22.02.2015 Views

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

บทที่ 1 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

Agricultural Sci. J. 41(3/1)(Suppl.): 505-508 (2010) ว. วิทย์. กษ. 41(3/1)(พิเศษ): 505-508 (2553)<br />

ลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดข้าวปลูกและข้าววัชพืช<br />

Seed Physical and Physiological Characteristics of Cultivated and Weedy Rice<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน์1 สุวิทย์ เฑียรทอง 1 เนาวรัตน์ ประดับเพ็ชร์ 1 1<br />

และ สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์<br />

Sawatdikarn, S. 1 , Teanthong, S. 1 , Pradabpet, N. 1 and Samithiarporn, S. 1<br />

Abstract<br />

The objective of this study was to study on seed physical and physiological characteristics of cultivated and weedy rice.<br />

Samples of nine cultivated rice seed varieties namely Pathumthani 1, Suphunburi 1, Suphunburi 2 Suphunburi 3, Hom<br />

Suphunburi, Poung, Hom Thung, Pin Kaew and Khaw Malet Lek and three weedy rice seed types namely Ded, Dang and<br />

Hang types. Seed width, seed length, seed thickness, seed weight/100 seeds, hull weight, grain weight, seed germination,<br />

speed of germination index, shoot length, root length, seedling fresh weight and seedling dry weight were recorded. The<br />

results showed that the Poung variety gave the highest of seed width, seed thickness, hull weight and grain weight,<br />

whereas Pathumthani 1 variety reached the highest of seed length and seed weight/100 seeds. For weedy rice included<br />

Ded, Dang and Hang types, showed the lowest of three seed physical characteristics such as seed thickness, grain weight<br />

and seed weight/100 seeds. For seed physiological characteristics, the Pathumthani 1 and Suphunburi 1 varieties had the<br />

highest of seed germination at 97 and 99%, respectively and gave the highest of speed of germination index, shoot length<br />

and seedling dry weight. The Khaw Malet Lek and Poung variety gave the highest of root length. For the seed germination<br />

test of weedy rice, showed the seed germination of the Ded, Dang and Hang rice types at 23, 76 and 96%, respectively.<br />

The Ded rice type had seed dormancy and reached the lowest of shoot length, root length and seedling dry weight.<br />

Keywords: seed physical characteristics, seed physiological characteristics, cultivated rice, weedy rice<br />

บทคัดย่อ<br />

การทดลองนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูกและข้าววัชพืช โดยน า<br />

เมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูก 9 พันธุ ์ คือ พันธุ ์ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 3 หอมสุพรรณบุรี พวง หอมทุ ่ง ปิ่ นแก้ว<br />

และขาวเมล็ดเล็ก และเมล็ดพันธุ ์ข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ และ<br />

สรีรวิทยาของเมล็ด คือ ความกว้างเมล็ด ความยาวเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนัก 100 เมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด น ้าหนักของ<br />

เมล็ดข้าวสาร ความงอก ดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด ความยาวราก น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้า ผล<br />

การทดลองพบว่า พันธุ ์พวงมีความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดข้าวสารสูงสุด ส่วนพันธุ<br />

ปทุมธานี 1 มีความยาวเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ดสูงสุด ส าหรับข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง พบว่ามี<br />

ลักษณะทางภายภาพ 3 ด้าน คือ ความหนาเมล็ด น ้าหนักเมล็ดข้าวสาร และน ้าหนัก 100 เมล็ดต ่าสุด เมื่อพิจารณาลักษณะ<br />

ทางสรีรวิทยาของเมล็ด พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มีความงอกสูงสุด เท่ากับ 97 และ 99% ตามล าดับ<br />

นอกจากนี ้พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 ยังมีความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ ์ในด้านดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด<br />

และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าสูงสุด ส่วนคุณภาพของเมล็ดพันธุ ์ในด้านความยาวรากของต้นกล้า พบว่า พันธุ ์ขาวเมล็ดเล็กและ<br />

พันธุ ์พวงมีความยาวรากสูงสุด และเมื่อเพาะทดสอบความงอกของเมล็ดข้าววัชพืช 3 ชนิด พบว่า ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง<br />

