10.11.2014 Views

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

- สารประกอบโลหะ เชน ตัวเรงปฏิกิริยา ออแกนโนติน ( Organotin ) จะเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรกับสารนี้ และทําใหเกิดความรอนและ<br />

ความดันขึ้น<br />

- การกัดกรอนตอโลหะ ไมกัดกรอนตอโลหะทั่วไป<br />

8. การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion)<br />

จุดวาบไฟ( 0 ซ.) : 140 จุดลุกติดไฟไดเอง( 0 ซ.) : 454<br />

NFPA Code :<br />

คา LEL % : 1 UEL % : 24 LFL % : - UFL % : -<br />

- การเผาไหมและการสลายตัว เนื่องจาก ความรอน จะทําใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด ไนโตรเจนออกไซด<br />

โฮโดรเจนไซยาเนต<br />

- สารนี้สามารถลุกไหมไดถาไดรับควารอนอยางรุนแรง ในระหวางเกิดเพลิงไหม จะทําใหเกิดกาซไนโตรเจนออกไซด และไฮโดรเจน<br />

ไซยาไนด ที่เปนพิษและระคายเคืองขึ้น<br />

- จะทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับน้ําที่อุณหภูมิสูง ภาชนะที่ปดสนิทอาจเกิดแตกอยางรุนแรงไดเมื่อถูกความรอน<br />

- สารดับเพลิง สามารถใชไดทั้ผงเคมีแหง กาซคารบอนไดออกไซด โฟม เคมีชนิดขยายตัวไดสูง ฉีดน้ําเปนฝอย<br />

- ขั้นตอนการผจญเพลิง อพยพออกจากพื้นที่ และใหฉีดน้ําในระยะที่ปลอดภัย หรือบริเวณที่สามารถปองกันอันตรายไดเขาผจญเพลิง<br />

จากดานเหนือลม เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากไอระเหยและสารพิษจากการสลายตัว จะตองใชน้ําเปนปริมาณมาก ในการดับเพลิงสารนี้<br />

อยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามตองระมัดระวังการเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรงของน้ํากับ HDI<br />

- แยกสารที่ยังไมลุกติดไฟออก<br />

- เคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากพื้นที่ที่ไฟไหม ถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง<br />

- การฉีดน้ําเปนฝอยสามารถดูดซับความรอน และปองกันการสัมผัสกับสารเคมี<br />

- รักษาถังหรือภาชนะที่ถูกเพลิงไหมดวยการฉีดน้ําเปนฝอย เพื่อลดความเสี่ยงตอการระเบิดแตก<br />

9. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคลื่อนยาย/ขนสง (Storage and Handling)<br />

- การเก็บ : เก็บในที่ที่เย็นและแหง<br />

- พื้นที่ที่มีการระบายอากาศดี<br />

- อยาใหสัมผัสแสงอาทิตยโดยตรง และออกหางจากแหลงความรอนและแหลงจุดติดไฟ<br />

- เก็บรักษาในปริมาณนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได<br />

- เก็บหางจากสารที่เขากันไมได เชน น้ํา<br />

- ดูเพิ่มเติมที่สารเขากันไมได<br />

- ขอมูลอยางปลอดภัยและปองกันการเกิดความเสียหาย<br />

- พิจารณาติดตั้งอุปกรณตรวจวัดการรั่วไหล และเตือนอันตราย<br />

- เก็บภายในชวงอุณหภูมิที่แนะนําโดยบริษัทผูผลิต หรือผูจัดจําหนาย<br />

- สัญญาณเตือนอันตรายของอุณหภูมิที่สูงกวา หรือต่ํากวาที่กําหนดไวเปนสิ่งจําเปน<br />

- เก็บในที่ที่เหมาะสม , ไมสามารถแตกได ปดฉลาก<br />

- ภาชนะที่มั่นคงแข็งแรงปองกันการซึมของน้ําเขาไปได ทําจากวัสดุซึ่งสอดคลองกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!