07.01.2015 Views

กาวทันโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่Update in endometriosis

กาวทันโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่Update in endometriosis

กาวทันโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่Update in endometriosis

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Sr<strong>in</strong>agar<strong>in</strong>d Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

กาวทันโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่<br />

Update <strong>in</strong> Endometriosis<br />

ประนอม บุพศิริ<br />

ภาควิชาสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

LECTURE<br />

โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่(Endometriosis) หมายถึง<br />

ภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกไปเจริญนอกโพรงมดลูก แลวทําให<br />

เกิดการอักเสบเรื้อรังบริเวณนั้นๆ สงผลใหเกิดปญหาตอ<br />

สุขภาพของสตรีทั่วไป โรคนี้จะทําใหมีอาการปวดทองนอย<br />

เรื้อรัง ปวดประจําเดือนอยางมาก มีบุตรยาก โรคนี้สัมพันธ<br />

กับฮอรโมนเอสโตรเจน จึงพบโรคนี้มากในสตรีวัยเจริญพันธุ<br />

และพบมากขึ้นเรื่อยๆ ในวัยรุน โรคนี้พบไดในสตรีทุกชาติ<br />

ทุกภาษา ไมมีความแตกตางกันระหวางเชื้อชาติ เผาพันธุ<br />

อุบัติการณที่แนนอนยังไมมีตัวเลขชัดเจน มีการประมาณวา<br />

อุบัติการณในสตรีเจริญพันธุพบประมาณรอยละ 10-15 และ<br />

อุบัติการณจะสูงขึ้นในสตรีที่มีอาการปวดประจําเดือน คือ<br />

รอยละ 40-60 สวนในสตรีที่มีบุตรยากอุบัติการณของโรคคือ<br />

รอยละ 20-30 1 การตรวจรางกายสตรีที่เปนโรคนี้มักไมคอย<br />

พบสิ่งผิดปกติ ดังนั้นแพทยผูดูแลตองคิดถึงโรคนี้ไวเสมอ<br />

เมื่อผูปวยมาดวยอาการปวดทองนอยเรื้อรัง ปวดประจําเดือน<br />

หากตรวจภายในพบลักษณะมดลูกควํ่าหลัง ติดแนน<br />

เคลื่อนไหวไดนอย หรือมีกดเจ็บบริเวณ utero-sacral<br />

ligament (US) หรือคลําไดกอนตะปุมตะปาที่ US ligament<br />

หรือคลําไดกอนถุงนํ้าปกมดลูก รวมกับอาการที่กลาวมา<br />

ทําใหคิดถึงภาวะนี้มากขึ้น<br />

สาเหตุของการเกิดโรคนี้จริงๆ ยังไมทราบแนชัด ซึ่งนา<br />

จะเกิดจากหลายปจจัย (multifactorial factors) และพบวามี<br />

แนวโนมวาพันธุกรรมมีสวนเกี่ยวของดวยอยางมาก เนื่องจาก<br />

พบวาหากมีประวัติในครอบครัว มีแมหรือพี่สาวเปนโรคเยื่อ<br />

บุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ลูกสาวมีโอกาสเปนโรคนี้มากกวา<br />

คนอื่น 7-9 เทา 2 ทฤษฎีของการเกิดโรคนี้ที่เชื่อวาเกิดจากไหล<br />

ยอนของเลือดประจําเดือนจากโพรงมดลูกออกไปตามทอรังไข<br />

แลวตกลงไปในอุงเชิงกรานแลวทําใหเกิดโรค ซึ่งทฤษฎีนี้ก็ไม<br />

สามารถอธิบายไดทั้งหมด เพราะสตรีบางคนเปนโรค บางคน<br />

ไมเปนโรค จึงเชื่อวาระบบภูมิคุมกันนาจะมีบทบาทมากใน<br />

การที่จะมีความสามารถในการกําจัดเยื่อบุโพรงมดลูกที่มา<br />

เจริญผิดตําแหนง นอกจากนั้นงานวิจัยใหมๆ ยังพบวาเยื่อบุ<br />

โพรงมดลูกที่มาเจริญผิดตําแหนงนี้สามารถสรางฮอรโมน<br />

เอสโตรเจนในตัวเองไดโดยผาน aromatase enzyme 3,4 มีการ<br />

สรางเสนเลือดใหม (angiogenesis) 5 มีการสรางเสนประสาท<br />

ใหม (neurogenesis) 6,7 ในเยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิดที่<br />

