับถ่ายทอดจากข้าวป่ า เช่น เปลือกเมล็ดมีสีด า และปลายเมล็ดมีหางยาว (สงกรานต์ และ<br />

คณะ, 2538) ข้าววัชพืชท าความเสียหายให้แก่ข้าวปลูกอยู ่ 2 ลักษณะ คือ การแข่งขันในสภาพแปลงปลูกโดยแย่งปัจจัยการ<br />

เจริญเติบโต เช่น น ้า แสง และพื ้นที่ และการปะปนของเมล็ดในระหว่างเก็บเกี่ยว ท าให้เมล็ดข้าวที่เก็บเกี่ยวได้มีคุณภาพไม่ได้<br />

มาตรฐาน เนื่องจากการปะปนของเมล็ดข้าววัชพืชที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างออกจากกันได้ระหว่างข้าวปลูกกับข้าววัชพืช<br />

(สุรพล และคณะ, 2549) การศึกษาเกี่ยวกับข้าววัชพืชทั ้งในต่างประเทศและในประเทศไทยด าเนินการอย่างกว้างขวาง ซึ่งเป็ น<br />

การวิจัยที่เกี่ยวกับผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของข้าว 2 ลักษณะ คือ จ านวนต้นและความสูงต้น (Shivrain และคณะ, 2006)<br />

และผลกระทบต่อผลผลิตของข้าว (ปัญญา และคณะ, 2549; Shivrain และคณะ, 2009) ข้าววัชพืชมีผลกระทบต่อคุณภาพของ<br />

เมล็ดพันธุ ์ข้าวที่ผลิตได้ใน 2 ลักษณะ คือ ความบริสุทธิ์ของสายพันธุ ์ และคุณภาพเมล็ดพันธุ ์ ปัญหาหลักที่พบในปัจจุบันคือ<br />

การที่ข้าววัชพืชมีลักษณะของเมล็ดเหมือนกับข้าวปลูกท าให้ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้ ท าให้เกษตรกรมีปัญหาในการคัด<br />

เมล็ดพันธุ ์ข้าวก่อนปลูก และเกิดการปะปนของข้าววัชพืชในเมล็ดพันธุ ์ข้าวก่อนท าการปลูกเป็ นจ านวนมาก การศึกษามี<br />

วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูกและข้าววัชพืช จ านวน 12 พันธุ ์ เพื่อเป็ น<br />

ประโยชน์ในการจ าแนกเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูกและข้าววัชพืชออกจากกัน<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

การทดลองนี ้ด าเนินการที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ระหว่างเดือนมกราคม<br />

ถึงพฤษภาคม 2553 น าเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูก 9 พันธุ ์ คือ พันธุ ์ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 3 หอม<br />

สุพรรณบุรี พวง หอมทุ ่งปิ่ นแก้ว และขาวเมล็ดเล็ก และเมล็ดพันธุ ์ข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง วิเคราะห์<br />

ลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ด ส าหรับลักษณะทางกายภาพของเมล็ด ท าโดยวัดความกว้าง ความยาว และ<br />

ความหนาของเมล็ด มีหน่วยเป็ น มม. ชั่งน ้าหนักเมล็ด จ านวน 100 เมล็ด มีหน่วยเป็ นกรัม แล้วน าเมล็ดจ านวน 100 เมล็ด แกะ<br />

เปลือกเมล็ดออก แบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนของเปลือกและเมล็ดข้าวสาร ท าการชั่งน ้าหนักของเปลือกและน ้าหนักของเมล็ด<br />

ข้าวสาร มีหน่วยเป็ นกรัม ส่วนลักษณะทางสรีรวิทยาของเมล็ด ทดสอบและประเมินผลความงอกมาตรฐานตามกฎของ ISTA<br />

(2003) ทุกวัน ในช่วง 4-7 วัน ค านวณความงอกมาตรฐานและดัชนีความเร็วในการงอก ส าหรับความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ<br />

ประเมินผลตามกฎการทดสอบของ AOSA (2002) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ได้ด้วยวิธี DMRT<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จากการวัดลักษณะทางกายภาพของเมล็ด พบว่า พันธุ ์พวงเป็ นพันธุ ์ข้าวที่มีลักษณะทางกายภาพ จ านวน 4 ลักษณะสูงสุด คือ<br />

ความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดข้าวสารสูงสุด (Table 1) ในขณะที่พันธุ ์ปทุมธานี 1 มี<br />

ความยาวเมล็ดและน ้าหนักเมล็ดสูงสูด พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความยาวเมล็ดมากที่สุด ซึ่งเป็ นไปท านองเดียวกับการวัดขนาดของเมล็ด<br />

ข้าว พบว่า เมล็ดของข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความยาวมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับข้าวอีก 3 พันธุ ์ คือ ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และ<br />

สุพรรณบุรี 60 (Sawatdikarn, 2008) ส าหรับน ้าหนักเมล็ด พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.762 กรัม ซึ่งไม่<br />

แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 3 ที่มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.700 กรัม ให้ผลเช่นเดียวกับการชั่งน ้าหนักเมล็ดของข้าว 5 พันธุ<br />

พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.76 กรัม ซึ่งมีน ้าหนักเมล็ดสูงสุด และไม่แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 3 ที่มี<br />

น ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.75 กรัม (Sawatdikarn, 2007) จากการวัดลักษณะทางกายภาพของเมล็ดทั ้ง 6 ลักษณะ พบว่า พันธุ<br />

พวงซึ่งเป็ นข้าวนาปี มีลักษณะทางภายภาพจ านวน 5 ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนัก 100 เมล็ด น ้าหนัก<br />

เปลือกเมล็ด และน ้าหนักของเมล็ดข้าวสารอยู ่ในระดับเดียวกับพันธุ ์ปทุมธานี 1 ซึ่งเป็ นพันธุ ์ข้าวที่นิยมปลูกกันมากที่สุดในเขตภาค<br />

กลาง และมีลักษณะทางกายภาพทั ้ง 6 ลักษณะสูงสุด ยกเว้นความยาวเมล็ดที่พันธุ ์พวงมีความยาวเมล็ด 0.790 มม. ในขณะที่<br />

พันธุ ์ปทุธานี 1 มีความยาวเมล็ด 0.127 มม. (Table 1) และเมื่อเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของข้าวปลูก 9 ชนิด กับข้าว<br />

วัชพืช 3 ชนิด พบว่า ข้าววัชพืชมีลักษณะทางกายภาพของเมล็ด จ านวน 4 ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความยาวเมล็ด ความ<br />

หนาเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดแตกต่างทางสถิติกับเมล็ดข้าวปลูก แต่มีลักษณะทางภายภาพอยู ่ 2 ลักษณะ คือ น ้าหนักเปลือกและ<br />

น ้าหนักเมล็ดข้าวสารที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) ส าหรับข้าวหางเป็ นข้าววัชพืชที่มีลักษณะทางกายภาพ จ านวน 3<br />

ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความยาวเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ดต ่าสุด ในขณะที่ข้าวดีดมีความหนาของเมล็ดต ่าสุด ข้าว

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!