08.11.2014 Views

Marketing Analysis:Thailand Tourism Campaign - Mahidol University

Marketing Analysis:Thailand Tourism Campaign - Mahidol University

Marketing Analysis:Thailand Tourism Campaign - Mahidol University

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

โครงการ ‘เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกค ัก’<br />

ทีมผู ้วิเคราะห์<br />

เบญจมาภรณ์ เข็มกลัด<br />

หยาดทิพย์ อัศวเวชมงคล<br />

ธรรมปกรณ์ ชุ่มสวัสดิ์<br />

นิธิกานต์ พิณเมืองงาม<br />

อรอ าไพ รัชนีกร<br />

ต้นก าเนิดของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัย โดยพระด าริของพระเจ ้าบรมวงศ์เธอกรมพระ<br />

ก าแพงเพชรอัครโยธิน ครั้งทรงด ารงต าแหน่งผู ้บัญชาการรถไฟ โดยการส่งเรื่องราวเกี่ยวกับเมืองไทยไป<br />

เผยแพร่ในสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. 2467 โดยใช ้ชื่อว่า “กรมส่งเสริมการท่องเที่ยว” ในปี 2502 ได ้จัด<br />

ตั้งขึ้นเป็ นองค์การอิสระ เรียกว่า "องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย"มีชื่อย่อว่า "อ.ส.ท."<br />

ด าเนินการมาจนกระทั่งวันที่ 4 พฤษภาคม 2522 ก็ได ้จัดตั้งเป็ น "การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย" โดยมี<br />

ชื่อย่อว่า "ททท.”<br />

วัตถุประสงค์ของ “การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยคือ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ<br />

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ตลอดจนการประกอบอาชีพของคนไทยในอุตสาหกรรม<br />

ท่องเที่ยว เผยแพร่ประเทศไทยในด ้านความงามของธรรมชาติ โบราณ<br />

สถาน โบราณวัตถุประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา และ วิวัฒนาการของ<br />

เทคโนโลยี ตลอดจนกิจการอย่างอื่นอันจะเป็ นการชักจูงให ้มีการเดินทางท่องเที่ยว<br />

อ านวยความสะดวกและความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว ส่งเสริมความเข ้าใจอันดีและความเป็ นมิตรไมตรี<br />

ระหว่าง ประชาชนและระหว่างประเทศโดยอาศัยการท่องเที่ยว ริเริ่มให ้มีการพัฒนาการท่องเที่ยว และ<br />

เพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และสิ่งอ านวยความสะดวกให ้แก่นักท่องเที่ยว<br />

ปัจจ ัยกระตุ้นการท่องเที่ยวและผลกระทบ<br />

จากข ้อมูลทางสถิติที่ได ้จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได ้อธิบายว่าการที่เกิดวิกฤตการณ์ต่างๆ ไม่ว่า<br />

จะเป็ นด ้านการเมือง โรคระบาด ภัยธรรมชาติ หรือภาวะเศรษฐกิจถดถอย ภาวะราคาน ้ามันที่สูงขึ้น มิได ้<br />

กระทบกับอัตราการเติบโตของตลาดการท่องเที่ยวในประเทศแบบไทยเที่ยวไทย (Domestic <strong>Tourism</strong>)<br />

มากนัก ซึ่งผิดกับตลาดชาวต่างชาติเที่ยวไทย (Inbound <strong>Tourism</strong>) ที่ได ้รับผลกระทบ<br />

ในภาวะที่เศรษฐกิจฝืดเคือง ผู ้คนเลือกที่จะประหยัดอดออมมากกว่าที่จะน าไปใช ้ท่องเที่ยว หรือลด<br />

ความถี่ในการท่องเที่ยวลง ส่วนในด ้านการบริการของการท่องเที่ยวเช่น บริการด ้านการขนส่ง<br />

นักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยว ก็ได ้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ โดยดูจากการเปลี่ยนแปลงราคาค่า<br />

โดยสารของรถไฟกับรถทัวร์ที่แตกต่างกัน เป็ นต ้น<br />

อีกสาเหตุส าคัญที่ส่งผลกระทบกับการท่องเที่ยวอยู่ตลอด คือปัญหาในด ้านโครงสร ้าง ความไม่พร ้อมต่อ<br />