มีความงอก เท่ากับ 23 76 และ 91% ตามล าดับ นอกจากนี ้ยังพบว่าข้าวดีดมีการพักตัวของเมล็ด และมีคุณภาพของต้นกล้าใน<br />

ด้านความยาวยอด ความยาวราก และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าต ่าสุด<br />

ค าส าคัญ: ลักษณะทางกายภาพของเมล็ด ลักษณะทางสรีรวิทยาของเมล็ด ข้าวปลูก ข้าววัชพืช<br />

ค าน า<br />

ข้าววัชพืช (weedy rice) เป็ นวัชพืชที่ส าคัญและส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น การปลูกถั่ว<br />

เหลือง (Nordin และคณะ, 1998; Askew และคณะ, 1998) และการปลูกข้าว (Shivrain และคณะ, 2006; Shivrain และคณะ,<br />

1<br />

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000<br />

1 Faculty of Science and Technology, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University, Phranakhon Si Ayutthaya province, 13000


์<br />

์<br />

์<br />

506 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

2009) โดยเฉพาะการปลูกข้าวที่ข้าววัชพืชท าความเสียหายอย่างรุนแรงในหลายพื ้นที่และแพร่กระจายไปทั่วโลก (Gealy และ<br />

คณะ, 2009) ข้าววัชพืชเป็ นข้าวที่เกิดจากการผสมระหว่างข้าวปลูกกับข้าวป่ า (สงกรานต์ และคณะ, 2538) และมีลักษณะทาง<br />

กายภาพบางลักษณะที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เปลือกเมล็ดมีสีด า เมล็ดข้าวสารมีสีแดง ปลายเมล็ดมีหางยาวและเมื่อสุกแก่เมล็ด<br />

จะร่วงก่อนเกี่ยวข้าว ส าหรับลักษณะเมล็ดข้าวสารมีสีแดงเป็ นลักษณะเด่นของข้าววัชพืชพวกข้าวแดง ส่วนปลายเมล็ดมีหาง<br />

ยาว เป็ นลักษณะเด่นของข้าวหาง เป็ นต้น ข้าววัชพืชมีการกระจายอยู ่ทั่วไปเนื่องจากมีข้าวป่ าขึ ้นปะปนในทุกแหล่งปลูกข้าว<br />

และบางลักษณะของข้าววัชพืชได้รับถ่ายทอดจากข้าวป่ า เช่น เปลือกเมล็ดมีสีด า และปลายเมล็ดมีหางยาว (สงกรานต์ และ<br />

คณะ, 2538) ข้าววัชพืชท าความเสียหายให้แก่ข้าวปลูกอยู ่ 2 ลักษณะ คือ การแข่งขันในสภาพแปลงปลูกโดยแย่งปัจจัยการ<br />

เจริญเติบโต เช่น น ้า แสง และพื ้นที่ และการปะปนของเมล็ดในระหว่างเก็บเกี่ยว ท าให้เมล็ดข้าวที่เก็บเกี่ยวได้มีคุณภาพไม่ได้<br />

มาตรฐาน เนื่องจากการปะปนของเมล็ดข้าววัชพืชที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างออกจากกันได้ระหว่างข้าวปลูกกับข้าววัชพืช<br />

(สุรพล และคณะ, 2549) การศึกษาเกี่ยวกับข้าววัชพืชทั ้งในต่างประเทศและในประเทศไทยด าเนินการอย่างกว้างขวาง ซึ่งเป็ น<br />

การวิจัยที่เกี่ยวกับผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของข้าว 2 ลักษณะ คือ จ านวนต้นและความสูงต้น (Shivrain และคณะ, 2006)<br />

และผลกระทบต่อผลผลิตของข้าว (ปัญญา และคณะ, 2549; Shivrain และคณะ, 2009) ข้าววัชพืชมีผลกระทบต่อคุณภาพของ<br />

เมล็ดพันธุ ์ข้าวที่ผลิตได้ใน 2 ลักษณะ คือ ความบริสุทธิ์ของสายพันธุ ์ และคุณภาพเมล็ดพันธุ ์ ปัญหาหลักที่พบในปัจจุบันคือ<br />

