freeze oven dry Chemical Compostion of Cashew Apple ... - CRDC

freeze oven dry Chemical Compostion of Cashew Apple ... - CRDC freeze oven dry Chemical Compostion of Cashew Apple ... - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

246 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร 1993b), antimicrobial (Kubo และคณะ, 1993a) antimutagenic (Melo-Cavalcante และคณะ, 2008), prebiotic effect (Vergaraและคณะ, 2010) และ probiotic (Pereira และคณะ, 2011) ดังนั นงานวิจัยนี จึงมุ ่งเน้นศึกษาสารสําคัญของ CAP ทีผ่านกระบวนการทําแห้งด้วยเทคนิค freeze dry และ oven dry เพือเป็ นข้อมูลส่งเสริมนํา CA มาแปรรูปเป็ น CAP เพือใช้ เป็ นสารเสริมสุขภาพสําหรับเป็ นทางเลือกหนึงของผลิตภัณฑ์เพือสุขภาพต่อผู ้บริโภคและยังเป็ นแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์เพือเพิมมูลค่าของเหลือทิ งทางการเกษตรจาก CA อุปกรณ์และวิธีการ การทํา CAP ด้วยเทคนิค freeze dry (-40°C)และ oven dry(60°C) โดยนําCA (เนื อ+เปลือก) หันเป็ นชิ นสีเหลียม เล็ก ๆ แล้วเข้าเครือง freeze dry เป็ นเวลา 24 ชัวโมง และ oven dry เป็ นเวลา 36 ชัวโมง แล้วนํามาบดให้เป็ นผง จากนั น นํา CAP มาวิเคราะห์ %yield, วิเคราะห์สารฟี นอลิค (total phenolic) โดยวิธี Folin-Ciocalteau (ดัดแปลงจาก Singleton และคณะ, 1999) ความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ โดวิธี 2,2’-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) (ดัดแปลง จาก (Blois, 1985) (antioxidant capacity) วิตามินซี (ดัดแปลงจาก AOAC, 1995) ใช้วิธีการไตเตรตกับ2,6- dichlorophenolindophenolและ %moisture วิเคราะห์ด้วยเครือง Moisture analyzer ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง CAP ทีได้จากเทคนิคการทําแห้ง freeze dry และ oven dry ให้ %yield ไม่แตกต่างกัน (14-15%) แต่เทคนิคการ ทําแห้งด้วย freeze dry ทําให้ CAP มีความชื นสูง (6.85%) กว่าการใช้ oven dry ซึงมีค่าความชื นไม่แตกต่างจากงานวิจัย ของ Costa และคณะ (2008) ทีรายงานว่าเทคนิคการทําแห้งแบบ vacuum dry ทําให้ CAP มีความชื นเท่ากับ 6.52±0.11% ในการทดลองนี CAP จากเทคนิคการทําแห้ง freeze dry มีปริมาณสารฟี นอลิควิตามินซี %inhibition DPPH และ antioxidant capacity สูงกว่า CAP จากเทคนิค oven dry โดยมีค่าเท่ากับ 1696.00 mg GAEs/ 100 g DW,263.09 mg AA/ 100 g DW, 93.72% และ1037.32 µmol TEs/ g DW ตามลําดับ (Figure1) การทีเทคนิคการทําแห้งแบบ freeze dry มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทคนิค oven dry เป็ นผลมาจากการทําแห้งด้วยเทคนิค freeze dry เป็ นการกําจัดนํ าออกจาก CA ในสภาวะอุณหภูมิตํากว่าเทคนิค oven dry จึงทําให้ CAP ยังคงมีปริมาณสารสําคัญมากกว่าหรือสูญเสียน้อยกว่า CAP ทีได้จากเทคนิค oven dry และเมือเปรียบเทียบกับรายงานวิจัยของ Contreras-Calderón และคณะ (2010) ทีระบุว่า CA มีปริมาณสารฟี นอลิค วิตามินซี และantioxidant capacity สูงเท่ากับ 445 ± 15.2 mg GAEs/ 100 g FW (1582.22 ± 54.04 mg GAEs/ 100 g DW), 228 ± 1.68 mg AA/ 100 g FW (810.67 ± 5.97 mg AA/ 100 g DW)และ 115 ± 15.2 ABTS µmol TEs/ g FW (408.89±54.04ABTS µmol TEs/ g DW) ตามลําดับ แสดงให้เห็นว่า CAP ทีผ่านกระบวนการทํา แห้งด้วยเทคนิค freeze dry มีปริมาณสารฟี นอลิคไม่แตกต่างกันส่วนวิตามินซีพบว่ามีปริมาณน้อยกว่า CA ทีไม่ผ่าน กระบวนการทําแห้งแต่กลับพบว่า antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า CA ทีไม่ผ่านกระบวนทําแห้งทั งๆ ทีปริมาณวิตามินซี ลดลงเนืองมาจากงานวิจัยนี ในระหว่างการทําแห้งไม่ได้ทําการปลอกเปลือกออกจาก CAซึงมีความเป็ นไปได้ทีในส่วนของ เปลือกอาจมีสารสําคัญชนิดอืน เช่น carotenoids และanthocyanidins ซึงมีความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ (Watanabe และคณะ, 2002; Azevedo และคณะ, 2010)จึงเป็ นผลให้ antioxidant capacity ในงานวิจัยนี มีค่าสูงกว่า งานวิจัยของ Contreras-Calderón และคณะ (2010) สรุปผล การทําแห้งด้วยเทคนิค oven dry ทีอุณหภูมิ 60 °C มีอิทธิผลต่อปริมาณสาระสําคัญใน CA โดยเฉพาะอย่างยิง ปริมาณวิตามินซีทีลดลง 12.3 เท่า ปริมาณสารฟี นอลิคลดลง 1.5 เท่า และ antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า 1.8 เท่าของ CAทีไม่ผ่านกระบวนการทําแห้งในขณะทีการทําแห้งด้วยเทคนิค freeze dry ในสภาวะอุณหภูมิตําที-40°C สามารถรักษา ปริมาณสารสําคัญไว้ได้ดีกว่าการใช้อุณหภูมิที 60°C ซึงทําให้ปริมาณวิตามินซีลดลง 3 เท่า ปริมาณสารฟี นอลิคไม่แตกต่าง กัน และ antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า 2.54 เท่าของ CAทีไม่ผ่านกระบวนการทําแห้งจากผลการทดลองสรุปว่าการทํา แห้งของ CAP ด้วยเทคนิค freeze dry มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทคนิค oven dry

ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 247 คําขอบคุณ งานวิจัยนี ได้รับการสนับสนุนจากโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา และการพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เอกสารอ้างอิง AOAC Association of official analytical chemists, 1995, Vitamin C (Ascorbic Acid) in Vitamin Preparations and Juices. 2,6-Dichloroindophenol Titrimetric Method, In AOAC Official Methods of Analysis, 2: 1058 -1059. Azevedo, J., Fernandes, I., Faria, A., Oliveira, J., Fernandes, A., Freitas, V. d. and Mateus, N., 2010, Antioxidant Properties of Anthocyanidins, Anthocyanidin-3-glucosides and Respective Portisins, Food Chemistry, 119: 518-523. Blois, M.S., 1985, Antioxidant Determination by Use of Stable Free Radicals, Nature, 29: 1199-1200. Contreras-Calderón, J., Calderón-Jaimes, L., Guerra-Hernandez, E. and García-Villanova, B., 2010, Antioxidant Capacity, Phenolic Content and Vitamin C in Pulp, Peel and Seed from 24 Exotic Fruits from Colombia, Food Research International, 44: 2047-2053. Costa, J.M.C.D.A., Felipe, É.M.D.E.F., Maia, G.A., Hernandez, F.F.F. and Brasil, I.M., 2009, Production and Characterization of the Cashew Apple (Anacardiumoccidentale L.) and Guava (PsidiumGuajavaL.) Fruit Powders, Journal of Food Processing and Preservation, 33: 299-312. Ha, T.J. and Kubo, I., 2005, Lipoxygenase Inhibitory Activity of Anacardic Acids, Journal of Agricultural and Food Chemistry, 53: 4350-4354. Kubo, A., Kubo, I. and Muroi, H., 1993a, Antimicrobial Activity of Cashew Apple Flavor Compounds, Journal of Agricultural and Food Chemistry, 41: 1108-1109. Kubo, I., Ochi, M., Vieira, P.C. and Komatsu, S., 1993b, Antitumor Agents from the Cashew (Anacardiumoccidentale) Apple Juice, Journal of Agricultural and Food Chemistry, 41: 1012-1015. Masuoka, N., Kubo, I., 2004, Characterization of Xanthine Oxidase Inhibition by AnacardicAcids, Biochimicaet Biophysica Acta, 1668: 245– 249. Melo-Cavalcante, A.A., Picada, J.N., Rubensama, G., and Henriques, J.A.P., 2008, Antimutagenic Activity of Cashew Apple (Anacardium occidentale Sapindales, Anacardiaceae) Fresh Juice and Processed Juice (Cajuína) Against Methyl Methanesulfonate, 4-Nitroquinoline N-oxide and Benzo[a]pyrene, Genetics and Molecular Biology, 31(3): 759-766. Morton, J.,Cashew apple, 1995, [Online], Available: http://www.hort.purdue.edu/newcrop/morton/cashew_apple.html [June 25, 2011]. Pereira, A.L.c.F., Maciel, T.C. and Rodrigues, S., 2010, Probiotic Beverage from Cashew Apple Juice Fermented with Lactobacillus casei, Food Research International, 44: 1276-1283. Singleton, V.L., Orthofer, R. and Lamuela-Raventos, R.M., 1999, Analysis of Total Phenol and Other Oxidation Substrates and Antioxidants by Means of Folin–Ciocalteau Reagent, Methods in Enzymology, 299: 152- 178. Toyomizu, M., Sugiyama, S., Jin, R.L. and Nakatsu, T., 1993, α-Glucosidase and Aldose Reductase Inhibitors, Constituents of Cashew, Anacardiumoccidentale, Nut Shell Liquids, Phytotherapy Research, 7: 252-254. Vergara, C.M.d.A.j.C., Honorato, T.L., Maia, G.A. and Rodrigues, S., 2010, Prebiotic Effect of Fermented Cashew Apple (Anacardiumoccidentale L) Juice, LWT-Food Science and Technology, 43: 141-145. USDA National Nutrient Database for Standard Reference, 2010, Nuts, Cashew Nuts, Raw, [online], Available: http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/cgi-bin/list_nut_edit.pl [June 25, 2011]. Watanabe, M., Musumi, K. and Ayugase, J., 2002, Carotenoid Pigment Composition, Polyphenol Content, and Antioxidant Activities of Extracts from Orange-colored Chinese Cabbage, LWT - Food Science and Technology, 44: 1971-1975.

