22.01.2015 Views

Thermocouple Inhomogeneity Introduction - สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

Thermocouple Inhomogeneity Introduction - สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

Thermocouple Inhomogeneity Introduction - สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>Introduction</strong><br />

เอกสารทางมาตรวิทยาเรื่อง<br />

<strong>Thermocouple</strong> <strong>Inhomogeneity</strong><br />

โดย ฝายมาตรวิทยาอุณหภูมิ<br />

สําหรับวงการมาตรวิทยาอุณหภูมิในสาขาเทอรโมคับเปลของประเทศไทย <strong>Thermocouple</strong> <strong>Inhomogeneity</strong> นับวาเปนเรื่องที่<br />

ใหมและยังสรางความสับสนอยูมาก ที่จริงแลวในพฤติกรรมนี้เปนสมบัติพื้นฐานของเทอรโมคับเปลที่สําคัญ และยอมรับวามีอยูจริงมา<br />

นานในมาตรวิทยาระดับสากล เพื่อสรางความเขาใจใหตรงกันถึงลักษณะพฤติกรรม <strong>Thermocouple</strong> <strong>Inhomogeneity</strong> ในแนวทางการใช<br />

งานและการสอบเทียบเทอรโมคับเปล ฝายมาตรวิทยาอุณหภูมิ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ จึงไดจัดทําเอกสารฉบับนี้ขึ้น<br />

เปนที่ทราบกันดีวา เทอรโมคับเปล เปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ให out put เปนแรงเคลื่อนไฟฟา (electro motive force, emf)<br />

เทอรโมคับเปลแตละชนิดประกอบดวย วัสดุตัวนําความรอน(thermo element) 2 ชนิดนําปลายมาเชื่อมตอกัน เรียกบริเวณเชื่อมตอที่ใชวัด<br />

อุณหภูมิวา รอยตอวัดหรือรอยตอรอน(Measuring/Hot junction) ปลายสายอีกดานหนึ่งของเทอรโมคับเปลจะเรียกวารอยตออางอิงหรือ<br />

รอยตอเย็น (Reference/Cold junction) ปกติแลวปลายสายรอยตอเย็นจะถูกแชไวที่อุณหภูมิอางอิง วิธีที่งายที่สุดและยอมรับวาถูกตองดี<br />

คือ การจุมรอยตอเย็น ณ อุณหภูมิคงที่ 0 o C ของน้ําแข็งขณะกําลังละลาย (Ice Point) กอนตอเขาสูเครื่องมือวัด สามารถใชอุปกรณทํา<br />

อุณหภูมิอางอิงทั้งแบบอิเล็กทรอนิกสและวงจรชดเชยทางไฟฟามาทําเปนรอยตอเย็น สะดวกตอการใชงานและการประยุกต จึงเปนที่นิยม<br />

ในปจจุบัน<br />

V<br />

<strong>Thermocouple</strong><br />

Voltage, emf<br />

Metal A, S A<br />

Metal B, S B<br />

Reference junction/<br />

Cold junction<br />

Measuring junction/<br />

Hot junction<br />

รูปที่ 1 วงจรเทอรโมคับเปลพื้นฐาน<br />

1


1. <strong>Thermocouple</strong> Output<br />

1<br />

2<br />

3<br />

กลไกที่ใชอธิบายการเกิด out put ของเทอรโมคับเปล นั้น เรียกวา<br />

Seebeck effect กลไกนี้สามารถเขาใจไดงายโดยเปรียบเทียบกับ<br />

ลักษณะการไหลของน้ําในทอจากที่สูงลงที่ต่ํา ซึ่งการเปลี่ยนแปลง<br />

ความดันของเหลวในบริเวณทอแนวระนาบ (1,3) จะมีคานอยกวาใน<br />

บริเวณทอที่มีความสูงแตกตางกัน(2)<br />

รูปที่ 2 Analogy of the Seebeck effect.<br />

ทํานองเดียวกันกับอิเล็กตรอนอิสระที่เกิดขึ้นเมื่อเทอรโมคับเปลรอยตอวัดและรอยตออางอิงอยูในอุณหภูมิแตกตางกัน อิเล็กตรอนใน<br />

เทอรโมคับเปลเมื่อไดรับความรอนจะถูกกระตุนใหเคลื่อนที่ไปสูบริเวณที่เย็นกวา ซึ่งอิเล็กตรอนนี้จะเคลื่อนที่มากสุด ใหแรงเคลื่อนไฟฟา<br />

