17.11.2014 Views

Exfoliative dermatitis

Exfoliative dermatitis

Exfoliative dermatitis

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

12<br />

<strong>Exfoliative</strong> <strong>dermatitis</strong><br />

ความนํา<br />

แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน<br />

ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการดูแล<br />

รักษาผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใชเปนแนวทาง<br />

ในการดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎตายตัวที่ตอง<br />

ปฏิบัติการรักษาตามที่เขียนไวทุกประการ ทั้งนี้<br />

เพราะ ผูปวยแตละรายมีปญหาที่แตกตางกัน การ<br />

วางแนวทางการรักษานี้เปนการสรางมาตรฐาน<br />

และพัฒนาการดูแลรักษาโรคผิวหนัง เพื่อให<br />

ประชาชนที่มาพบแพทยไดรับความมั่นใจวาจะ<br />

ไดรับการดูแลรักษาที่ดี<br />

คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใช<br />

อางอิงทางกฎหมายโดยไมผานการพิจารณาจาก<br />

ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี<br />

นิยาม<br />

<strong>Exfoliative</strong> <strong>dermatitis</strong> หมายถึง ภาวะการ<br />

อักเสบของผิวหนังทําใหเกิดผื่นผิวหนังแดง<br />

รวมกับมีสะเก็ดลอกทั่วรางกาย กระจายมากกวา<br />

90% ของพื้นที่ผิวหนังทั่วรางกาย การหลุดลอก<br />

ของผิวหนังจํานวนมากนี้จะทําใหผูปวยสูญเสียน้ํา<br />

และโปรตีนจํานวนมาก อาจรุนแรงถึงภาวะช็อก<br />

ได<br />

สาเหตุ<br />

เชื่อวาเปนปฏิกิริยาที่เกิดจาก 3 สาเหตุ คือ<br />

ยา โรคผิวหนังที่เปนอยูเดิม หรือโรคภายในรางกาย<br />

โดยเฉพาะมะเร็ง แตบางรายไมทราบสาเหตุ การ<br />

ลอกของผิวหนังเกิดจากเซลลของผิวหนังมีการ<br />

แบงตัวมากขึ้น และผลัดเปลี่ยนเซลลเร็วขึ้น<br />

การวินิจฉัย<br />

1. ลักษณะทางคลินิก<br />

1.1 ลักษณะผื่นผิวหนัง มีผื่นแดงทั่วรางกาย<br />

(erythroderma) รวมกับมีสะเก็ดลอกเปนแผน ๆ<br />

บริเวณกวางมากกวา 90% ของพื้นที่ผิวหนัง<br />

ผิวหนังที่ฝามือฝาเทาหลุดลอก เล็บเสียหรือหลุด<br />

อาจพบผมรวงรวมดวยมีสะเก็ดที่หนังศีรษะไม<br />

พบผื่นในบริเวณเยื่อบุ ในรายที่เปนผื่นมานานที่ตา<br />

อาจพบ ectropion เนื่องจากผิวหนังดึงรั้งเปลือกตา<br />

1.2 อาการแสดงทางระบบอื่น อาการทาง<br />

ระบบตาง ๆ ของรางกายเปนผลจากการลอกของ<br />

ผิวหนังเปนบริเวณกวาง เชน การสูญเสียน้ําและ<br />

เกลือแร ทําใหเกิดช็อกได การสูญเสียโปรตีนทาง<br />

ผิวหนัง เกิดภาวะโปรตีนในเลือดต่ํา การสูญเสีย<br />

ความรอนทางผิวหนัง ทําใหรางกายไมสามารถ<br />

ควบคุมอุณหภูมิได<br />

1.3 ตรวจหาสาเหตุของโรค<br />

1.3.1 ประวัติไดรับยา ไดแก ยาแกปวด<br />

ยาปฏิชีวนะ เชน ยาซัลฟา, เพนนิซิลิน, ยา NSAIDs,<br />

allopurinol โดยไดรับยาประมาณ 1 - 14 วัน<br />

(อาจเร็วหรือชากวานี้ได) บงวาสาเหตุนาจะมาจาก<br />

การแพยา<br />

1.3.2 โรคผิวหนังที่เกิดรวมดวยอาจ<br />

ทราบ หรือยังไมเคยทราบมากอน แตตรวจ<br />

รางกายพบรอยโรค ไดแก atopic <strong>dermatitis</strong>,<br />

psoriasis, contact <strong>dermatitis</strong>, seborrheic<br />

<strong>dermatitis</strong><br />

สถาบันโรคผิวหนัง


13<br />

<strong>Exfoliative</strong> <strong>dermatitis</strong><br />

History & Physical exam<br />

Supportive treatment<br />

- check fluid-electrolyte<br />

- high protein diet<br />

- antihistamine<br />

- septic precaution<br />

- topical emollient<br />

- topical steroid<br />

รุนแรง<br />

- หยุดยา<br />

- Systemic<br />

steroid<br />

Special treatment<br />

ตามสาเหตุ<br />

แพยา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง Idiopathic<br />

ไมรุนแรง<br />

- หยุดยา<br />

- รักษา<br />

ตามอาการ<br />

- ตรวจเพิ่มเติม<br />

ตามขอบงชี้<br />

- รักษาตาม<br />

ชนิดของโรค<br />

- ตรวจเพิ่มเติม<br />

ตามขอบงชี้<br />

- รักษาตาม<br />

ชนิดของโรค<br />

- รักษาตาม<br />

อาการ<br />