246 6 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

1993b), antimicrobial (Kubo และคณะ, 1993a) antimutagenic (Melo-Cavalcante และคณะ, 2008), prebiotic effect<br />

(Vergaraและคณะ, 2010) และ probiotic (Pereira และคณะ, 2011) ดังนั นงานวิจัยนี จึงมุ ่งเน้นศึกษาสารสําคัญของ CAP<br />

ทีผ่านกระบวนการทําแห้งด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> และ <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> เพือเป็ นข้อมูลส่งเสริมนํา CA มาแปรรูปเป็ น CAP เพือใช้<br />

เป็ นสารเสริมสุขภาพสําหรับเป็ นทางเลือกหนึงของผลิตภัณฑ์เพือสุขภาพต่อผู ้บริโภคและยังเป็ นแนวทางในการพัฒนา<br />

ผลิตภัณฑ์เพือเพิมมูลค่าของเหลือทิ งทางการเกษตรจาก CA<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

การทํา CAP ด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> (-40°C)และ <strong>oven</strong> <strong>dry</strong>(60°C) โดยนําCA (เนื อ+เปลือก) หันเป็ นชิ นสีเหลียม<br />

เล็ก ๆ แล้วเข้าเครือง <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> เป็ นเวลา 24 ชัวโมง และ <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> เป็ นเวลา 36 ชัวโมง แล้วนํามาบดให้เป็ นผง จากนั น<br />

นํา CAP มาวิเคราะห์ %yield, วิเคราะห์สารฟี นอลิค (total phenolic) โดยวิธี Folin-Ciocalteau (ดัดแปลงจาก Singleton<br />

และคณะ, 1999) ความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ โดวิธี 2,2’-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) (ดัดแปลง<br />

จาก (Blois, 1985) (antioxidant capacity) วิตามินซี (ดัดแปลงจาก AOAC, 1995) ใช้วิธีการไตเตรตกับ2,6-<br />

dichlorophenolindophenolและ %moisture วิเคราะห์ด้วยเครือง Moisture analyzer<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

CAP ทีได้จากเทคนิคการทําแห้ง <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> และ <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> ให้ %yield ไม่แตกต่างกัน (14-15%) แต่เทคนิคการ<br />