การที่ข้าววัชพืชมีลักษณะของเมล็ดเหมือนกับข้าวปลูกท าให้ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้ ท าให้เกษตรกรมีปัญหาในการคัด<br />

เมล็ดพันธุ ์ข้าวก่อนปลูก และเกิดการปะปนของข้าววัชพืชในเมล็ดพันธุ ์ข้าวก่อนท าการปลูกเป็ นจ านวนมาก การศึกษามี<br />

วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูกและข้าววัชพืช จ านวน 12 พันธุ ์ เพื่อเป็ น<br />

ประโยชน์ในการจ าแนกเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูกและข้าววัชพืชออกจากกัน<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

การทดลองนี ้ด าเนินการที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ระหว่างเดือนมกราคม<br />

ถึงพฤษภาคม 2553 น าเมล็ดพันธุ ์ข้าวปลูก 9 พันธุ ์ คือ พันธุ ์ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 3 หอม<br />

สุพรรณบุรี พวง หอมทุ ่งปิ่ นแก้ว และขาวเมล็ดเล็ก และเมล็ดพันธุ ์ข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง วิเคราะห์<br />

ลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ด ส าหรับลักษณะทางกายภาพของเมล็ด ท าโดยวัดความกว้าง ความยาว และ<br />

ความหนาของเมล็ด มีหน่วยเป็ น มม. ชั่งน ้าหนักเมล็ด จ านวน 100 เมล็ด มีหน่วยเป็ นกรัม แล้วน าเมล็ดจ านวน 100 เมล็ด แกะ<br />

เปลือกเมล็ดออก แบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนของเปลือกและเมล็ดข้าวสาร ท าการชั่งน ้าหนักของเปลือกและน ้าหนักของเมล็ด<br />

ข้าวสาร มีหน่วยเป็ นกรัม ส่วนลักษณะทางสรีรวิทยาของเมล็ด ทดสอบและประเมินผลความงอกมาตรฐานตามกฎของ ISTA<br />

(2003) ทุกวัน ในช่วง 4-7 วัน ค านวณความงอกมาตรฐานและดัชนีความเร็วในการงอก ส าหรับความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ<br />

ประเมินผลตามกฎการทดสอบของ AOSA (2002) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ได้ด้วยวิธี DMRT<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

จากการวัดลักษณะทางกายภาพของเมล็ด พบว่า พันธุ ์พวงเป็ นพันธุ ์ข้าวที่มีลักษณะทางกายภาพ จ านวน 4 ลักษณะสูงสุด คือ<br />

ความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดข้าวสารสูงสุด (Table 1) ในขณะที่พันธุ ์ปทุมธานี 1 มี<br />

ความยาวเมล็ดและน ้าหนักเมล็ดสูงสูด พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความยาวเมล็ดมากที่สุด ซึ่งเป็ นไปท านองเดียวกับการวัดขนาดของเมล็ด<br />

ข้าว พบว่า เมล็ดของข้าวพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความยาวมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับข้าวอีก 3 พันธุ ์ คือ ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และ<br />

สุพรรณบุรี 60 (Sawatdikarn, 2008) ส าหรับน ้าหนักเมล็ด พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.762 กรัม ซึ่งไม่<br />

แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 3 ที่มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.700 กรัม ให้ผลเช่นเดียวกับการชั่งน ้าหนักเมล็ดของข้าว 5 พันธุ<br />

พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 มีน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.76 กรัม ซึ่งมีน ้าหนักเมล็ดสูงสุด และไม่แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 3 ที่มี<br />

น ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 2.75 กรัม (Sawatdikarn, 2007) จากการวัดลักษณะทางกายภาพของเมล็ดทั ้ง 6 ลักษณะ พบว่า พันธุ<br />

พวงซึ่งเป็ นข้าวนาปี มีลักษณะทางภายภาพจ านวน 5 ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนัก 100 เมล็ด น ้าหนัก<br />

