10.11.2014 Views

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

Hexamethylene diisocyanate - กรมควบคุมมลพิษ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1. การชี้บงเคมีภัณฑ (Chemical Identification)<br />

ชื่อเคมี IUPAC : <strong>Hexamethylene</strong> <strong>diisocyanate</strong><br />

ชื่อเคมีทั่วไป : 1,6-Diisocyanatohexane<br />

ชื่อพองอื่นๆ :<br />

ปรับปรุงขอมูลครั้งสุดทายเมื่อ 12/10/2001<br />

รหัส คพ. ที่:คพ/-<br />

1,6-Hexanediol <strong>diisocyanate</strong>; 1,6-<strong>Hexamethylene</strong> <strong>diisocyanate</strong>; HDI; Evafanol AS-1; <strong>Hexamethylene</strong>-1,6-<br />

<strong>diisocyanate</strong>; HMDI; Isocyanic acid, diester with 1,6-hexanediol; Isocyanic acid, hexamethylene ester; Hexane 1,6-<br />

<strong>diisocyanate</strong>; 1,6-Hexylene <strong>diisocyanate</strong>; Desmodur h; Desmodur n; TL 78; <strong>Hexamethylene</strong> <strong>diisocyanate</strong>, 1,6-<br />

สูตรโมเลกุล : สูตรโครงสราง :<br />

รหัส IMO :<br />

รหัส UN/ID NO. : 2281 รหัส EC NO. : 615-011-00-1<br />

รหัส CAS NO. : 822-06-0 รหัส RTECS : MO 1740000<br />

Isocyanic acid ester / Isocyanatc /<br />

รหัส EUEINECS/ELINCS : 212-485-8 ชื่อวงศ :<br />

aliphatic isocyanate<br />

2. ชื่อผูผลิต/จําหนาย (Manufacturer and Distributor)<br />

ชื่อผูผลิต/นําเขา : -<br />

แหลงขอมูลอื่นๆ : CHEMINFO<br />

3. การใชประโยชน (Uses)<br />

-<br />

4. คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity)<br />

LD 50<br />

(มก./กก.) : 738 ( หนู) LC 50<br />

(มก./ม 3 ) : 274 / 1 ชั่วโมง ( หนู)


IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : -<br />

PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : -<br />

TLV-TWA(ppm) : 0.005 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : -<br />

พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : -<br />

พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3<br />

พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :<br />

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม<br />

5. คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties)<br />

สถานะ : ของเหลว<br />

สี : ใสไมมีสีถึงสีเหลือง<br />

ออน<br />

กลิ่น : ฉุนรุนแรง นน.โมเลกุล : 168.2<br />

จุดเดือด( 0 ซ.) : 212.8 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง( 0 ซ.) : -67 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.05<br />

ความหนืด(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.05 ที่ 25<br />

0 ซ. ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 5.8<br />

ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : - ที่ -<br />

0 ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ -<br />

0 ซ.<br />

แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 6.879 มก./ม 3 หรือ 1 มก./ม 3 = 0.145 ppm ที่ 25<br />

ขอมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :<br />

0 ซ.<br />

6. อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect)<br />

สัมผัสทางหายใจ : - การหายใจเขาไป การสัมผัสกับสารนี้ในระยะสั้น HEXAMETHYLENE DIISOCYANATE (HDI) จะทํา<br />

ใหระบบทางเดินหายใจ และเยื่อบุเมือก เกิดการระคายเคืองที่ระดับความเขมขนในอากาศประมาณ 0.05 -<br />

0.1 พีพีเอ็ม เกิดอาการระคายเคืองตอตา และจมูก ทําใหคอแหง หรือเจ็บคอ น้ํามูกไหล หายใจถี่ หายใจ<br />

ลําบาก หายใจติดขัด กลองเสียงอักเสบ ไอจนเจ็บหนาอก และแนนหนาอกประจําทุกเดือน อาการเหลานี้<br />