ทําแห้งด้วย <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> ทําให้ CAP มีความชื นสูง (6.85%) กว่าการใช้ <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> ซึงมีค่าความชื นไม่แตกต่างจากงานวิจัย<br />

ของ Costa และคณะ (2008) ทีรายงานว่าเทคนิคการทําแห้งแบบ vacuum <strong>dry</strong> ทําให้ CAP มีความชื นเท่ากับ<br />

6.52±0.11% ในการทดลองนี CAP จากเทคนิคการทําแห้ง <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> มีปริมาณสารฟี นอลิควิตามินซี %inhibition DPPH<br />

และ antioxidant capacity สูงกว่า CAP จากเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> โดยมีค่าเท่ากับ 1696.00 mg GAEs/ 100 g DW,263.09<br />

mg AA/ 100 g DW, 93.72% และ1037.32 µmol TEs/ g DW ตามลําดับ (Figure1) การทีเทคนิคการทําแห้งแบบ <strong>freeze</strong><br />

<strong>dry</strong> มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> เป็ นผลมาจากการทําแห้งด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> เป็ นการกําจัดนํ าออกจาก<br />

CA ในสภาวะอุณหภูมิตํากว่าเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> จึงทําให้ CAP ยังคงมีปริมาณสารสําคัญมากกว่าหรือสูญเสียน้อยกว่า<br />

CAP ทีได้จากเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> และเมือเปรียบเทียบกับรายงานวิจัยของ Contreras-Calderón และคณะ (2010) ทีระบุว่า<br />

CA มีปริมาณสารฟี นอลิค วิตามินซี และantioxidant capacity สูงเท่ากับ 445 ± 15.2 mg GAEs/ 100 g FW (1582.22 ±<br />

54.04 mg GAEs/ 100 g DW), 228 ± 1.68 mg AA/ 100 g FW (810.67 ± 5.97 mg AA/ 100 g DW)และ 115 ± 15.2<br />

ABTS µmol TEs/ g FW (408.89±54.04ABTS µmol TEs/ g DW) ตามลําดับ แสดงให้เห็นว่า CAP ทีผ่านกระบวนการทํา<br />

แห้งด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> มีปริมาณสารฟี นอลิคไม่แตกต่างกันส่วนวิตามินซีพบว่ามีปริมาณน้อยกว่า CA ทีไม่ผ่าน<br />

กระบวนการทําแห้งแต่กลับพบว่า antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า CA ทีไม่ผ่านกระบวนทําแห้งทั งๆ ทีปริมาณวิตามินซี<br />

ลดลงเนืองมาจากงานวิจัยนี ในระหว่างการทําแห้งไม่ได้ทําการปลอกเปลือกออกจาก CAซึงมีความเป็ นไปได้ทีในส่วนของ<br />

เปลือกอาจมีสารสําคัญชนิดอืน เช่น carotenoids และanthocyanidins ซึงมีความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ<br />

(Watanabe และคณะ, 2002; Azevedo และคณะ, 2010)จึงเป็ นผลให้ antioxidant capacity ในงานวิจัยนี มีค่าสูงกว่า<br />

งานวิจัยของ Contreras-Calderón และคณะ (2010)<br />

สรุปผล<br />

การทําแห้งด้วยเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong> ทีอุณหภูมิ 60 °C มีอิทธิผลต่อปริมาณสาระสําคัญใน CA โดยเฉพาะอย่างยิง<br />

ปริมาณวิตามินซีทีลดลง 12.3 เท่า ปริมาณสารฟี นอลิคลดลง 1.5 เท่า และ antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า 1.8 เท่าของ<br />

CAทีไม่ผ่านกระบวนการทําแห้งในขณะทีการทําแห้งด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> ในสภาวะอุณหภูมิตําที-40°C สามารถรักษา<br />

ปริมาณสารสําคัญไว้ได้ดีกว่าการใช้อุณหภูมิที 60°C ซึงทําให้ปริมาณวิตามินซีลดลง 3 เท่า ปริมาณสารฟี นอลิคไม่แตกต่าง<br />

กัน และ antioxidant capacity มีค่าสูงกว่า 2.54 เท่าของ CAทีไม่ผ่านกระบวนการทําแห้งจากผลการทดลองสรุปว่าการทํา<br />

แห้งของ CAP ด้วยเทคนิค <strong>freeze</strong> <strong>dry</strong> มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทคนิค <strong>oven</strong> <strong>dry</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!