การท่องเที่ยว ทั้งด ้านบุคคลากรที่ขาดความสามารถ ด ้านสถานที่ที่ไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม ด ้าน<br />

ความปลอดภัย เป็ นต ้น สิ่งเหล่านี้เป็ นปัญหาที่ยังไม่ได ้รับการแก ้ไข และเมื่อประกอบกับวิกฤตการณ์<br />

ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงซบเซา จึงเป็ นเหตุที่ท าให ้การท่องเที่ยวได ้ถูกก าหนดให ้<br />

เป็ นวาระแห่งชาติ รัฐบาลได ้ออกนโยบายแก ้ไขวิกฤตการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบัน โดยเฉพาะมุ่งเน ้นไป<br />

ที่การกระตุ ้นให ้คนไทยท่องเที่ยวในประเทศมากขึ้น อย่างน้อยก็เพื่อหวังที่จะเพิ่มสภาพคล่องใน<br />

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ให ้ได ้ต่อลมหายใจไปอีกจนกว่าที่ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมจะดีขึ้น<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

1 | P a g e


จุดเริ่มต้นของโครงการ “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกค ัก”<br />

แผนกลยุทธ์และแนวทางการด าเนินงานของ ททท. ในปัจจุบัน เน ้นการส่งเสริมนักท่องเที่ยวต่างชาติใน<br />

มาท่องเที่ยวในประเทศ โดยใช ้การสื่อสารผ่านสินค ้าหลัก 7 หมวดนั้นคิดว่าจะสามารถดึงดูดให ้<br />

นักท่องเที่ยวเข ้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสามารถน าเสนอสถานที่ท่องเที่ยวที่มีความ<br />

หลากหลายจับกลุ่มลูกค ้าได ้ทุกกลุ่มและแสดงถึงความเป็ นเอกลักษณ์ของคนไทยที่ไม่เหมือนชาติใดใน<br />

โลกและพยายามสื่อสารไปว่าประเทศไทยสามารถมาเที่ยวได ้ตลอดทั้งปี ดังนั้นคิดว่าการท่องเที่ยวแห่ง<br />

ประเทศไทยใช ้แผนกลยุทธ์นี้ถูกแล ้วในการจับตลาดนักท่องเที่ยว<br />

ส่วนการกระตุ ้นกลุ่มตลาดคนไทยโดยใช ้<br />

<strong>Campaign</strong> “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทย<br />

คึกคัก” ในการโปรโมตเพื่อให ้คนไทยหันมาเที่ยว<br />

ในเมืองไทย เพื่อกระตุ ้นเศรษฐกิจในประเทศนั้น<br />

คิดว่ามีส่วนผลักดันมากน ้อยเพียงใด ต ้องขึ้นอยู่<br />

กับความมีส่วนร่วมของภาครัฐบาลและภาคเอกชน<br />

ว่าจะช่วยกันร่วมมือเพื่อเผยแพร่ตัวโครงการ เช่น<br />

หากรัฐบาลให ้มีวันหยุดเป็ นระยะเวลานาน<br />

จนเกินไปก็จะส่งผลให ้นักท่องเที่ยวบางกลุ่ม<br />

ตัดสินใจเดินทางไปต่างประเทศมากกว่าที่จะท่องเที่ยวในประเทศ<br />

วัตถุประสงค์โครงการ“เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” คือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว<br />

ภายในประเทศ เพื่อกระตุ ้นเศรษฐกิจไทย ให ้พ ้นวิกฤต และการกระจายรายได ้สู่ท ้องถิ่น ดังนั้น การ<br />

ท่องเที่ยวแห่งประเทศ จึงได ้ท าการกระตุ ้นให ้หันมาท่องเที่ยวในเมืองไทยมากขึ้น โดยเน ้นที่ชื่อแคมเปญ<br />

“เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” ซึ่งจะดึงดูดนักท่องเที่ยวจากการใช ้ทรัพยากรที่สวยงามใน<br />

เมืองไทย และกระตุ ้นด ้วยการให ้รับรู ้ว่าการท่องเที่ยวไทย มีส่วนช่วยเศรษฐกิจไทย ให ้พ ้นวิกฤตได ้ ซึ่ง<br />

จะท าให ้นักท่องเที่ยวเปลี่ยนจากแนวคิด จากเดิมที่คิดว่าการท่องเที่ยว เป็ นเพียงการพักผ่อน ชื่นชม<br />