อาจเกิดขึ้นขณะสัมผัสสารเคมี หรือหลังจากการสัมผัสหลายชั่วโมง<br />

สัมผัสทางผิวหนัง : - HDI เหลว หรือกาซในอากาศ กอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังไดถาสัมผัสเปนเวลานาน ทําใหเกิด<br />

อาการอักเสบ ผื่นแดง อาการบวม และเปนแผลพุพอง ไอโซไซยาเนต โดยทั่วไปจะเปนสาเหตุใหผิวหนัง<br />

เปลี่ยนสีและผิวหนังแข็งดานหลังจากการสัมผัสซ้ํา ๆ กัน ทําใหเกิดผิวหนังอักเสบ<br />

กินหรือกลืนเขาไป : - การกินหรือการกลืนเขาไป : ไมมีรายงานเกี่ยวกับคนที่กินหรือกลืน HDI เขาไปและการกลืนในที่ทํางาน<br />

กินเขาไปในบริเวณทํางานไมนาเกิดขึ้นได ในการศึกษาในสัตว HDI เปนพิษปานกลาง เมื่อกลืนเขาไป ทํา<br />

ใหเกิดการระคายเคืองของเนื้อเยื่อปาก ลําคอ และระบบทางยอยอาหาร<br />

สัมผัสถูกตา :<br />

- การสัมผัสถูกตา HDI เหลว ไอระเหยละออง จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรงตอตา ปวดตา น้ําตา


การกอมะเร็ง :<br />

ความผิดปกติ,อื่น ๆ :<br />

ไหล และเปลือกตาบวม กระจกตาถูกทําลาย อาการสามารถฟนคืนไดเหมือนเดิมได ไมทําใหเจ็บปวยถาวร<br />

HDI ระดับ 0.05 - 0.1 พีพีเอ็ม จะทําใหเกิดระคายเคืองตอตา และน้ําตาไหล<br />

- จากรายงาน HDI จะมีความไวตอระบบทางเดินหายใจ เมื่อไดรับไอระเหยจากการพนสีของสาร<br />

HEXAMETHYLENE DIISOCYANATC BIURET TRIET TRIMER และ HDI ไอระเหยของสาร HDI<br />

และ HDI BIURET ทําใหระดับความเขมขนของอาการเพิ่มขึ้น ในการปฏิบัติงานนี้ HDI จะใหสวน<br />

ประกอบของ ISOCYANATE 1.6% ในระหวางการพนสเปรย ไอระเหยของ HDI BIURET มีความเขมขน<br />

สูงกวา HDI ไฮโซไซนาเนตเปนสารที่ทําใหเกิดภูมิแพตอระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสปริมาณ<br />

มาก ๆ หรือโดยการสัมผัสเพิ่มขึ้น ถาแมวาใชเวลานานในการเกิด ไวตอการเกิด จะเกิดอาการขึ้นมากกวา<br />

ปกติในระหวาง 1-2 เดือน ที่สัมผัสถูกสารนี้เฉพาะกับบุคคลที่ไวตอสารชนิดนี้ และเกิดในระดับต่ํา ซึ่งไม<br />

กอใหเกิดผลกระทบตอคนครั้งแรก อาการตามมาอยางรุนแรงจะตามมาถึงแมวาจะไมมีตามรายงานผลการ<br />

สัมผัส HDI เปนไข เยือกเย็น ความรูสึกทั่วไปไมคอยสบาย ปวดศีรษะ และความเมื่อยลา สามารถเกิดขึ้นได<br />

เชนกัน อาการจะเกิดขึ้นโดยทันทีเมื่อสัมผัสถูกมากขึ้น ( ภายในชั่วโมง ) หลายชั่วโมงหลังจากการสัมผัส<br />

หรือทั้งและหรือกลางคืน<br />

- ผูที่ทํางานกับสาร HDI ตอเนื่องจะเกิดอาการภายหลังและอาการจะรุนแรงขึ้น HDI ยังไมสามารถกอใหเกิด<br />