เหลานี้ ทําใหเซลลมีการเจริญแบงตัวไปไดเรื่อยๆ รักษาแลว<br />

ไมหายขาด ซึ่งกอใหเกิดปญหาระยะยาวอยางมาก บางคน<br />

จึงเรียกโรคนี้เปน pseudo-malignancy disease 8<br />

หากแบงตามลักษณะการตรวจพบพยาธิสภาพจะแบง<br />

เปน 3 กลุม ใหญๆ คือ<br />

1. เยื่อบุโพรงมดลูกที่กระจายอยูตามเยื่อบุชองเชิงกราน<br />

(Pelvic <strong>endometriosis</strong>) ตามทฤษฎีของการเกิดโรคที่เชื่อวา<br />

เกิดจากไหลยอนของเลือดประจําเดือนออกไปตามทอรังไข<br />

แลวตกเขาสูอุงเชิงกรานแลวมีการเจริญตอ จึงพบเยื่อบุโพรง<br />

มดลูกกระจายอยูตามผิวเยื่อบุเชิงกราน บริเวณ US ligament<br />

หรือผิวรังไข ลักษณะที่เห็นดวยตาเปลามีหลายลักษณะ เชน<br />

จุดดําๆ กระจายตัวไป (power burn-like lesion) ตุมนํ้าใสๆ<br />

(vesicle-like lesion) หรือมีลักษณะคลายเปลวไฟ (fl ame-like<br />

lesion) บางแห่งจะเห็นเป็นพังผืด รอยดึงรั้ง (fibrosis or<br />

adhesion) หรือชองโหวของผนังเยื่อบุชองทอง (peritoneal<br />

defect) รอยโรคเหลานี้ตอบสนองดีดวยการรักษาดวยยา<br />

ฮอรโมน<br />

2. ถุงนํ้ารังไข (Endometriotic cyst หรือ endometriomas)<br />

เกิดจากเยื่อบุโพรงมดลูกไปตกที่ผิวของรังไข มีการ<br />

เจริญเติบโตของเซลลทอบุโพรงมดลูกแลวดันผิวรังไขเขาไป<br />

ดานใน เมื่อมีเลือดออกในแตละรอบเดือนก็จะมีการสะสม<br />

เลือดมากขึ้นเรื่อยๆ จนมีลักษณะเปนกอนถุงนํ้าเลือดที่รังไข<br />

เม็ดเลือดมีการแตกสลายจึงทําใหเห็นเปนเลือดเกาๆ สีนํ้าตาล<br />

คลายช็อกโกเล็ต บางครั้งจึงเรียกวา chocolate cyst รอยโรค<br />

เหลานี้ตอบสนองดีดวยการรักษาดวยการผาตัด<br />

3. เยื่อบุโพรงมดลูกชนิดที่ฝังลึก (Deep <strong>in</strong>filtration<br />

<strong>endometriosis</strong>) มักพบที่ recto-vag<strong>in</strong>al septum รอยโรค<br />

เหลานี้ตอบสนองไมดีจากการรักษาดวยยาหรือฮอรโมน<br />

มักตองมีการผาตัดรวมดวย<br />

การแบงระยะความรุนแรงของโรคมีหลายวิธี ที่นิยมกัน<br />

คือใชตามของ ASRM (American Society of Reproductive<br />

Medic<strong>in</strong>e ซึ่งเดิมเปน American Fertility Society -AFS)<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 19


Sr<strong>in</strong>agar<strong>in</strong>d Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

LECTURE<br />

แบงตามความรุนแรงเปน 4 ระยะ (Stage I-VI) โดยใหเปน<br />

คะแนนตามลักษณะที่ตรวจพบจากการสองกลองวามีพังพืด<br />

มากนอยเพียงใด มีถุงนํ้ารังไขรวมดวยหรือไม คะแนนยิ่งสูง<br />

หมายถึงมีความรุนแรงของโรคมาก เพื่อสื่อสารใหเขาใจ<br />

ตรงกัน 9<br />

การสืบคนที่สําคัญที่ถือเปนมาตรฐานในการวินิจฉัยโรค<br />

นี้ คือ การทํา diagnostic laparoscopy โดยการสองกลอง<br />

เขาไปดูภายในชองทองโดยตรง และทําการตัดชิ้นเนื้อที่<br />

สงสัยมาตรวจทางพยาธิวิทยา ซึ่งจะชวยวินิจฉัยไดดีในกรณี<br />

ที่เปน pelvic <strong>endometriosis</strong> หรือ endometrioma แตการ<br />

สองกลองทางหนาทองก็มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนชนิด<br />