สูงสุด ในบริเวณอุณหภูมิที่มีความแตกตาง(Temperature gradient) มาก แสดงไดดังสมการ<br />

dT<br />

E = S<br />

(1)<br />

dx<br />

E คือ out put แรงเคลื่อนไฟฟาของเทอรโมคับเปล<br />

dT dT คือ เกิดอุณหภูมิที่แตกตาง (temperature gradient, ) คิดในแตละบริเวณของสาย/probe ยาว dx<br />

dx<br />

dx<br />

S คือ คา Seebeck coefficient ของวัสดุ ที่มาใชทําเปนเทอรโมคับเปล มักมีหนวยเปน μ V<br />

ดังนั้น อาจกลาวไดวา คา Seebeck coefficient คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อนไฟฟาตอหนึ่งหนวยอุณหภูมิ หรือ แรงเคลื่อนไฟ<br />

ฟาที่เปลี่ยนแปลงของวัสดุ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส นั่นเอง คา Seebeck coefficient มีคาแตกตางกันขึ้นกับชนิดของเทอร<br />

โมคับเปลและชวงอุณหภูมิที่ใชงาน เปนตัวแปรสําคัญในการกําหนดคุณลักษณะรวมถึงคุณภาพของเทอรโมคับเปล และเมื่อเกิดการ drift<br />

สงผลอยางมากกับการเกิด <strong>Inhomogeneity</strong><br />

K<br />

2


Furnace<br />

รูปที่ 3 แสดงการกระจายของ อุณหภูมิ(T)ของเตาสอบเทียบที่เทอรโมคับเปลไดรับ และลักษณะของ emf (E) โดยเสนประแสดง<br />

บริเวณที่มีอุณหภูมิที่แตกตาง (temperature gradient) ซึ่งมีคามากที่สุด(บริเวณปากเตา) และไดวา เทอรโมคับเปล ใหคา E มาก<br />

สุดในบริเวณนี้ สวนบริเวณที่มีอุณหภูมิตางกันนอย คือ เทอรโมคับเปลที่วางอยูภายในและภายนอกเตา คา E ที่ไดจะนอย<br />

2. <strong>Thermocouple</strong> sensor<br />

เซนเซอรรับอุณหภูมิของเทอรโมคับเปล แตกตางจากอุปกรณวัดอุณหภูมิประเภทเทอรโมมิเตอรความตานทานซึ่งจะมีขนาด<br />

เซนเซอรจํากัด(ประมาณ 5 cm.) แตขนาดเซนเซอรของเทอรโมคับเปลคือตลอดความยาวของเทอรโมคับเปล ตั้งแตรอยตอวัด ถึงรอยตอ<br />

วัดถึงรอยตออางอิง ดังนั้นลักษณะการวัดอุณหภูมิเปนแบบ average temperature ไมใช point temperature แบบ เทอรโมมิเตอรความตาน<br />

ทาน<br />

<strong>Thermocouple</strong> Temperature Sensor<br />

PRT Temperature sensor<br />

รูปที่ 4 แสดงบริเวณเซนเซอรของ PRT และ เทอรโมคับเปล<br />

3. Drift of Seebeck Coefficient<br />

นอกจากคาแรงเคลื่อนไฟฟาของเทอรโมคับเปลที่เกิดจะขึ้นกับอุณหภูมิแลว เมื่อคา Seebeck coefficient ที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

จะสงผลกระทบกับ Out put ของเทอรโมคับเปลที่เปลี่ยนแปลงไปดวย<br />

3


คา Seebeck coefficient หรือที่กลาวมาแลววาเปนอัตราการเปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อนไฟฟาตอหนึ่งหนวยอุณหภูมิ เปนสมบัติ<br />

ภายในของเนื้อสายเทอรโมคับเปลแตละชนิด คา Seebeck coefficient ใชบอกความสมบูรณเปนเนื้อเดียวกัน (homogeneous) ในแตละ<br />

สวนของเนื้อความยาวตลอดระยะของเสนวัสดุที่นํามาใชทําเปนเทอรโมคับเปล เมื่อ Seebeck coefficient เลื่อนคา(Drift)ไปจากเดิมทํา<br />

ใหเกิด <strong>Inhomogeneity</strong> ในสายเทอรโมคับเปลได การเลื่อนคาเกิดขึ้น เมื่อมีการรบกวนสมบัติทางเคมีหรือทางกายภาพ ดังตอไปนี้<br />

1. การรวบกวนโดยความรอนเมื่อใชงาน : สายเทอรโมคับเปล บริเวณที่ไดรับความรอน แมใชงานวัดอุณหภูมิเพียงเพียงครั้ง<br />

แรก โมเลกุลภายในจะเกิดการปรับเปลี่ยนรูปหรือเกิดรอยบกพรอง (defect signature) และคา Seebeck coefficient ก็จะ<br />