โรคปอดบวม และโรคแพเกี่ยวกับทางปอด โดยมีอาการหายใจถี่ ๆ เปนไข เหน็ดเหนื่อย ไอ และหนาว<br />

คลาย ๆ เปนหวัด เคลื่อนยายไอโซไซยาเนต ซึ่งไวตอการทํางาน ซึ่งกอใหเกิดการเสื่อมโทรมของปอดและ<br />

ระบบทางเดินหายใจ สวนอื่นที่ถูกคนพบอาจกอใหเกิดผลกระทบทีละเล็กทีละนอยในชวงเวลาหลายป การ<br />

หายใจเขาไปเปนเวลานาน ๆ ถึงแมจะเปนปริมาณเล็กนอยของสารไอโซไซยาเนต อาจทําใหปอดออนแอลง<br />

เชน ความจุการหายใจ ลดนอยลง ปอดจะเสื่อมสภาพลงเมื่อสัมผัสกับ HDI เปนเวลานาน ๆ หลังจาก 6 ปตอ<br />

มา ผูที่สูบบุหรี่และไมสูบบุหรี่จากรายงานจะทําใหอาการของระบบทางเดินหายใจ การทํางานของปอดมี<br />

ประสิทธิภาพลดลงหลังจาก 6 ป ขอแนะนําสําหรับการมีระดับ ISOCYANATE ปริมาณนอย ( 0.0015<br />

mg/m3 ) ที่อาจทําใหการทํางานปอดลดลง การไดรับ ISOCYANATE จะทําใหประสิทธิภาพการลดลงของ<br />

ระบบทางเดินหายใจ ISOCYANATE ตัวอื่น ๆ ก็เกิดเชนเดียวกัน ผูที่มีความไวตอ TOLUENE<br />

DIISOCYANATE จะไวตอ HDI และ METHYLENE BISPHENYL ISOCYANATE ผิวหนัง : ถาสัมผัส<br />

ซ้ํา ๆ ทําใหผิวหนังไวตอสารไดงาย<br />

7. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction)<br />

- ความคงตัว : ปกติจะคงตัว เมื่อสัมผัสถูกแสงแดดสีจะเขมขึ้น<br />

- อันตรายจากการเกิดพอลิเมอรไรเซชั่น : จะเกิดขึ้นไดเมื่อสัมผัสกับสารที่เขากันไมได โดยเฉพาะเบสเขมขน เชน ไตรเอทธิลามีน และ<br />

โซเดียมดรอกไซด ( TRIALHYL PHOS PHINES ) โปรแตสเซียม อะซิเตรท และสารประกอบของโลหะที่สามารถละลายในสาร<br />

อินทรียหรือถาไดรับความรอนสูงกวา 93 องสาเซลเซียส จะทําใหเกิดความดัน และทําใหภาชนะบรรจุระเบิดแตกได<br />

- สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ความชื้นและความรอน<br />

- สารอันตรายจากการสลายตัว : 1,6-HEXAMETHYLENE DIAMINE จะเกิดขึ้นจากการทําปฏิกิริยาของ HDI กับน้ํา<br />

- สารที่เขากันไมได/สารที่ตองหลีกเลี่ยง : น้ําจะทําใหเกิดปฏิกิริยาอยางชา ๆ เกิดกาซคารบอนไดออกไซด และโพลี่ยยูเรีย ที่ไมเปนพิษ<br />

และละลายน้ําได ซึ่งจะทําใหภาชนะบรรจุที่ปดฝาระเบิดแตกได ถาอุณหภูมิสูงกวา 50 องศาเซลเซียสขึ้นได ปฏิกิริยาจะยิ่งรุนแรงขึ้น<br />