เล็กนอย (ชนิดไมรุนแรง) ไดรอยละ 3 สวนภาวะแทรกซอน<br />

รุนแรง เชน ลําไสทะลุ เกิดได 0.6-1.8 ตอ 1,000 หัตถการ<br />

ดังนั้นในปจจุบันบางครั้งจะใหการรักษาไปเลยหากมีอาการ<br />

และอาการแสดงที่ทําใหสงสัยวาเปนโรคเยื่อบุโพรงมดลูก<br />

เจริญผิดที่ การตรวจคลื่นเสียงความถี ่สูงทางชองคลอด<br />

(trans-vag<strong>in</strong>al ultrasound) จะมีประโยชนมากในกรณีที่<br />

เปนถุงนํ้ารังไข ลักษณะเฉพาะของถุงนํ้ารังไขของโรคนี้จะ<br />

เห็นคลายเม็ดทรายหรือเศษกระจกเล็กๆ ที่กระจายตัวอยาง<br />

สมํ่าเสมอ (ground glass appearance) แตความไวจะลด<br />

ลงอยางมากในการตรวจหาจุดหรือบริเวณที่เปนเฉพาะเยื่อบุ<br />

โพรงมดลูกเจริญผิดที่ที่อยูตามเยื่อบุชองทอง สวนการตรวจ<br />

ดวย MRI (Magnetic Resonance Imag<strong>in</strong>g) พบวาความ<br />

ไวในการตรวจคนหาจุดหรือบริเวณที่เปนเฉพาะเยื่อบุโพรง<br />

มดลูกเจริญผิดที่ที่อยูตามเยื่อบุชองทองดีกวาการตรวจคลื่น<br />

เสียงความถี่สูงทางชองคลอดเล็กนอย แตเนื่องมีราคาแพง<br />

มาก จึงไมนิยมทําเปนกิจวัตร<br />

วิธีการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมอยางอื่น เชน การตรวจระดับ<br />

serum CA 125 พบวามีความไวตอโรคนี้ตํ่า จึงไมแนะนํา<br />

ตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคแตอาจใชเปนตัวติดตามความรุนแรง<br />

ของโรคหลังการผาตัดรักษา<br />

ผลของโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ที่มีผลตอสุขภาพ<br />

ของสตรีทั่วโลก แบงเปน 2 อยางใหญๆ คือ ทําใหเกิดอาการ<br />

ปวด (ทั้งปวดประจําเดือน ปวดทองนอยเรื้อรัง ปวดเวลา<br />

อุจจาระ ขณะมีประจําเดือน ปวดขณะมีเพศสัมพันธ) กับ<br />

การทําใหมีภาวะมีบุตรยาก<br />

กลไกที่ทําใหเกิดอาการปวดในภาวะมีเยื่อบุโพรงมดลูก<br />

เจริญผิดที่ คือ<br />

1. มีการสราง prostagland<strong>in</strong>s เฉพาะที่มากขึ้น จาก<br />

การเพิ่มการทํางานของ cyclo-oxygeneous-2 (COX-2)<br />

2. มีการเพิ่มของ macropharges ทําใหเกิดภาวะ<br />

การอักเสบแบบเรื้อรัง<br />

3. มีการเพิ่มของ cytok<strong>in</strong>es, tumor necrotic factors,<br />

<strong>in</strong>terleuk<strong>in</strong>s 1, 6, 8 ในชองทอง<br />

4. มีการเพิ่มของ nerve growth factors<br />

5. มีการเพิ่มของ nerve fi ber และแทรกซึมเขาไปใน<br />

nerve fi ber โดยเฉพาะพวก deep <strong>in</strong>fi ltrat<strong>in</strong>g <strong>endometriosis</strong><br />