ธรรมชาติ เก็บเกี่ยวประสบการณ์ กลายเป็ นเพิ่ม Value ในการท่องเที่ยวด ้วยค าพูดที่ว่า “ไปช่วยชาติ” ได ้<br />

และจากเดิมที่คิดว่าการท่องเที่ยว มีแต่จะสิ้นเปลื้อง กลับเห็นแนวคิด<br />

ใหม่ที่ว่า การท่องเที่ยวเป็ นการกระจายรายได ้ ท าใหเงินหมุนเวียน<br />

้<br />

ภายในประเทศ และส่งผลดีต่อเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการจ ้างงานกัน<br />

ในท ้องถิ่นมากขึ้นอีกด ้วย<br />

ททท. ได ้ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target Market) คือ ทุกๆ<br />

กลุ่มเป้าหมายทั้งคนไทย และคนต่างประเทศ เน ้นอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้น<br />

ไป ทั้งชายและหญิง คนที่มีก าลังเงินในการท่องเที่ยว เน ้นทางกลุ่ม<br />

A และ B ทั้งนี้ กลุ่มกลุ่มเป้าหมาย ที่ได ้ตั้งไว ้ เป็ นกลุ่มที่มีศักยภาพ<br />

ในการท่องเที่ยวสูง ดังนั้นเราเราจึงไม่ควรมองข ้าม คู่แข่ง ของการท่องเที่ยวไทย ที่สามารถดึง<br />

นักท่องเที่ยวจากการเที่ยวประเทศไทยได ้<br />

คู่แข่งของการท่องเที่ยวไทย<br />

จากการประเมินแบรนด์ของประเทศต่างๆ จากนักท่องเที่ยว 2,700 ราย 18 ประเทศ และผู ้เชี่ยวชาญที่<br />

อยู่ในวงการท่องเที่ยวของโลก 30 คน โดย บริษัท Future Brand ซึ่งเป็ นผู ้ที่มีชื่อเสียงของ<br />

สหรัฐอเมริกาด ้านการสร ้าง และพัฒนา แบรนด์สินค ้า ได ้ส ารวจไว ้ พบว่า ประเทศไทย เป็ นที่1 ในเรื่อง<br />

คุณค่าของการท่องเที่ยวที่สมราคา และเป็ นที่ 3ในเรื่องความเป็ นเอกลักษณ์ และความมีมิตรไมตรีของ<br />

ประชาชน ซึ่งถือได ้ว่าเป็ นจุดแข็งของประเทศไทย ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว ให ้เข ้ามาท่องเที่ยวใน<br />

ประเทศไทยได ้<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

2 | P a g e


และจากการวิเคราะห์คู่แข่ง ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พบว่าคู่แข่งที่ส าคัญที่สุดของ การ<br />

ท่องเที่ยวไทย คือ กลุ่มประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิค เนื่องจาก เมื่อดูจากการเปรียบเทียบราคาของ<br />

กลุ่มประเทศเหล่านี้ มีราคาที่ใกล ้เคียงกัน รวมไปถึงแต่ละประเทศก็ได ้ดึงจุดเด่นของตนที่แตกต่างกัน<br />

มาออกสื่อเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวอีกด ้วย คือ<br />

กลุ่มประเทศที่เน ้นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ – มาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง<br />

กลุ่มประเทศที่เน ้นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงแฟชั่น – ญี่ปุ ่ น เกาหลี<br />

กลุ่มประเทศที่เน ้นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงศิลปะ วัฒนธรรม – อินเดีย จีน เกาหลี เวียดนาม<br />

กลุ่มประเทศที่เน ้นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ – ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์<br />

ดังนั้น ททท. ต ้องทราบถึงจุดเด่นของแต่ละประเทศ เพื่อน ามาพัฒนา ปรับปรุงในการท่องเที่ยวไทย<br />

ไม่ให ้ด ้อยหรือขาดไป เช่น เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารทั้งภายใน และภายนอกประเทศ การคมนาคม<br />

เป็ นต ้น ขณะเดียวกันก็ต ้องคงความเป็ นเอกลักษณ์ของประเทศไทย โดยใช ้ความมีน ้าใจ การต ้อนรับ<br />

แขกผู ้มาเยือน ไม่ให ้หาย และลดลงไปซึ่งเป็ นเสน่ห์อย่างหนึ่งของคนไทยที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว<br />