เปลือกเมล็ด และน ้าหนักของเมล็ดข้าวสารอยู ่ในระดับเดียวกับพันธุ ์ปทุมธานี 1 ซึ่งเป็ นพันธุ ์ข้าวที่นิยมปลูกกันมากที่สุดในเขตภาค<br />

กลาง และมีลักษณะทางกายภาพทั ้ง 6 ลักษณะสูงสุด ยกเว้นความยาวเมล็ดที่พันธุ ์พวงมีความยาวเมล็ด 0.790 มม. ในขณะที่<br />

พันธุ ์ปทุธานี 1 มีความยาวเมล็ด 0.127 มม. (Table 1) และเมื่อเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของข้าวปลูก 9 ชนิด กับข้าว<br />

วัชพืช 3 ชนิด พบว่า ข้าววัชพืชมีลักษณะทางกายภาพของเมล็ด จ านวน 4 ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความยาวเมล็ด ความ<br />

หนาเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดแตกต่างทางสถิติกับเมล็ดข้าวปลูก แต่มีลักษณะทางภายภาพอยู ่ 2 ลักษณะ คือ น ้าหนักเปลือกและ<br />

น ้าหนักเมล็ดข้าวสารที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) ส าหรับข้าวหางเป็ นข้าววัชพืชที่มีลักษณะทางกายภาพ จ านวน 3<br />

ลักษณะ คือ ความกว้างเมล็ด ความยาวเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ดต ่าสุด ในขณะที่ข้าวดีดมีความหนาของเมล็ดต ่าสุด ข้าว


์<br />

ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 507<br />

วัชพืชจากการทดลองในครั ้งนี ้มีความกว้างเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.122-0.127 มม. และมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.047-0.066 มม.<br />

ซึ่งน้อยกว่าการศึกษาของอัญชลี และคณะ (2550) ที่รายงานว่า เมล็ดข้าววัชพืชมีความกว้างเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.49-4.43 มม. และ<br />

มีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.7-2.62 มม. จากการวัดลักษณะทางสรีรวิทยาของเมล็ด พบว่า พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มี<br />

ความงอกสูงสุด เท่ากับร้อยละ 97 และ 99 ตามล าดับ ส่วนข้าวดีดมีความงอกต ่าสุด เท่ากับร้อยละ 23 (Table 2) จะเห็นได้ว่า<br />

เมล็ดข้าววัชพืชที่น ามาทดสอบในครั ้งนี ้มีการพักตัว โดยเฉพาะข้าวดีดและข้าวแดง เช่นเดียวกับเมล็ดข้าวแดงที่มีการพักตัวของ<br />

เมล็ดอยู ่ระหว่าง 7-9 สัปดาห์ (อัญชลี และอ่วม, 2547) นอกจากพันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มีความงอกสูงสุดแล้วยังมีดัชนี<br />

ความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าสูงสุด ส าหรับข้าววัชพืชทั ้ง 3 ชนิด พบว่า ข้าวดีดมีดัชนีความเร็วใน<br />

การงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าต ่าสุด ส าหรับความยาวรากของต้นกล้า พบว่า พันธุ ์ขาวเมล็ดเล็กและพันธุ ์พวง<br />

มีความยาวรากสูงสุด ส่วนข้าวดีดมีความยาวรากต ่าสุด (Table 2) จากการเพาะทดสอบความงอก พบว่า ข้าวปลูกทุกชนิดไม่มีการ<br />

พักตัวของเมล็ด ในขณะที่ข้าววัชพืช มีการพักตัว ท านองเดียวกับการทดสอบเมล็ดข้าววัชพืช พบว่า เมล็ดมักมีการพักตัวหลังการ<br />

เก็บเกี่ยว (Gianinetti และ Cohn, 2007; Gianinetti และ Cohn, 2008) จากการศึกษานี ้ พบว่า เมล็ดของข้าวดีดมีการพักตัว<br />

ค่อนข้างสูง ส่วนข้าวหาง พบว่า เมล็ดไม่มีการพักตัว ซึ่งเป็ นไปตามที่อัญชลี และคณะ (2550) รายงานว่า ข้าววัชพืชมีช่วงเวลาของ<br />