6. มีการสราง vascular endothelial growth factors ซึ่ง<br />

จะกระตุนการเจริญเติบโตของเสนเลือดใหมและทอนํ้าเหลือง<br />

ใหม ทําใหเพิ่มเซลลไปเรื่อยๆ<br />

กลไกที่ทําใหเกิดภาวะมีบุตรยากในภาวะมีเยื่อบุ<br />

โพรงมดลูกเจริญผิดที่ คือ<br />

1. มีพังผืดไปรัดสวนตางๆ ของทอนําไข ทําใหการ<br />

เคลื่อนไหวของทอนําไขผิดปกติ จับไขไมสะดวก<br />

2. ภาวะในชองทองมีลักษณะอักเสบตลอดเวลา<br />

ไมเหมาะในการปฏิสนธิ ฝงตัว และมีการทําลายเชื้ออสุจิ<br />

มากกวาปกติ<br />

3. มีภาวะไมตกไขมากขึ้น<br />

ในระยะ 20 ปที่ผานมา โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่<br />

เปนโรคที่มีการคนควาทําวิจัยหาสาเหตุของโรค ปจจัยเสี่ยง<br />

พยาธิ-สรีรวิทยา หรือการรักษากันอยางมากมาย อยางไร<br />

ก็ตามจนถึงปจจุบันก็ยังไมมีวิธีการรักษาใดที่ดีที่สุดสําหรับ<br />

โรคนี้ การรักษาตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมในผูปวย<br />

แตละรายไป ขึ้นอยูกับอายุ ความตองการมีบุตร และความ<br />

รุนแรงของโรค<br />

แนวทางการดูแลรักษาเกี่ยวกับปญหาความปวด 9-14<br />

1. ในกรณีที่สงสัยวาเปนเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญ<br />

ผิดที่ แตไมไดรับการตรวจยืนยันทางพยาธิวิทยา หรือ<br />

สองกลองตรวจทางหนาทอง<br />

ขั้นที่ 1 รักษาแบบประคับประคองใหกําลังใจ อธิบาย<br />

ใหผูปวยทราบถึงลักษณะโรคที่เปน การปฏิบัติตัว<br />

ขั้นที่ 2 ใหยาแกปวด เริ่มตนดวย acetam<strong>in</strong>ophen<br />

(paracetamol) รับประทานอยางสมํ่าเสมอทุก 4-6 ชั่วโมง<br />

หากอาการปวดยังไมดีขึ้น จะเปลี่ยนไปเปนยากลุม NSAIDs<br />

(Non-steroidal anti-<strong>in</strong>fl ammatory drug) ไดแก Mefenamic<br />

acid 500 มก รับประทานวันละ 3 ครั้งหลังอาหาร หรือ<br />

Naproxen sodium หรือ Ibuprofen รับประทานวันละ 2<br />

ครั้งหลังอาหาร ยากลุม Cox-2 <strong>in</strong>hibitor หากอาการไมดีขึ้น<br />

ก็เปลี่ยนเปนยาในขั้นตอนตอไป<br />

ขั้นที่ 3 ใหยาฮอรโมน<br />

3.1 ใหรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดรวมนาน<br />

6-9 เดือน (Oral comb<strong>in</strong>ed contraceptive pills) ทําใหเกิด<br />

20<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553


Sr<strong>in</strong>agar<strong>in</strong>d Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