ได ้มากเช่นกัน<br />

ใช้สื่อเป็ นเครื่องมือในการใช้กลยุทธ์ในเชิงรุก<br />

ททท. ใช ้กลยุทธ์เชิงรุกเพื่อเจาะเข ้าไปถึงกลุ่มเป้าหมาย ได ้ทุ่มงบประมาณด ้านสื่อประชาสัมพันธ์<br />

เกี่ยวกับแคมเปญ “เที่ยวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทยคึกคัก” ตั้งแต่ปลายปี 2551 เหมือนเป็ นการชิมลาง<br />

โดยใช ้โปงลางสะออนเป็ นผู ้ถ่ายทอดเรื่องราว เมื่อเข ้าปี พ.ศ. 2552 ททท. ได ้ร่วมมือกับบริษัท จีเอ็ม<br />

เอ็มแกรมมี่ในการที่จะเลือก Brand Ambassador ซึ่งทั้ง<br />

สองฝ่ ายเลือก เบิร์ด-ธงไชย แม็คอินไตย์ มารับหน ้า<br />

ที่นี้โดยยอมทุ่มงบหลายล ้านเพื่อท าการโฆษณา<br />

ประชาสัมพันธ์กันตลอดปี ที่เบิร์ด ธงไชยได ้ท าหน ้าที่นี้อีก<br />

ครั้ง หลังจากที่เคยเป็ น Brand Ambassador ให ้กับ<br />

ททท.ในปี พ.ศ. 2548 ซึ่งในช่วงปีนั้นประเทศไทยก็เผชิญ<br />

วิกฤตและผลกระทบจากภัยสึนามิ ท าให ้เกิดความ<br />

หวาดกลัวจนการท่องเที่ยวในปีนั้นชะงัก ททท.จึงต ้อง<br />

ท างานอย่างหนักด ้วยการขัดแคมเปญ “ Happiness<br />

เที่ยวที่ไหนไม่สุขใจเท่าบ ้านเรา” ตามด ้วยการปล่อยมาส<br />

คอต “สุขใจ” ออกมาพร ้อมกันด ้วยในปีนั้น การตอบรับ<br />

แคมเปญ Happiness เป็ นไปในทางที่ดี และโฆษณาที่มี<br />

เบิร์ด ธงไชยได ้รับความสนใจเป็ นอย่างมาก เมื่อถึงช่วงที่<br />

เผชิญวิกฤติอีกครั้งจึง ไม่น่าแปลกใจเท่าไรนักที่ท าไม<br />

ททท. ถึงยอมทุ่มงบประมาณลงไปอีกครั้ง เพราะอย่างน ้อยชื่อของเบิร์ด ธงไชยก็ท าให ้คนสนใจได ้แม ้จะ<br />

เพิ่งเริ่มการแถลงข่าวนั่นเอง<br />

แต่ใช่ว่าการมี Brand Ambassador ที่มีชื่อเสียงจะท าให ้แคมเปญประสบความส าเร็จในทันที การจัดการ<br />

ด ้านสื่อประชาสัมพันธ์ก็มีผลต่อการจะสื่อสารกลับกลุ่มเป้าหมาย ด ้วยเหตุผลที่ว่าการตัดสินใจในการ<br />

ท่องเที่ยวของคนแต่ละคนนั้นขึ้นอยู่กับอารมณ์เมื่อไปเกี่ยวข ้องกับ Emotional มากกว่า Functional ท า<br />

ให ้การที่จะกระตุ ้นให ้เกินพฤติกรรมการท่องเที่ยว ททท.จะต ้องทุ่มงบประมาณด ้านสื่อประชาสัมพันธ์ไป<br />

ทุกชนิดโดยเฉพาะสื่อภายนอกอาคารเช่น Billboard ด ้วยเหตุผลที่ว่า สถานที่ท่องเที่ยวนั้นมีความ<br />

สวยงามมากท าให ้ต ้องใช ้พื้นที่ที่ค่อนข ้างมากเพื่อจะดึงความสนใจจากกลุ่มเป้าหมายได ้ รวมไปถึงสื่อ<br />

ภายนอกอาคารอย่างแทกซี่ รถไฟฟ้า รถไฟ รถใต ้ดิน เรียกได ้ว่าไม่ว่าจะไปทางไหนจะต ้องเห็นสื่อที่<br />