เปลี่ยนแปลง(Drift) ไปจากเดิมอยางถาวร โดยเทอรโมคับเปลแบบโลหะพื้นฐาน(Type E K J N T )ที่วัสดุเปน alloy<br />

ของโลหะ Ni หรือ Cu จะเกิดการ drift(ที่อุณหภูมิสูงกวา 250 o C) สูงกวาเทอรโมคับเปลแบบโลหะพิเศษ(Type S B R ) ที่<br />

มี Platinum เปนสวนประกอบ<br />

2. ความรอนที่ไมสม่ําเสมอของเตา : รอยบกพรอง (defect signature) ในเนื้อโมเลกุล ที่เกิดมากนอยตามความสม่ําเสมอของ<br />

อุณหภูมิภายในเตา ถึงแมเลือกใชงานในระยะจุมเดียวกัน แตแหลงอุณหภูมิตางชนิดกันหรือใหอุณหภูมิในรูปแบบที่ตางกัน<br />

(difference temperature profile) คา Seebeck coefficient ของเทอรโมคับเปลจะไมเทาเดิม ทําให output ที่วัดไดไมเทากัน<br />

3. การเปลี่ยนแปลงระยะจุม : ในที่นี้ตางจากกรณี Immersion error หรือ Heat conduction error ตามที่คุนเคยกันใน<br />

เทอรโมมิเตอรชนิดอื่น ที่กําจัดไดหากใชระยะจุมเพียงพอ( เชน 15 เทาของ Diameter) สําหรับเทอรโมคับเปลแมระยะจุม<br />

จะเพียงพอแลวก็ตาม การเปลี่ยนแปลงระยะจุม เหมือนการให Temperature gradient กับสายเทอรโมคับเปลตางบริเวณไป<br />

จากเดิม ซึ่งบริเวณนั้นมีคา Seebeck coefficient ไมเทาเดิม ทําให output emf ที่วัดไดตางไปจากเดิม คาความผิดพลาดอัน<br />

เนื่องมาจากกรณีนี้จะควบคุมได หากมีการควบคุมระยะที่จุมใหคงที่เสมอ<br />

นอกจากนี้ การปนเปอนทางเคมี และการรบกวนทางกายภาพอื่นๆ เชน การบิด หักงอของสาย ก็ทําใหเกิด <strong>Thermocouple</strong><br />

<strong>Inhomogeneity</strong> ขึ้นเชนกัน<br />

5.1 การรวบกวนโดยความรอนเมื่อใชงาน(fix position) 5.2 การเปลี่ยนแปลงระยะจุม (Change immersion)<br />

รูปที่ 5 <strong>Inhomogeneity</strong> of TC emf distribution (E) and Seebeck coefficient (S) along wire length(x) at temperature profile T.<br />

4


SPRT<br />

Oil Bath<br />

- การทดสอบหาคา <strong>Inhomogeneity</strong><br />

Test TC<br />

Pulled Scale<br />

วิธีการทดสอบคา <strong>Inhomogeneity</strong> ที่ยอมรับกันคือ การทํา Thermal scan<br />

โดยดึงขึ้นใน fixed point หรือ Uniform temperature source(Uniform<br />

Stability < 0.01 K เชน Oil หรือ Salt Bath ) ที่อุณหภูมิ 150 o C – 250 o C วิธีการคือ<br />

ทําการเก็บคา out put ของเทอรโมคับเปล เมื่อ ทําการจุมเทอรโมคับเปลจนคลุมระยะที่<br />

ตองการทดสอบคา<br />

<strong>Inhomogeneity</strong> จากนั้นคอยๆ ดึง ขึ้นทีละ 1-2 เซนติเมตร รอจนคานิ่งและทําการ<br />

เก็บคา out put ของ TC และ อุณหภูมิไว โดยระยะดึงขึ้นไมเกินระยะจุมที่เหมาะสม<br />

(ประมาณ15 เทาของ diameter) เมื่อครอบคลุมแลวหาคาout put มากที่สุดและนอยที่<br />

สุด (E max ,E min ) และนํามาหาคา <strong>Inhomogeneity</strong>ไดจากสูตร<br />

<strong>Inhomogeneity</strong> = 1 ⎛ E − E ⎞<br />

max min<br />

± ⎜ ⎟×<br />

100%<br />

2<br />

⎝ E ref ⎠<br />

รูป 6 การวัด <strong>Inhomogeneity</strong> โดยการทํา เมื่อ E ref คือคาจาก reference table ที่สอดคลองกับอุณหภูมิที่ทําการทดสอบ<br />