ภาวะ pseudo-pregnancy โดยที่ฮอรโมนจะไปทําใหเยื่อบุ<br />

โพรงมดลูกที่เจิญผิดที่นั้นเกิด desidualization และฝอไปใน<br />

ที่สุด วิธีนี้สามารถลดอาการปวดไดดี บริหารยางาย ราคา<br />

ถูกแตยังไมมีขอมูลชัดเจนวาการรับประทานแบบใหมีประจํา<br />

เดือนเปนรอบๆ หรือรับประทานยาแบบติดตอกันระยะยาว<br />

แลวจึงหยุดใหมีประจําเดือน จะไดผลดีกวากัน<br />

3.2 ฮอรโมนโปรเจสติน (progestion) โดยใช<br />

medroxy progesterone acetate นาน 6-9 เดือน ขนาด<br />

10-30 มก. ตอวัน กลไกเหมือนการใหรับประทานยาเม็ดคุม<br />

กําเนิดชนิดรวม<br />

3.3 GnRH agonist สามารถลดอาการปวดไดดี<br />

และรวดเร็ว เพราะทําใหระดับเอศโตรเจนตํ่าลงมาก บางคน<br />

เรียก medical oophorectomy ใชขนาด 3.75 มก. ฉีดเขา<br />

กลามเดือนละ 1 ครั้งนาน 6 เดือน ขอดอยของวิธีนี้ คือผลขาง<br />

เคียงมากและราคายาแพง โดยทั่วไปหากใชนานเกิน 6 เดือน<br />

ตองมี add-back therapy คือเสริมฮอรโมนโปรเจสติน หรือ<br />

ฮอรโมนโปรเจสตินบวกกับฮอรโมนเอสโตรเจน หรือ tibolone<br />

2.5 มก./วัน เพื่อลดภาวะกระดูกพรุน<br />

2. ในกรณีที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคเยื่อบุ<br />

โพรงมดลูกเจริญผิดที่แนนอน<br />

ขั้นตอน 1 สามารถเริ่มรักษาดวยยากลุม NSAIDs<br />

กอนได<br />

ขั้นตอน 2 รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดแบบรวม 6-9<br />

เดือน หรือ รับประทานmedroxy progesterone acetate<br />

10-30 มก. ตอวัน หรือ ฉีด medoxy progesterone acetate<br />

150 มก. เขากลามทุก 1-3 เดือน นาน 6-9 เดือนตามที่กลาว<br />

มาแลว หรือใช danazol 600-800 มก./วัน แบงรับประทาน<br />

วันละ 3 ครั้ง นาน 6-9 เดือน หรือ GnRH agonist 3.75 มก.<br />

ฉีดเขากลามทุก 1 เดือน นาน 6 เดือน ในกรณีที่จะตองใหยา<br />

นานกวานี้ ตองมี add-back therapy เชนกัน จากการศึกษา<br />

พบวายาที่กลาวมาสามารถลดอาการปวดไดไมแตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ มีเฉพาะอาการขางเคียง ราคายา<br />

ที่แตกตางกัน ดังนั้นแพทยผูดูแลควรพิจารณาใหเหมาะสม<br />

กับผูปวยเปนรายๆไป<br />

ขั้นตอน 3 มีรายงานการใชหวงอนามัยชนิดที่มีฮอรโมน<br />

โปรเจสตินเปนสวนประกอบ (Levenorgestrel <strong>in</strong>trauter<strong>in</strong>e<br />

system- LNG-IUS) ในผูปวยเหลานี้ พบวาสามารถลด<br />

อาการปวดได ซึ่งยังไมทราบกลไกที่แนชัดนัก<br />

ขั้นตอน 4 การฝงยาคุม Implanon พบวาสามารถลด<br />

อาการปวดจากภาวะนี้ไดเชนกัน<br />

ยากลุมใหมๆ ที่มีการศึกษาในงานวิจัย ไดแก กลุม<br />

aromatase <strong>in</strong>hibitor, anti-TNF-alpha monodonal antibody<br />

ซึ่งผลการศึกษายังไมเปนที่นาพอใจที่จะนํามาใชในชีวิต<br />

จริง 14,15<br />

ในการรักษาดวยยา แพทยคงตองมีการคุยกับผูปวยเรื่อง<br />

การลดความปวด ซึ่งอาจไมสามารถหายไดรอยละ 100 และ<br />

อาการปวดสามารถกลับมาเปนไดอีกหลังหยุดยา ปจจุบันยัง<br />

ไมมีขอมูลชัดเจนหรือคําแนะนําที่แนชัดวาตองรักษาไปนาน<br />

แคไหนถึงจะเพียงพอ คงตองขึ้นกับผูปวยเปนรายๆ ไป<br />

3. การรักษาอาการปวดโดยการผาตัด<br />

3.1 การทําลายเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิด<br />

ที่ อาจโดยการตัด การจี้ดวยไฟฟา การจี้ดวยแสงเลเซอร<br />

การเลาะพังผืด พบวาชวยลดอาการปวดไดดีกวาอยางมี<br />

นัยสําคัญเมื่อเทียบกับสองกลองตรวจทางหนาทองเพียง<br />

อยางเดียว 14,17<br />

3.2 การทําผาตัด Ovarian cystectomy หรือ<br />

<strong>in</strong>cision and dra<strong>in</strong>age cyst ในกรณีที่เปนถุงนํ้า (endometriotic<br />

cyst or chocolate cyst) ขนาด > 3 ซม. การตัดเอา<br />

ถุงนํ้าออกจะสามารถลดอาการปวด ลดโอกาสเกิดถุงนํ้าซํ้า<br />

ไดมากกวาการเปดระบายของเหลวเทานั้น 18 หลังผาตัดหาก<br />

เกิดถุงนํ้าซํ้าอีก และขนาดไมใหญมาก มีคําแนะนําใหใชยา<br />

ฮอรโมนในการรักษาอาการเจ็บปวด ไมควรผาหลายๆ ครั้ง<br />

เพราะมีความเสี่ยงจากาการผาตัดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