ททท. ใชเป็ ้ นเครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

3 | P a g e


นอกจากสื่อภายนอกอาคารแล ้วทางแกรมมี่ยังไม่<br />

ลืมจุดเด่นของเบิร์ด ธงไชย และเรียกได ้ว่าเป็ น<br />

เอกลักษณ์ของททท.เลยก็ว่าได ้ที่จะต ้องมีเพลง<br />

ประจ าปีเพื่อเป็ นการโปรโมทแคมเปญต่างๆ ที่ได ้<br />

วางเอาไว ้ และปีนี้ก็มีเพลงที่ชื่อว่า “ไปเที่ยวกัน”<br />

ทุกประโยคในเนื้อเพลงจะกล่าวเชิญชวนให ้<br />

ออกไปเที่ยวในเมืองไทย ตรงกับวัตถุประสงค์ที่<br />

อยากให ้การท่องเที่ยวในปี 2552 เติบโตขึ้น 5%<br />

นอกจากเพลง จุดเด่นอีกอย่างที่มีการจับตามอง<br />

คือโฆษณาทางโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์และวิทยุ ที่มีการเผยแพร่ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งผลตอบรับเรียกได ้<br />

ว่าเป็ นไปในขั้นดี<br />

ทว่าผลตอบรับกลับไม่ใช่สิ่งที่ททท.ต ้องการ แต่เป็ นพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายตที่ ททท. อยากได ้รับ<br />

การใช ้สื่อทาง Above The line ไม่ใช่สิ่งเดียวที่การท าการตลาดเชิงรุกต ้องการ ททท. ไม่พลาดที่จะลง<br />

ไปสู่ Below The Line แต่การที่จะลงมือท าอยู่แบบโดดเดี่ยวคงไม่ประสบผลเท่ากับการขอความร่วมมือ<br />

จากทั้งหน่วยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจและเอกชน เป็ นการร่วมมือกันครั้งใหญ่ถ ้ามองในส่วนที่ดีคือความ<br />

สามัคคีที่แต่ละฝ่ ายต ้องการที่จะให ้การท่องเที่ยวดีขึ้น เม็ดเงินในระบบเศรษฐกิจจะได ้หมุนเวียนในระบบ<br />

มากขึ้น อย่างเช่น การร่วมท ากิจกรรม เที่ยวรถไฟครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก กับการรถไฟแห่ง<br />

ประเทศไทย, ร่วมมือกับจีเอ็มเอ็มแกรมมี่กับรายการ Five Live จัดคอนเสิร์ตในจังหวัดต่างๆ การร่วมมือ<br />

รับส่วนลดกับ AIS เป็ นต ้น<br />

อีกหนึ่งกิจกรรมที่เป็ นเหมือนหัวใจ<br />

หลักในการจัดท าคือและที่สามารถ<br />

ท าให ้กลุ่มเป้าหมายสนใจได ้คือการ<br />

จัดงานงานเทศกาลเที่ยวเมืองไทย<br />

เป็ นการจัดน าผู ้ประกอบการที่<br />

เกี่ยวข ้องกับการท่องเที่ยวมาออ<br />

กร ้านและท าการจัดโปรโมชั่นลด<br />

แลกแจกแถมต่างๆ นอกจาก<br />

กลุ่มเป้าหมายจะได ้ประโยชน์<br />

ผู ้ประกอบการก็ได ้ประโยชน์อีก<br />

เช่นกัน ทว่าในข ้อดีมันจะมีข ้อเสีย<br />

แฝงมาด ้วยเสมอ เมื่อการจัดระเบียบ<br />

ของททท. ยังไม่สามารถจัดการกับ<br />

ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งได ้ เช่นการ<br />

ที่โรงแรมหรือรีสอร์ทบางแห่งที่คิดจะเอาเปรียบลูกค ้าด ้วยการขายแพคเกจที่ถูกแสนถูกแต่เมื่อถึงเวลาใช ้<br />

จริงๆ กลับใช ้ไม่ได ้ หรือปัญหาผู ้ประกอบการปลอมที่เข ้ามาสวมรอยในการขายแพคเกจทว่าหลังจากงาน<br />

ลูกค ้ากลับพบว่าตัวเองได ้แพคเกจที่ไม่มีอยู่จริงมา ปัญหาเหล่านี้ไม่ได ้เกิดเพียงครั้งเดียว เกิดขึ้นบ่อยจน<br />