แอลกอฮอล กรด เบส เอมีน พีนอล จะทําใหเกิดปฏิกิริยารุนแรง และทําใหเกิดความรอนขึ้น


- สารประกอบโลหะ เชน ตัวเรงปฏิกิริยา ออแกนโนติน ( Organotin ) จะเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรกับสารนี้ และทําใหเกิดความรอนและ<br />

ความดันขึ้น<br />

- การกัดกรอนตอโลหะ ไมกัดกรอนตอโลหะทั่วไป<br />

8. การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion)<br />

จุดวาบไฟ( 0 ซ.) : 140 จุดลุกติดไฟไดเอง( 0 ซ.) : 454<br />

NFPA Code :<br />

คา LEL % : 1 UEL % : 24 LFL % : - UFL % : -<br />

- การเผาไหมและการสลายตัว เนื่องจาก ความรอน จะทําใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด ไนโตรเจนออกไซด<br />

โฮโดรเจนไซยาเนต<br />

- สารนี้สามารถลุกไหมไดถาไดรับควารอนอยางรุนแรง ในระหวางเกิดเพลิงไหม จะทําใหเกิดกาซไนโตรเจนออกไซด และไฮโดรเจน<br />

ไซยาไนด ที่เปนพิษและระคายเคืองขึ้น<br />

- จะทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับน้ําที่อุณหภูมิสูง ภาชนะที่ปดสนิทอาจเกิดแตกอยางรุนแรงไดเมื่อถูกความรอน<br />

- สารดับเพลิง สามารถใชไดทั้ผงเคมีแหง กาซคารบอนไดออกไซด โฟม เคมีชนิดขยายตัวไดสูง ฉีดน้ําเปนฝอย<br />

- ขั้นตอนการผจญเพลิง อพยพออกจากพื้นที่ และใหฉีดน้ําในระยะที่ปลอดภัย หรือบริเวณที่สามารถปองกันอันตรายไดเขาผจญเพลิง<br />

จากดานเหนือลม เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากไอระเหยและสารพิษจากการสลายตัว จะตองใชน้ําเปนปริมาณมาก ในการดับเพลิงสารนี้<br />

อยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามตองระมัดระวังการเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรงของน้ํากับ HDI<br />

- แยกสารที่ยังไมลุกติดไฟออก<br />

- เคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากพื้นที่ที่ไฟไหม ถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง<br />

- การฉีดน้ําเปนฝอยสามารถดูดซับความรอน และปองกันการสัมผัสกับสารเคมี<br />

- รักษาถังหรือภาชนะที่ถูกเพลิงไหมดวยการฉีดน้ําเปนฝอย เพื่อลดความเสี่ยงตอการระเบิดแตก<br />

9. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคลื่อนยาย/ขนสง (Storage and Handling)<br />

- การเก็บ : เก็บในที่ที่เย็นและแหง<br />

- พื้นที่ที่มีการระบายอากาศดี<br />

- อยาใหสัมผัสแสงอาทิตยโดยตรง และออกหางจากแหลงความรอนและแหลงจุดติดไฟ<br />

- เก็บรักษาในปริมาณนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได<br />

- เก็บหางจากสารที่เขากันไมได เชน น้ํา<br />

- ดูเพิ่มเติมที่สารเขากันไมได<br />

- ขอมูลอยางปลอดภัยและปองกันการเกิดความเสียหาย<br />

- พิจารณาติดตั้งอุปกรณตรวจวัดการรั่วไหล และเตือนอันตราย<br />

- เก็บภายในชวงอุณหภูมิที่แนะนําโดยบริษัทผูผลิต หรือผูจัดจําหนาย<br />

- สัญญาณเตือนอันตรายของอุณหภูมิที่สูงกวา หรือต่ํากวาที่กําหนดไวเปนสิ่งจําเปน<br />

- เก็บในที่ที่เหมาะสม , ไมสามารถแตกได ปดฉลาก<br />

- ภาชนะที่มั่นคงแข็งแรงปองกันการซึมของน้ําเขาไปได ทําจากวัสดุซึ่งสอดคลองกัน


- ปองกันปายและเก็บมองเห็นได<br />

- เก็บภาชนะบรรจุที่ความสูงที่สะดวกสําหรับการเคลื่อนยายต่ํากวาระดับตาถาเปนไปได<br />