3.3 การทําลายเสนประสาท เชน laparoscopic<br />

uter<strong>in</strong>e nerve ablation หรือ laparoscopic presacral<br />

neurectomy หากทํารวมกับการทําลายเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูก<br />

ที่เจริญผิดที่ดวย พบวาลดอาการปวดไดดีกวาไมทําลาย<br />

เนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิดที่ดวย และพบวาการทํา<br />

laparoscopic presacral neurectomy ชวยลดอาการปวด<br />

ไดดีกวาการทํา laparoscopic uter<strong>in</strong>e nerve ablation แต<br />

ก็มีภาวะแทรกซอนมากกวาเชนกัน 19<br />

3.4 การผาตัดมดลูก รวมกับผาตัดปกมดลูกและ<br />

รังไขทั้ง 2 ขาง (Hysterectomy with bilateral salp<strong>in</strong>gooophorectomy)<br />

คงเลือกใชเปนวิธีสุดทายหากใชวิธีที่<br />

กลาวมาแลวทั้งหมดอาการปวดยังไมดีขึ้น หลังผาตัดพบ<br />

วาสามารถลดอาการปวดไดดี หากจําเปนตองใหฮอรโมน<br />

ทดแทนในกรณีมีอาการหมดประจําเดือนและขาดฮอรโมน<br />

อยางรุนแรง ควรใหทั้งฮอรโมนเอสโตรเจนและโปรเจสโตรเจน<br />

รวมกันจะดีกวาใหเพียงฮอรโมนเอสโตรเจนตัวเดียวเนื่องจาก<br />

ไมมีมดลูกแลว 11 แตในกรณีที่รังไขปกติและผูปวยอายุยังนอย<br />

แพทยสามารถเก็บรังไขไวไดโดยผาตัดเฉพาะมดลูกออก<br />

อยางไรก็ตามผูปวยก็มีโอกาสที่จะกลับมาปวดและตองผา<br />

ตัดซํ้าไดอีกเล็กนอย แพทยผูดูแลตองมีการคุยกับผูปวยถึง<br />

ประโยชนและความเสี่ยงอยางละเอียดกอนการรักษา 20,21<br />

LECTURE<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 21


Sr<strong>in</strong>agar<strong>in</strong>d Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