การพักตัวนานแตกต่างกันตั ้งแต่ 2-12 สัปดาห์ จากการทดลองนี ้พบว่า พันธุ ์ปทุมธานีและพันธุ ์สุพรรณบุรี 1 มีความงอกค่อนข้างสูง<br />

โดยมีความงอกมากกว่าร้อยละ 95 (Table 2) เช่นเดียวกับการเพาะทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ ์ข้าว 5 พันธุ ์ พบว่า พันธุ<br />

ปทุมธานี 1 มีความงอกร้อยละ 95 ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธุ ์สุพรรณบุรี 1 และสุพรรณบุรี 2 ที่มีความงอกร้อยละ 93 (Sawatdikarn,<br />

2007) เมื่อพิจารณาลักษณะทางกายภาพและสรีรวิทยาของเมล็ดระหว่างข้าวปลูกกับข้าววัชพืช พบว่า ลักษณะทางกายภาพที่<br />

สามารถแยกข้าวปลูกออกจากข้าววัชพืชได้อย่างชัดเจนมีอยู ่ 2 ลักษณะด้วยกัน คือ ความหนาเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ด โดย<br />

กลุ ่มข้าวปลูกมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.067-0.127 มม. ในขณะที่ข้าววัชพืชมีความหนาเมล็ดอยู ่ระหว่าง 0.047-0.066 มม.<br />

และกลุ ่มข้าวปลูกมีน ้าหนัก 100 เมล็ดอยู ่ระหว่าง 2.445-2.762 กรัม ในขณะที่ข้าววัชพืชมีน ้าหนักเมล็ดอยู ่ระหว่าง 1.722-2.230<br />

กรัม (Table 1) ส่วนลักษณะทางกายภาพอีก 2 ลักษณะ คือ น ้าหนักเปลือกและน ้าหนักเมล็ดข้าวสารไม่สามารถแยกข้าวปลูกออก<br />

จากข้าววัชพืชได้เนื่องจากมีลักษณะไม่แตกต่างกัน (Table 1) การใช้ลักษณะทางกายภาพทั ้งสองลักษณะ คือ ความหนาเมล็ด และ<br />

น ้าหนัก 100 เมล็ด สามารถแยกความแตกต่างของข้าวปลูกและข้าววัชพืชออกจากกันได้อย่างชัดเจน<br />

สรุปผล<br />

พันธุ ์พวงมีความกว้างเมล็ด ความหนาเมล็ด น ้าหนักเปลือกเมล็ด และน ้าหนักเมล็ดข้าวสารสูงสุด ส่วนพันธุ ์ปทุมธานี 1 มีความ<br />

ยาวเมล็ด และน ้าหนัก 100 เมล็ดสูงสุด ส าหรับข้าววัชพืช 3 ชนิด คือ ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง พบว่ามีลักษณะทางภายภาพ 3<br />

ด้าน คือ ความหนาเมล็ด น ้าหนักเมล็ดข้าวสาร และน ้าหนัก 100 เมล็ดต ่าสุด พันธุ ์ปทุมธานี 1 และสุพรรณบุรี 1 มีความงอกสูงสุด<br />

เท่ากับร้อยละ 97 และ 99 ตามล าดับ และยังมีดัชนีความเร็วในการงอก ความยาวยอด และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าสูงสุด และเมื่อ<br />

เพาะทดสอบความงอกของเมล็ดข้าววัชพืช 3 ชนิด พบว่า ข้าวดีด ข้าวแดง และข้าวหาง มีความงอก เท่ากับร้อยละ 23 76 และ 91<br />

ตามล าดับ นอกจากนี ้ยังพบว่าข้าวดีดมีการพักตัวของเมล็ดสูง และมีความยาวยอด ความยาวราก และน ้าหนักแห้งของต้นกล้าต ่าสุด<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ปัญญา ร่มเย็น กรรณิกา นากลาง และเอกสิทธิ์ สกุลคู, 2549, การแข่งขันระหว่างข้าวกับวัชพืชจากการใส่ปุ ๋ ยรองพื ้นระยะเวลาต่าง ๆ ในนาหว่าน<br />