- หลีกเลี่ยงการซอนของภาชนะบรรจุ<br />

- เก็บภาชนะบรรจุปดใหแนนสนิทเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนปองกันจากความเสียหาย<br />

- ตรวจสอบภาชนะบรรจุที่นําเขามาใหมทั้งหมด เพื่อความมั่นใจวามีการปดฉลากอยางเหมาะสม และยังไมถูกทําลาย<br />

- ตรวจสอบภาชนะบรรจุเปนประจําสําหรับการรั่วไหล หรือหมดอายุการใชงานเปลี่ยนภาชนะบรรจุที่บกพรอง<br />

- มีภาชนะบรรจุทดแทนติดฉลาก<br />

- เก็บภาชนะบรรจุที่วางเปลาในพื้นที่ที่แยกออกจากกัน<br />

- ภาชนะบรรจุวางเปลาจะมีอันตรายจากกากสารเคมีตกคาง เก็บที่มิดชิด<br />

- เก็บในพื้นที่ที่ปองกันการซึมรั่วเขาไปของน้ํา และติดตั้งอุปกรณลางตา และอาบน้ําฉุกเฉินดานนอกของสถานที่เก็บพื้นที่ที่เก็บจะตอง<br />

ทําจากวัสดุทนไฟ<br />

- ไมมีสิ่งกีดขวางทางเขา-ออก และเขาไปไดเฉพาะผูซึ่งผานการฝกอบรมและมีอํานาจหนาที่เทานั้น<br />

- แยกพื้นที่เก็บรักษาวัสดุจะตองปราศจากวัสดุที่สามารถเผาไหมได<br />

- พื้นที่รับประทานอาหารและสถานที่เก็บเครื่องมือและอุปกรณปองกันอันตราย ติดคําเตือนเขียนเครื่องหมาย<br />

- พื้นที่ที่เก็บจะตองทําจากวัสดุทนไฟ<br />

- มีอุปกรณดับเพลิงที่เหมาะสม และอุปกรณทําความสะอาดกรณีหกรั่วไหล หรือบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่เก็บสารเคมี ควบคุมในสวน<br />

ที่หกรั่วไหล โดยเก็บไวในถาดที่ทําจากวัสดุที่เขากับสารเคมีนี้ได<br />

- เก็บวัสดุสําหรับซึมซับการหกรั่วไหลใหงายตอการนําไปใช<br />

- ใหมีธรณีประตูกั้นหรือทางลาดที่ทางออก หรือขุดรองน้ํา สําหรับระบายไปสูที่ปลอดภัย<br />

- พื้นจะตองซีลสนิทเพื่อปองกันการดูดซับ<br />

- หลีกเลี่ยงการเก็บสารเคมีปริมาณมาก ๆ ในอาคาร<br />

- ถังเก็บควรมีการซีลบริเวณกนถัง วางบนพื้นโดยรอบโดยที่เขื่อนกั้นที่สามารถเก็บกักไวไดหมด<br />

- ทําตามคําแนะนําเฉพาะใด ๆ สําหรับการเก็บในเอกสารขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ ปริมาณที่ใชบันทึกมากที่สุด<br />

10. การกําจัดกรณีรั่วไหล (Leak and Spill)<br />

- ทําความสะอาด อยาสัมผัสสารเคมีที่หกลนออกมา<br />

- ถาจะใหปลอดภัยควรหยุด หรือลดการรั่วไหลของสาร<br />

- ปองกันสารนี้เขาไปในทอระบาย หรือที่อับอากาศ<br />

- เคลื่อนยายภาชนะบรรจุที่หกออกนอกพื้นที่ เพื่อใหเกิดการระบายของสารจากนั้นถายสารเคมีลงภาชนะอีกใบที่เหมาะสม ติดฉลากไว<br />