เรียกได ้ว่าเป็ นปัญหาเรื้อรังของการจัดงานเลยก็ว่าได ้ ซึ่งผู ้ถูกเอาเปรียบไม่ใช่จะนิ่งเฉยๆ ต่างก็มีการ<br />

ร ้องเรียนให ้ทางททท.รับทราบ ทว่าก็ไม่ได ้มีมาตรการการแก ้ไขหรือควบคุมอย่างจริงจัง ซึ่งเป็ นเรื่องน่า<br />

ห่วงว่าถ ้าเกิดปัญหาเช่นนี้ต่อไป แทนที่การจัดงานจะช่วยเสริมการท่องเที่ยวกลับเป็ นการยับยั้ งการ<br />

ท่องเที่ยวในเมืองไทยเสียมากกว่า<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

4 | P a g e


๑๒เดือน ๗ ดาว ๙ ตะว ัน จ ับกลุ่มเป้ าหมายให้อยู่หม ัด<br />

จากแคมเปญเที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคักในต ้นปี ททท. ก็ยังไม่หยุดการกลยุทธ์ในเชิงรุก<br />

เพียงเท่านั้นยังได ้ปล่อยแคมเปญ “๑๒ เดือน ๗ ดาว ๙ ตะว ัน มห ัศจรรย์เมืองไทยที่ต้องไป<br />

ส ัมผ ัส" เป็ นส่วนหนึ่งของ แคมเปญใหญ่อย่าง เที่ยวไทยฯ เน ้นกลุ่มสินค ้าทางการท่องเที่ยวที่จัดได ้ว่า<br />

เป็ นสุดยอดทางความงามทางการท่องเที่ยวของเมืองไทย โดยน าเรื่องของเวลาเข ้ามาเป็ นจุดกระตุ ้นให ้<br />

เกิดการท่องเที่ยว ซึ่งความหมายของชื่อแคมเปญนี้คือ ๑๒ เดือน คือปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ถูกคัดสรร<br />

มาแล ้วว่าสวยที่สุด น่าดูที่สุด ที่จะปรากฏความงามมาให ้ดูได ้เฉพาะเดือนนั้นๆ เท่านั้น ๗ ดาว คือ<br />

มหัศจรรย์แห่งความสวยงามที่เกิดขึ้นยามค ่าคืนที่น่าสนใจที่สุดของเมืองไทย ๙ ตะวัน คือสุดยอดแห่ง<br />

ปรากฏการณ์ภาคกลางวัน ยามที่ธรรมชาติถูกอาบไปด ้วยแสงอาทิตย์สรีระของความงดงามจะปรากฏให ้<br />

เราเห็น<br />

การใช ้สื่อประชาสัมพันธ์และตัว Brand Ambassador<br />

ยังคงเป็ นเบิร์ด ธงไชยเช่นเดิม เป็ นการกระตุ ้นช่วงกลางปี<br />

พ.ศ. 2552 เพื่อท าให ้กลุ่มเป้าหมายรับรู ้ถึงแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวในโครงการนี้ ใช ้สื่อไม่ได ้ต่างจากช่วงต ้นปีมาก<br />

นัก สิ่งที่เพิ่มเข ้ามาคือการท าหนังสือ คู่มือสถานที่<br />

ท่องเที่ยวเพื่อแจ ้งให ้ทราบว่ามีที่ท่องเที่ยวที่ไหนบ ้างใน<br />

โครงการ มีการเผยแพร่ทางสื่ออินเตอร์เน็ตต่างๆ ทว่า<br />

กลุ่มเป้าหมายกลับไม่ได ้รับรู ้ในสิ่งที่ททท. ต ้องการจะสื่อ<br />

ว่าที่แท ้จริงแล ้ว ๑๒ เดือน ๗ ดาว ๙ ตะวัน คืออะไร เสมือนรู ้จักแค่หน ้าตาคนแต่ไม่รู ้ได ้รู ้ลึกไปว่าชื่ออะไร<br />

มีรายละเอียดอย่างไร ถ ้าไม่มีหนังสือคู่มือก็เหมือนกับว่างการ การกระตุ ้นต่างๆ ที่ท าลงไปในเรื่องสื่อ<br />