LECTURE<br />

3.5 การให GnRH agonist กอนผาตัด พบวาทําให<br />

ASRM score ดีขึ้น แตระยะเวลาในการผาตัด ผลการผาตัด<br />

ไมมีความมีความแตกตางกับกลุมที่ไมไดใชฮอรโมนกอน<br />

ผาตัดอยางชัดเจน จึงยังไมมีคําแนะนําที่ชัดเจนเกี่ยวกับ<br />

ประโยชนของการใหยากอนผาตัด<br />

3.6 การให GnRH agonist หลังผาตัด ในกรณีที่<br />

คิดวายังมีพยาธิสภาพ หลงเหลือในเชิงกราน หรือมีอาการ<br />

ปวดมาก พบวาการใหยานี้หลังผาตัดจะชวยลดอาการปวด<br />

ไดอยางมากและสามารถใหเพื่อควบคุมโฏรคไมใหกลับเปน<br />

ซํ้าอีกเร็วเกินไป อยางไรก็ตามแพทยยังสามารถใชฮอรโมน<br />

ตัวอื่นทุกตัวในการลดโอกาสเกิดโรคซํ้าไดตามที่กลาวมา<br />

แลวไดเชนกัน คงตองพิจารณาความเหมาะสมของผูปวย<br />

เปนรายๆ ไป<br />

แนวทางการรักษาในกรณีมีภาวะมีบุตรยาก 21,22<br />

โดยทั่วไปสตรีที่เปนโรคนี้มีโอกาสการตั้งครรภนอยกวา<br />

คนปกติอยูแลว แนวทางในการดูแลรักษาคือ<br />

1. ควรใชวิธีการผาตัด หรือทําลายเยื่อบุโพรงมดลูก<br />

ที่เจริญผิดที่มากกวาที่จะใชยา หากตรวจพบวามีรอยโรค<br />

หลังผาตัดเปนเวลาชวงที่มีโอกาสมีบุตรมากที่สุด ยาฮอรโมน<br />

ที่ใชรักษาอาการปวด ไมควรนํามาใชในผูปวยสวนนี้เพราะ<br />

จะยิ่งทําใหระยะการมีบุตรเนิ่นนานตอไปอีก<br />

2. ในกรณีที่เปนโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ระยะ<br />

1-2 การทําการจี้หรือทําลายเยื่อบุโพรงมดลูกเหลาผานทาง<br />

กลองสองตรวจ จะชวยเพิ่มอัตราการตั้งครรภ<br />

3. ในกรณีที่มีถุงนํ้ารังไข (Endometriotic cyst) > 3ซม.<br />

การตัดถุงนํ้ารังไขจะชวยเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ<br />

4. ยังไมมีขอมูลการใช GnRH agonist ระยะยาวจะชวย<br />

ใหโอกาสการตั้งครรภ จากการทําเด็กหลอดแกวเพิ่มขึ้น<br />

5. ยังไมมีขอมูลชัดเจนเกี่ยวกับการให GnRH agonist<br />

หลังการผาตัดแบบอนุรักษ ในผูปวยที่มีโรคเยื่อบุโพรงมดลูก<br />

ระยะ 3-4 จะเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ<br />

6. ในกรณีที่เปนโรคระยะรุนแรง stage III, IV ควร<br />

ทําการผาตัด จี้ทําลายเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิด ตัดเลาะ<br />

พังผืด จะเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ<br />

7. ในกรณีที่รักษาดวยการผาตัดแลว ยังไมสามารถ<br />

ตั้งครรภดวยการกระตุนไขตก ควรใชเทคโนโลยีการเจริญ<br />

1, 9 ,10<br />

พันธุเขามาชวย ไมควรผาตัดซํ้าอีก<br />

สรุป<br />

โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่เปนโรคที่เรื้อรัง ยังไมมีวิธี<br />

รักษาใหหายขาดไดตลอดชีวิต มีโอกาสการกลับเปนโรคสูง<br />

มาก การรักษามีทั้งการใชยาและการผาตัด แพทยตองเลือก<br />

การรักษาใหเหมาะกับผูปวยเปนรายๆ ไป ไมมีสูตรสําเร็จวา<br />

ตองรักษาผูปวยเหมือนกันทุกคน การพูดคุย และใหกําลังใจ<br />

ผูปวยอยูเสมอ จะทําใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถอยู<br />

รวมกับโรคและโลกไปไดอยางมีความสุข<br />

References<br />

1. http://www.library.nhs.uk/womensheeth. (Access June<br />

2010)<br />

2. Barlow DH, Kennedy S. Endometriosis: new genetic<br />

approaches and therapy. Ann Rev Med 2005;<br />

56:345-56.<br />

3. Noble LS, Simpson ER, Johns A, Bulun SE. Aromatase<br />

expression <strong>in</strong> <strong>endometriosis</strong>. J Cl<strong>in</strong> Endocr<strong>in</strong>ol Metab<br />

1996; 81:174-9.<br />

4. Bulun SE. Mechanisms of <strong>endometriosis</strong>. N Engl J Med<br />

2009; 360:268-79.<br />

5. V<strong>in</strong>atier D, Orazi G, Cossan M, Dufour P. Review:<br />

theories of <strong>endometriosis</strong>. Eur J Obstet Gynecol Reprod<br />

Biol 2002; 96:21-3.<br />

6. Tokushige N, Markham R, Russell P, Fraser IS.<br />

High density of nerve fi bers <strong>in</strong> the functional layer of<br />

endometrium of women with <strong>endometriosis</strong>. Hum<br />

Reprod 2006; 21:782-87.<br />

7. Fraser IS. Mysteries of <strong>endometriosis</strong> pa<strong>in</strong>: Chien-Tien<br />

Hsu Memorial Lecture. J Obstet Gynaecol Res 2010;<br />

36:1-10.<br />

8. Nezhat F, Datta MS, Hanson V, Pejovic T, Nezhat<br />

C, Nezhat C. The relationship of <strong>endometriosis</strong> and<br />

malignancy. Fertil Steril 2008; 90: 1559–70.<br />

9. Practice Bullet<strong>in</strong> No 114: Management of <strong>endometriosis</strong>.<br />

Obstet Gynecol 2010; 116: 223-36.<br />

10. The ESHERE guidel<strong>in</strong>e on <strong>endometriosis</strong> 2008.<br />

11. Abou Setta AM, Al Inany HG, Farquhar CM.<br />

Levonorgestrel releas<strong>in</strong>g <strong>in</strong>trauter<strong>in</strong>e device for<br />

symptomatic <strong>endometriosis</strong> follow<strong>in</strong>g surgery. Cochrane<br />