เพื่อความปลอดภัย<br />

- หกรั่วไหลเล็กนอยปดคลุมดวยสารซึมซับเฉื่อยอยางระมัดระวัง<br />

- การเทสารละลายจากการชะลางสารปนเปอนออก ไดอธิบายในหัวขอการเคลื่อนยาย ปลอยทิ้งไว 10 นาที<br />

- ความสําคัญของการเอาสิ่งปนเปอนออกถูกใชมากกวาความสําคัญของสารหกรั่วไหล<br />

- ตักกากของเสียที่เหลือทั้งหมด ใสในที่ที่เหมาะสมในบรรจุภัณฑที่มีฉลาก<br />

- ลางพื้นที่หกรั่วไหลและอุปกรณปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินดวยสารละลาย ลางเอาสิ่งปนเปอนออก<br />

- กรณีที่หกรั่วไหลรุนแรง ติดตอตํารวจและขอคําแนะนํา<br />

- สารปนเปอนของสารเคมีชนิดนี้มีความอันตรายเหมือนกับผลิตภัณฑที่หกเลอะเทอะ


11. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)<br />

หนากากปองกันการ<br />

หายใจ<br />

ถุงมือ ชุดปองกันสารเคมี แวนตานิรภัย<br />

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) :<br />

- ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ<br />

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 0.05 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10<br />

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 0.125 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณ<br />

ที่มีคา APF. = 25<br />

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 0.25 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50<br />

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand /<br />

positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50<br />

- ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถ<br />

ปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศใน<br />

ตัว (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50<br />

- ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศ<br />

ในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. =<br />

10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand /<br />

positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary selfcontained<br />

positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000<br />

12. การปฐมพยาบาล (First Aid)<br />

หายใจเขาไป : - การหายใจเขาไป ทําดวยความระมัดระวัง เพื่อใหแนใจในความปลอดภัยของตนเองกอนการพยายามเขาไป<br />

ชวยชีวิต สวมอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม และใหเขาไปยายแหลงปนเปอน หรือยายผูปวยไปที่อากาศ<br />

บริสุทธิ์ ถาหายใจลําบาก ใหใชออกซิเจนอาจเปนประโยชนถาใชโดยผูที่ไดรับการฝกอบรม ควรจะเปนไป<br />

ตามคําแนะนําของแพทย อยาใหผูปวยเคลื่อนที่โดยไมจําเปน อาการของน้ําทวมปอด อาจจะเกิดขึ้นหลังจาก<br />

สัมผัสถูกสาร 48 ชั่วโมง สงผูปวยไปหองฉุกเฉินทันที<br />

กินหรือกลืนเขาไป : - การกินหรือการกลืนเขาไป : หามไมใหสิ่งใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ ไมไดสติ หรืออาการชักอยางรุนแรง<br />

ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําอยางทั่วถึง อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240 - 300 มิลลิลิตร<br />

( 8 - 10 ออนซ ) เพื่อเจือจางสารเคมีในกระเพาะอาหาร สงไปพบแพทยโดยทันที<br />

สัมผัสถูกผิวหนัง : - การสัมผัสถูกผิวหนัง : หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง การสวมใสชุดปองกันและหนากากปองกันการหายใจ<br />

ถาจําเปน ถาเปนไปได ใหถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีออก รองเทา และเครื่องหนัง เชน สายนาฬิกา เข็มขัด<br />

และเก็บในภาชนะบรรจุที่มีฝาปด คอย ๆ เช็ดถูสารเคมีออกใหหมดโดยเร็ว คอย ๆ ลางอยางทั่วถึงดวยน้ํา และ<br />

สบูออนอยางนอย 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมด ใหการรักษาทางการแพทยทันที ทิ้งเสื้อผาที่ปน