กลายเป็ นการลงทุนอย่างเสียเปล่า เมื่อมีกลุ่มเป้าหมายหลายคนสนใจเมื่อแคมเปญออกมาในช่วงแรก<br />

เหมือนท าให ้เกิด Attention แต่ไม่ได ้ลึกไปถึง Interest และพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็ นไปตาม<br />

จุดประสงค์ที่วางไว ้แต่ต ้นมันคงเป็ นทางที่ยาวนานเมื่อททท. ไม่ได ้กระท ามากไปกว่าการใช ้สื่อโฆษณา<br />

ประชาสัมพันธ์ เป็ นการ Inform มากกว่าการกระตุ ้นต่อให ้เกิดพฤติกรรมจริงๆ<br />

ภาพที่สวยหรูของโครงการและงบประมาณที่ได ้ลงไป ท าให ้การกระตุ ้นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมการ<br />

ท่องเที่ยวนั้นเป็ นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ ทว่าสิ่งที่ลงทุนไปกับสิ่งที่ที่ได ้รับกลับมามันมีค่าเท่ากับ มากกว่า หรือน ้อย<br />

กว่า ยังไม่สามารถพิสูจน์ได ้ จะรู ้ก็ต่อเมื่อจบปี 2552 นี้ไปแล ้ว อีกทั้งพฤติกรรมของคนจะสามารถเปลี่ยน<br />

มาท่องเที่ยวเมืองไทยแทนการท่องเที่ยวต่างประเทศได ้หรือไม่ ยังเป็ นโจทย์ใหญ่ที่ ททท. ต ้องท างาน<br />

กันหนัก ทว่าสิ่งที่ท างานมันถูกทางหรือไม่<br />

ปัจจุบ ันที่จะส่งผลต่ออนาคตที่ก าล ังจะมาถึง<br />

ถ ้าเช่นนั้นงบประมาณที่จัดลงไปในแคมเปญเที่ยวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทบคึกคักทั้งหมดเป็ นการ<br />

ลงทุนเสียเปล่าหรือไม่ มันเป็ นแค่การให ้ประชาชนหันมาสนใจแล ้วก็เดินผ่านมันเลยหรือเปล่า ททท. ได ้<br />

สนใจถึงผลตอบรับมากน ้อยแค่ไหน<br />

อีกทั้ง ททท. กระตุ ้นเพียงแต่ตัวแคมเปญ แต่วิธีการด าเนินการจัดการ<br />

สถานที่ท่องเที่ยวให ้รับมือกับจ านวนคนที่ก าลังจะเดินทางไปได ้ไม่ดีพอ การ<br />

บริการไม่ประทับใจ เป็ นการเสี่ยงในอนาคตว่าถ ้าเป็ นเช่นนี้แล ้วสู ้น าเงินที่มี<br />

ไปเที่ยวต่างประเทศในราคาที่เท่ากันดูจะคุ ้มเสียกว่าการเที่ยวเมืองไทย นี่<br />

เป็ นอีกโจทย์ที่ ททท. ต ้องน ากลับไปคิดว่าจะท าอย่างไรให ้ภาพลักษณ์การ<br />

ท่องเที่ยวไทยมีคุณค่าเหมือนกับต ่าแหน่งที่ ททท. ได ้วางตัวเองเอาไว ้<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

5 | P a g e


สิ่งส าคัญที่ไม่อาจหลงลืมคือ แคมเปญนี้เป็ นสิ่งที่กลุ่มเป้าหมายต ้องการหรือไม่ เพราะถ ้ามองลงลึกยังมี<br />

ความต ้องการในการท่องเที่ยวอีกหลายชนิดที่น่าสนใจและถ ้าททท. ลงมือท าอาจจะกระตุ ้นพฤติกรรม<br />

ต่างๆ ของประชาชนซึ่งเป็ นกลุ่มเป้าหมายของททท. อย่างเช่น Retro-marketingที่เป็ นการตลาดที่<br />

น่าสนใจ อย่างน้อยยังมีหลายคนที่อยากจะร าลึกถึงอดีตเก่าๆ การที่หาสถานที่ท่องเที่ยวเก่าทว่าใหม่ใน<br />

สายตาของคนรุ่นใหม่ เปรียบเสมือนเป็ น Unseen <strong>Thailand</strong> ที่ไม่ต ้องเดินทางไกลให ้เหนื่อย ไปกลับได ้<br />