1.3.3 โรคมะเร็ง มีประวัติบงชี้ถึง<br />

โรคมะเร็ง เชน เบื่ออาหาร น้ําหนักลดมาก ซีด<br />

ตัวเหลือง ตาเหลือง เปนตน ตรวจพบตอม<br />

น้ําเหลือง ตับ มามโต มะเร็งที่พบไดแก<br />

Cutaneous T cell lymphoma, leukemia หรือ<br />

มะเร็งของอวัยวะอื่นๆในรางกาย<br />

2. การวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการ ขึ้นกับ<br />

ประวัติ และผลการตรวจรางกายวาสงสัยสาเหตุ<br />

กลุมใด (ดูตามแผนภูมิ) เชน<br />

2.1 ตรวจหาสาเหตุของโรค<br />

2.1.1 หาสาเหตุโรคทางผิวหนังทาง<br />

หองปฏิบัติการ เชน KOH, Tzanck smear, Gram's<br />

stain หรือ ตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิสภาพ<br />

ตามความเหมาะสม<br />

2.1.2 ถาสงสัยวาสาเหตุเกิดจากยาและ<br />

จากโรคมะเร็งใหพิจารณาการตรวจทาง<br />

หองปฏิบัติการตามความเหมาะสมเปนราย ๆ ไป<br />

เพื่อวินิจฉัยโรคและภาวะแทรกซอนของผูปวย<br />

2.2 ตรวจสภาวะทั่วไปของผูปวย เชน CBC,<br />

urinalysis, electrolyte, Liver function test, Chest<br />

x-ray เปนตน<br />

การรักษามาตรฐาน (Standard treatment)<br />

1. ถาอาการรุนแรงควรรับไวในโรงพยาบาล<br />

สถาบันโรคผิวหนัง


14<br />

2. ใหหยุดยาทุกชนิดที่ไมจําเปน<br />

3. ดูแลตามอาการโดยเฉพาะ fluid, electrolyte,<br />

protein balance ถาผูปวยมีอาการคันใหยา<br />

antihistamine ตามความเหมาะสม<br />

4. เฝาระวังการติดเชื้อ โดยหมั่นทําการเพาะเชื้อ<br />

จากเลือด, ผิวหนัง, เสมหะ ปสสาวะและให<br />

ยาปฏิชีวนะตามผลการเพาะเชื้อ<br />

5. การดูแลผื่นผิวหนัง<br />

5.1 ทายาเพิ่มความชุมชื้นแกผิวหนัง เชน<br />

น้ํามันมะกอกหรือสารพวก emollients เชน<br />

vaseline, hydrophillic ointment ทาบอย ๆ วันละ<br />

หลาย ๆ ครั้ง<br />

5.2 หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทําใหผิวแหงมากขึ้น<br />

เชน สบูหรือครีมอาบน้ํา<br />

5.3 ยาทาคอรติโคสเตียรอยด (topical steroid)<br />

พิจารณาใหชนิด mild ถึง moderate strength<br />

ทาผิวหนังวันละ 2 ครั้ง<br />

หลังจากทายาแลวอาจจะเปดผิวหนังทิ้งไว<br />

หรือปดผิวหนังดวยผากอซก็ไดในกรณีที่ตองการ<br />

ใหยาถูกดูดซึมเขาผิวหนังไดมากขึ้น (occlusion)<br />

6. Systemic steroid ควรพิจารณาเปนรายๆไป<br />

เชน เปนรุนแรงมาก สาเหตุจากแพยา หรือ<br />

สาเหตุจากโรคผิวหนังที่ตอบสนองตอ<br />

steroid โดยใช prednisolone 0.5 มก. – 1 มก./<br />

กก./วัน และลดขนาดยาอยางรวดเร็วเมื่อผูปวย<br />

อาการดีขึ้น ถาผูปวยอาการไมดีขึ้นอาจเพิ่ม<br />

ขนาดยาไดตามความเหมาะสม<br />

7. ยา antimetabolites อาจพิจารณาใชไดในราย<br />

ที่ตองใช steroid ในขนาดยาสูงหรือไม<br />

สามารถลดขนาดยาได และในผูปวย exfoliative<br />

<strong>dermatitis</strong> จากบางสาเหตุ เชน psoriasis<br />

8. กรณีที่ผูปวยมีสาเหตุจากโรคทางระบบอื่น<br />

หรือ systemic ใหรักษาตามแนวทาง<br />

มาตรฐาน ของโรคนั้น ๆ และปรึกษาแพทย<br />

ตาม Subspecialty<br />

References<br />

1. Davis SA. Dermatologic emergencies. In:<br />

Saunders E, HO TM. Current emergency<br />

diagnosis and treatment. 4 th ed. U.S.A.:<br />

Appleton & Lange; 1992.<br />

2. Freedberg IM. <strong>Exfoliative</strong> <strong>dermatitis</strong>. In:<br />

Fitzpatrick’s dermatology in general<br />

medicine, vol. 1. 5 th ed. New York:<br />

McGraw-Hill; 1999. p.534-7.<br />

3. Burton JL. Eczema, lichenification, prurigo<br />

and erythroderma. In: Champion RH, Burton<br />

JL, Ebling FJG. Textbook of dermatology,<br />

vol. 1. 5 th ed. Oxford: Blackwell Scientific<br />

Publications; 1992. p.537-88.<br />

4. Wintroub BU, Stern RS. Cutaneous drug<br />

reactions. In: Fauci AS, et al. Harrison’s<br />

principles of internal medicine, vol. 1.<br />

14 th ed. New York: McGraw-Hill Companies;<br />

1998. p.304-10.<br />

สถาบันโรคผิวหนัง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!