เปอน รองเทาและเครื่องหนัง<br />

สัมผัสถูกตา : - การสัมผัสถูกตา หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง ควรสวมใสถุงมือ และหนากากปองกันหายใจถาจําเปน เปอน<br />

สีหรือแปรงโดยไวและอยางสุภาพไมอยูสารเคมีที่เพิ่มขึ้น ราดน้ําตาปนเปอนโดยทันที (น้ําอุน คอยๆ ฉีดน้ํา<br />

ลาง 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมด เปดตาใหกวางไวระยะหนึ่ง ระมัดระวังไมใหน้ําลางที่ปนเปอน<br />

ไหลเขาไปในตา หรือใบหนา รับการรักษาทางการแพทยทันที<br />

อื่น ๆ: - ขอสังเกตุในการปฐมพยาบาล ทําใหอบอุน พัก ปรึกษาแพทย และ/หรือ ศูนยพิษวิทยาที่ใกลที่สุด ( เวนแต<br />

สูดดมหรือสัมผัสสารเพียงเล็กนอย ) ขอแนะนําขางตน อาจจะถูกพิจารณาใหเปนพระราชบัญญัติสาธารณสุข<br />

ในบางขอของกฎหมาย ขอแนะนําเหลานี้ควรถูกพิจารณาโดยแพทย และผูแทนโดยชอบ ตามที่ตองการ ขั้น<br />

ตอนการปฏิบัติในการปฐมพยาบาลควรถูกทบทวนเปนประจําโดยแพทยที่คุนเคยกับวัสดุนั้น ๆ และเงื่อนไข<br />

ในการใชงาน<br />

13. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts)<br />

- ขอมูลทางนิเวศวิทยา สวนนี้จะเปนสาระสําคัญตอการพัฒนาในอนาคต<br />

- การพิจารณาในการกําจัด พิจารณาโดยสวนราชการ<br />

- ความตองการเบื้องตนของสวนปกครองระดับทองถิ่น และระดับภูมิภาค เพื่อที่ตองการกําจัด เก็บกากของเสียจากการลางทําความ<br />

สะอาดในภาชนะที่มีฝาปดในที่ปลอดภัย<br />

- พื้นที่ที่มีการระบายอากาศเปนอยางดีมีอยางนอย 24 ชั่วโมง<br />

- การกําจัดโดยการเผาภายใตการควบคุม หรือการฝงกลบแบบปลอดภัย อาจจะเปนวิธีการที่ยอมรับได<br />

14. การเก็บตัวอยางและวิเคราะห (Sampling and Analytical)<br />

NMAM NO. : 5521, 5522 OSHA NO. : 42<br />

วิธีการเก็บตัวอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร<br />

วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น<br />

ขอมูลอื่น ๆ :<br />

- อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ลิตรตอนาที<br />

- ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 5 ลิตร สูงสุด 500 ลิตร<br />

- การวิเคราะหใชเทคนิค high preasure liquid chromatograph มี uvdetector<br />

15. การปฎิบัติกรณีฉุกเฉิน (Emergency Response)<br />

AVERS Guide : 41 DOT Guide : 156<br />

- กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลข<br />

โทรศัพท 1650


- ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447 ,0 2298<br />

2457<br />

16. เอกสารอางอิง (Reference)<br />

1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา -"<br />

2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 160"<br />

3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 188"<br />

4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา -"<br />

5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1252"<br />

6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดัชนีวัดทางชีวภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 35"<br />

7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. ,0278"<br />

8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา -"<br />

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and<br />

Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 34"<br />

10. Source of Ignition หนา-"<br />

11. "อื่น ๆ"http://chemtrack.trf.or.th"<br />

พัฒนาโปรแกรมและรวบรวมขอมูลโดย คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

หากมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะโปรดติดตอ<br />

กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ<br />

โทรศัพท : 0 2298 2447, 0 2298 2457<br />

โทรสาร : 0 2298 2451<br />

E-Mail : dbase_c@pcd.go.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!