ในวันเดียว ไม่ต ้องเสียค่าใช ้จ่าย เหมาะสมกับเศรษฐกิจที่ก าลังอยู่ในภาวะซบเซา อาจจะเหมาะกับคนที่มี<br />

เวลาน ้อยมากกว่า อีกทั้งถ ้าการเที่ยวเมืองไทยมีค่าใช ้จ่ายที่ค่อนข ้างสูง น่าจะเป็ นทางเลือกอีกทางที่<br />

ททท. ประเด็นที่น่าสนใจต่อจากนี้คือ ททท. จะลงมือท ากลยุทธ์การท่องเที่ยวที่จะนอกจากจะกระตุ ้นให ้<br />

เกิดความสนใจในตัวแคมเปญแล ้วยังสามารถวางกลยุทธ์ที่จะท าให ้คนไทยเกิดพฤติกรรมในการ<br />

ท่องเที่ยวเมืองไทยได ้มากกว่าเดิม หรือท าอย่างไรที่จะท าให ้คนไทยเปลี่ยนพฤติกรรมจากการเที่ยว<br />

ต่างประเทศให ้มาเที่ยวเมืองไทย และแคมเปญเที่ยวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทยคึกคักจะคึกคักอย่างที่<br />

ได ้วางแผนไว ้หรือไม่ คงต ้องติดตามตอนต่อไป...<br />

อ้างอิง<br />

1. „การตลาดของบญถาวร‟ e-Learning Focus Group, วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ธันวาคม<br />

2552.<br />

2. „การตลาดอภิปรายเรื่อง แคมเปญ ๑๒เดือน ๗ ดาว ๙ ตะวัน‟ e-Learning Focus Group วิทยาลัยการ<br />

จัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10 ธันวาคม 2552.<br />

http://inside.cm.mahidol.ac.th/mkt/index.php?option=com_content&view=article&id=363<br />

:marketing-conference-amazing-thailand&catid=4:mk-events&Itemid=12<br />

3. http://thai.tourismthailand.org/ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

4. http://www.domesticthailand.com/ สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ<br />

5. http://www.atta.or.th/ สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว<br />

6. http://www.tourism.go.th/ ส านักงานพัฒนาการท่องเที่ยว<br />

7. http://www.mots.go.th/ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

8. http://www.etatjournal.com/ e tat tourism journal<br />

9. http://www.1279thailand.com/ ๑๒ เดือน ๗ดาว ๙ตะวัน<br />

10. http://nichkhunbreak.com/th/ โครงการ Let‟s Take A Break<br />

11. http://www.facebook.com/pages/Nichkhun-Lets-Take-a-Break/156194614168 FaceBook<br />

โครงการ Let‟s Take A Break<br />

12. http://www2.tat.or.th/stat/web/static_index.php สถิติการท่องเที่ยว<br />

13. http://www.เล่าสู่กันฟัง.com โครงการประกวดภาพเล่าสู่กันฟัง<br />

14. http://www.facebook.com/tourismthailand FaceBook การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

15.http://www.facebook.com/Amazing<strong>Thailand</strong> FaceBook Amazing <strong>Thailand</strong><br />

16. http://twitter.com/tat_thailand Twitter การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

17. http://www.adintrend.com<br />

18. http://www.youtube.com<br />

19. www.ohmmag.com Out of Home Magazine Traveling Media<br />

20. http://www.gmmgrammy.com/<br />

21. http://twitter.com/go2thailand<br />

22. www.saranghaeyo.com<br />

23. ททท. เปิดตัวแคมเปญ “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก”ชู “เบิร์ด” ออกโรง ชวนคนไทยไป<br />

เที่ยวกัน http://www.ryt9.com/s/prg/528822/<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

6 | P a g e


24. เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก<br />

http://www.thaitravelhealth.com/blog/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B<br />

9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%<br />

84%E0%B8%A3%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7<br />

%E0%B9%89%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9/<br />

25. นิตยสาร Marketeer ปีที่10 ฉบับที่ 116 ตุลาคม พ.ศ.2552<br />

26. นิตยสาร Business.com ฉบับเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 หน ้า 74<br />

27. นิตยสาร Business.com ฉบับเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 หน ้า 112<br />

Copyright 2010 College of Management, <strong>Mahidol</strong> <strong>University</strong>. All rights reserved. February 2010.<br />

7 | P a g e

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!