Database of Systematic Reviews. 2006, Issue 4, Article<br />

No. CD005072.<br />

12. Walch K, Unfried G, Huber J, Kurz C, van Trotseriburg M,<br />

Pernicka E, et al. Implanon versus medroxyprogesterone<br />

acetate. Contraception 2009: 79; 29-34.<br />

22<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553


Sr<strong>in</strong>agar<strong>in</strong>d Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

13. Vercell<strong>in</strong>i P, Crosiganni PG, Somigl<strong>in</strong>a E, Berlanda N,<br />

Babara C, Fedele L. Medical treatment of <strong>endometriosis</strong>:<br />

what is the evidence Hum Reprod 2009; 24:2504-14.<br />

14. Yeung PP, Shwayder J, Pasic RP. Laparoscopic<br />

management <strong>endometriosis</strong> : comprehensive review<br />

of best evidence. J M<strong>in</strong>im Invasive Gynecol 2009;<br />

16:269-81.<br />

15. Lv D, Song H, Shi G. Anti-TNF- treatment for pelvic pa<strong>in</strong><br />

associated with <strong>endometriosis</strong>. Cochrane Database of<br />

Systematic Reviews 2010, Issue 3. Art. No.: CD008088.<br />

DOI: 10.1002/14651858.CD008088.pub2.<br />

16. Alborzi S, Hamedi B, Omidvar A, Dehbashi S, Alborzi<br />

S, Alborzi M. A comparison of the effect of short-term<br />

aromatase <strong>in</strong>hibitor (letrozole) and GnRH agonist<br />

(triptorel<strong>in</strong>) versus case control on pregnancy rate<br />

and symptom and sign recurrence after laparoscopic<br />

treatment of <strong>endometriosis</strong>. Arch Gynecol Obstet 2010.<br />

DOI 10.1007/s00404-010-1599-6.<br />

17. Jacobson TZ, Duffy JMN, Barlow D, Kon<strong>in</strong>ckx PR, Garry<br />

R. Laparoscopic surgery for pelvic pa<strong>in</strong> associated<br />

with <strong>endometriosis</strong>. Cochrane Database of Systematic<br />

Reviews 2009, Issue 4. Art. No.: CD001300. DOI:<br />

10.1002/14651858.CD001300.pub2.<br />

18. Hart RJ, Hickey M, Maouris P, Buckett W, Garry R.<br />

Excisional surgery versus ablative surgery for ovarian<br />

endometrioma. Cochrane Database of Systematic<br />

Review 2008, Issue 2, Article No. CD 004992.<br />

19. Proctor M, Latthe P, Farquhar CM, Khan KS, Johnson<br />

N. Surgical <strong>in</strong>terruption of pelvic nerve pathways for<br />

primary and secondary dysmenorrhoea. Cochrane<br />

Database of Systematic Reviews 2005, Issue 4. Art. No.:<br />

CD001896. DOI: 10.1002/14651858.CD001896.pub2.<br />

20. The Practice Committee of the American Society for<br />

Reproductive Medic<strong>in</strong>e. Treatment of pelvic pa<strong>in</strong> and<br />

<strong>endometriosis</strong>. Fertil Steril 2008; 90:S260-9.<br />

21. Shabika K, Bena JF, McGrill KM, M<strong>in</strong>ger J, Falcone T.<br />

Surgical treatment of <strong>endometriosis</strong>: a 7-year follow-up<br />

on the requirement for further surgery. Obstet Gynecol<br />

2008; 111:1285-92.<br />

22. Loverro G, Carrier C, Rossi AC, Putignano G, Selvaggi L.<br />

A randomized study compar<strong>in</strong>g triptorel<strong>in</strong> or expectant<br />

management follow<strong>in</strong>g conservative laparoscopic<br />

surgery for symptomatic stage III-VI <strong>endometriosis</strong>.<br />

Eur J Obstet Gynecol Reprod Biol 2008; 136:194-8.<br />

LECTURE<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 23

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!