ข้าวแห้ง, วารสารวิชาการเกษตร, 24: 67-82.<br />

สงกรานต์ จิตรากร ฉวีวรรณ วุฒิญาโณ และผกาวรรณ ภู ่สุวรรณ, 2538ก, การแพร่กระจายและความผันแปรลักษณะของข้าวป่ าในประเทศไทย,<br />

วารสารวิชาการเกษตร, 13: 125-135.<br />

สงกรานต์ จิตรากร ฉวีวรรณ วุฒิญาโณ ผกาวรรณ ภู ่สุวรรณ และกัมปนาท มุขดี, 2538ข, การบันทึกลักษณะและวิเคราะห์ลักษณะข้าวป่ าใน<br />

ประเทศไทย, วารสารวิชาการเกษตร ,13: 197-218.<br />

สุรพล จัตุพร อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ และอมรรัตน์ อินทร์มั่น, 2549, การจัดการข้าวแดงแบบผสมผสานในนาหว่านน ้าตม, วารสารวิชาการเกษตร, 24:<br />

83-96.<br />

อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ และอ่วม คงชู, 2547, การรอดชีวิตของเมล็ดพันธุ ์ข้าวและข้าวแดงบางชนิดในสภาพน ้าขัง, วารสารวิชาการเกษตร, 22: 188-204.<br />

อัญชลี ประเสริฐศักดิ์ อ่วม คงชู ศิริวรรณ ตั ้งวิสุทธิจิต สุรพล จัตุพร อมรรัตน์ อินทร์มั่น จิตรกร นวลแก้ว อรสา วงษ์เกษม ประทาย เคนเหลื่อม และ<br />

ปรัชญา จุฑามาตย์, 2550, การจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลลักษณะข้าววัชพืชที่มีเยื่อหุ ้มเมล็ดสีแดงในประเทศไทย, วารสารวิชาการเกษตร, 25:<br />

18-30.<br />

AOSA, 2002, Seed Vigor Testing Handbook, Association of Official Seed Analysts, 32: 20-73.<br />

Askew, S.D., Street, J.E. and. Shaw, D.R., 1998, Herbicide Programs for Red Rice (Oryza sativa) Control in Soybean. (Glycine max),<br />

Weed Technology, 12: 103-107.<br />

Gealy, D.R., Agrama, H.A., and Eizenga, G.C., 2009, Exploring Genetic and Spatial Structure of U. S. Weedy Red Rice (Oryza sativa)<br />

in Relation to Rice Relatives Worldwide, Weed Science, 57: 627-643.


508 506 ปี ที่ 41 ฉบับที่ 3/1 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2553 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

Gianinetti, A and Cohn, M.A., 2007, Seed Dormancy in Red Rice. XII: Population-based Analysis of Dry-afterripening with a Hydrotime<br />

Model, Seed Science Research, 17: 253-271.<br />

Gianinetti, A and Cohn, M.A, 2008, Seed Dormancy in Red Rice. XIII: Interaction of Dry-afterripening and Hydration Temperature,<br />

Seed Science Research, 18: 151-159.<br />

ISTA., 2003, ISTA Handbook on Seedling Evaluation, 3 rd Edition. International Rules for Seed Testing.<br />

Nordin, J.A., Chandler, J.M., McCauley, G.N. and Sij, J.W., 1998, Red Rice (Oryza sativa) and Echinochloa spp. Contro; in Taxas Gulf<br />

Coast Soybean (Glycine max), Weed Technology. 12: 677-683.<br />

Sawatdikarn, S., 2007, Growth and Seed Quality of Five Rice Varieties. In 33 rd Proceeding Congress on Science and Technology of<br />

Thailand, 1-5.<br />

Sawatdikarn, S., 2008, Development Stage and Yield Components of Five Rice Varieties, In 34 th Proceeding Congress on Science<br />

and Technology of Thailand, p 1-6.<br />

Shivrain, V.K., Burgos, N.R., Moldenhauer, K.A.K., Mcnew, R.W. and Baldwin, T.L., 2006, Characterization of Spontaneous Crosses<br />

between Clearfield Rice (Oryza sativa) and Red Rice (Oryza sativa), Weed Technology, 20: 576-584.<br />