Thermal Scan ใน Oil Bath<br />

ตาราง 1 Example of inhomogeneity values for 4 thermocouples<br />

used range (0-500) o C<br />

<strong>Inhomogeneity</strong> test of probe 1<br />

Probe 1 st used / % 5 th used / %<br />

1 + 0.15 + 0.35<br />

2 + 0.16 + 0.36<br />

3 + 0.15 + 0.41<br />

4 + 0.15 + 0.30<br />

Immersion (cm)<br />

รูปที่ 7 <strong>Inhomogeneity</strong> Scan at 200 o C of TC probe 1<br />

5


การทดสอบหาคา <strong>Inhomogeneity</strong> จะตองใชอุปกรณการวัดที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ มีความชํานาญ ใชเวลาและทําไดไมงายนัก ดังนั้น<br />

จากการทําการวัด คา <strong>Inhomogeneity</strong> โดยสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติพบวาปริมาณ <strong>Inhomogeneity</strong> นี้มีอยูจริงและสอดคลองตามเกณฑ<br />

สากล ดังตาราง 2<br />

ตาราง 2 Recommended <strong>Inhomogeneity</strong> value<br />

Source Base Metal (Type E K J N T) Rare Metal Type B R S<br />

APMP<br />

(for new wire TC)<br />

At least +0.1% of emf output or<br />

Temperature used<br />

At least + 0.02% of emf output or<br />

Temperature used<br />

NIMT<br />

0.2% - 0.4 % of emf output or<br />

0.05 % of emf output or Temperature used<br />

(for used wire) Temperature used<br />

EUROMET<br />

At least 20% of the Class 2 tolerance for corresponding type of thermocouple<br />

According to EN IEC 60584-2<br />

• APMP : Asia Pacific Regional Organization of Measurement Standard<br />

• NIMT : National Institute of Metrology Thailand<br />

• EUROMET : Europe Regional Organization of Measurement Standard<br />

ตาราง 3 ตัวอยาง คา <strong>Inhomogeneity</strong> ของเทอรโมคับเปลชนิดตางๆ ที่อุณหภูมิตางๆ ตามเกณฑในตารางที่ 2<br />

<strong>Thermocouple</strong> Tolerance (Class2) <strong>Inhomogeneity</strong> values ( o C)<br />

Type IEC 60584-2 EUROMET APMP NIMT<br />

o C (recommended) (New wire) * (used wire)<br />

Type K J E +20% of Tor. +0.1% of out put +0.3% of output<br />

100 2.5 0.5 0.1 0.3<br />

500 3.75 0.8 0.5 1.5<br />

Type S R B +20% of Tor. +0.02% of out put +0.05% out put<br />

500 1.5 0.3 0.1 0.3<br />

1000 2.5 0.5 0.2 0.5<br />

• การประเมินคา Uncertainty of <strong>Inhomogeneity</strong> ใหประเมินเปน Rectangular Distribution<br />

สําหรับหองปฏิบัติการที่ทําการสอบเทียบหรือใชงานเทอรโมคับเปล(รวมถึงdigital thermometer ที่เปน TC probe) และยังไม<br />

พรอมที่จะทํา การทดสอบหาคา <strong>Inhomogeneity</strong> สามารถ นําคาที่แนะนํานี้ ไปใชได แตตองทราบชนิดของเทอรโมคับเปล ชวงอุณหภูมิ<br />

ใชงาน และสภาพการใชงานวา เทอรโมคับเปลนั้นใหมหรือผานการใชงานมานาน ทั้งนี้การสอบเทียบขึ้นอยูกับความจําเปน โดยเทอร<br />

โมคับประเภทโลหะพื้นฐานนั้น เมื ่อใชงานแลวควรจะเปลี่ยนใหมแทนการสอบเทียบซ้ํา<br />

6


EN IEC 60584-2 Tolerance for corresponding type of thermocouple<br />

เอกสารอางอิง<br />

⋅ American Society for testing and Materials Volume 14.03: ASTM E220-02, Standard test method for calibration<br />

thermocouples by comparison techniques in Appendix X4. Test for thermocouple <strong>Inhomogeneity</strong>, U.S.A., 2006.<br />

⋅ Robin E. Bentley, Monograph 5 : <strong>Thermocouple</strong>s in temperature Measurement, National Measurement Institute, Australia,<br />

2004.<br />

⋅ D.R. White and J.V. Nicholas, Traceable temperatures : An <strong>Introduction</strong> to temperature measurement and calibration , 2nd<br />

ed., John Wiley& Sons Ltd., England, 2001.<br />

⋅ G.W. Burns and M.G. Scroger, The Calibration of thermocouple and <strong>Thermocouple</strong> materials, NIST Special publication 250-<br />

35, Washington, 1989.<br />

⋅ EUROMET Calibration Guide : EA-10/08 - Calibration of <strong>Thermocouple</strong>s.<br />

(http://www.european-accreditation.org)<br />

7

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!