Shivrain, V.K., Burgos, N.R., Gealy, D.R., Smith, K.L., Scott, R.C., Mauromoustakos, A. and Black, H., 2009, Red rice (Oryza sativa)<br />

Emergence Characteristics and Influence on Rice Yield at Different Planting Dates, Weed Science, 57: 94-102.<br />

Table 1 Seed width, seed length, seed thickness, seed weight/100 seeds, hull weight and grain weight of some<br />

cultivated and weedy rice.<br />

Rice varieties Seed width Seed length Seed thickness Seed weight/100 Hull weight<br />

(mm) (mm)<br />

(mm)<br />

seeds (g)<br />

(g)<br />

Pathumthani 1 0.152a 1.000a 0.127a 2.762a 0.070ab 0.215ab<br />

Suphunburi 1 0.130bc 0.902b 0.077abc 2.700ab 0.070ab 0.230ab<br />

Suphunburi 2 0.107f 0.865bc 0.067bc 2.445d 0.035c 0.195b<br />

Suphunburi 3 0.115cdef 0.890bc 0.105ab 2.700ab 0.047abc 0.202ab<br />

Hom Suphunburi 0.112cef 0.995a 0.127a 2.702ab 0.055abc 0.210ab<br />

Poung 0.160a 0.790ef 0.095abc 2.672ab 0.075a 0.257a<br />

Hom Thung 0.130bcd 0.870bc 0.107ab 2.547bcd 0.067ab 0.227ab<br />

Pin Kaew 0.135b 0.815de 0.072abc 2.650abc 0.060abc 0.250a<br />

Khaw Malet Lek 0.152a 0.760f 0.080abc 2.515cd 0.045bc 0.210ab<br />

Ded 0.127bcde 0.852bcd 0.047c 1.722f 0.050abc 0.175b<br />

Dang 0.135b 0.850bcd 0.057bc 2.230e 0.060abc 0.225ab<br />

Hang 0.122bcdef 0.780ef 0.066bc 2.152f 0.067ab 0.185b<br />

C.V. (%) 8.35 3.49 10.89 4.05 9.06 16.34<br />

In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT<br />

Grain weight<br />

(g)<br />

Table 2 Seed germination, speed of germination index, shoot length, root length, seedling fresh weight and<br />

seedling dry weight of some cultivated and weedy rice.<br />

Rice varieties Seed<br />

Speed of Shoot length Root length Seedling fresh Seedling<br />

germination<br />

(%)<br />

germination<br />

index<br />

(cm)<br />

(cm)<br />

weight<br />

(g)<br />

weight<br />

(g)<br />

Pathumthani 1 97.00a 16.25a 4.29ab 4.45ef 0.90a 0.17a<br />

Suphunburi 1 99.00a 15.96ab 4.62a 3.91ef 0.88a 0.16a<br />

Suphunburi 2 83.50cd 13.41cde 4.25ab 6.06b 0.65ab 0.10cde<br />

Suphunburi 3 85.00bcd 14.09bcd 4.28ab 4.64def 0.65ab 0.12bcde<br />

Hom Suphunburi 77.50d 11.99e 3.17cd 4.62def 0.53b 0.09e<br />

Poung 93.00abc 15.22abc 3.80bc 7.00a 0.86a 0.13bc<br />

Hom Thung 94.50ab 15.46abc 2.96d 5.54bcd 0.67ab 0.10cde<br />

Pin Kaew 91.00abc 15.07abc 2.98d 5.80bc 0.61ab 0.10de<br />

Khaw Malet Lek 92.50abc 14.75abc 3.96ab 7.24a 0.74ab 0.13bc<br />

Ded 23.00e 4.41f 2.70d 3.67ef 0.18c 0.04f<br />

Dang 76.00d 12.24de 3.70bc 4.87cde 0.72ab 0.12bcd<br />

Hang 91.00abc 14.55abc 3.68bc 4.72def 0.66ab 0.13bcd<br />

C.V. (%) 7.02 9.23 12.11 12.50 8.29 10.84<br />

In the same column, mean followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT<br />

dry

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!