07.10.2014 Views

HIGH ALERT DRUG

HIGH ALERT DRUG

HIGH ALERT DRUG

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>HIGH</strong> <strong>ALERT</strong> <strong>DRUG</strong><br />

Dipotassium Phosphate (K 2 HPO 4 ) 8.7 w/v% ; 20ml<br />

ประกอบด้วย K + 20 mEq/20 ml. และ HPO 4<br />

2-<br />

20 mEq/20 ml (10 mmol/20ml)<br />

ข้อบ่งใช้ : Hypokalemia และ Hypophosphatemia<br />

ขนาดยา :<br />

Hypophosphatemia<br />

เด็ก : ขนาดยาเริ่มต้น (Loading dose) 0.25-0.5 mmol/kg IV infusion in 4-6 hr.<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง (Maintenance dose) 0.5-1.5 mmol/kg/24 hr. IV<br />

ผู ้ใหญ่: ขนาดยาเริ่มต้น 0.08-0.16 mmol/kg IV infusion in 6 hr. และสามารถเพิ่ม<br />

ขนาดยาครั ้งละ 25% - 50% ถ้ายังมีอาการ hypophosphatemia อยู ่ แต่ไม่เกิน 0.24<br />

mmol/kg/day<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง 15-30 mmol/24 hr. IV<br />

Hypokalemia<br />

เด็ก : ขนาดยาเริ่มต้น 1 mEq/kg IV in 1-2 hr.<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง ไม่ควรเกิน 1 mEq/kg/hr<br />

ผู ้ใหญ่ : 5-10 mEq/hr. แต่ไม่เกิน 40 mEq/hr.<br />

ไม่ควรให้ยาเร็วเกิน 20 mEq/ชม.<br />

เนื ่องจากจะเกิดการชักกระตุกหรือระดับโปแตสเซียมในเลือดสูงเกิน<br />

ข้อมูลส าคัญที ่ควรทราบ<br />

อาการเมื ่อได้รับยาเกินขนาด : กล้ามเนื ้ออ่อนแรง, paralysis, peaked T<br />

waves, flattened P waves, Prolongation of QRS complex, ventricular<br />

arrhythmias, tetany<br />

ควรตรวจวัดระดับ K และ Phosphate เพื่อติดตามผลการรักษา และตรวจ EKG เพื่อ<br />

ระวังการได้รับยาเกินขนาด


การแก้พิษ เมื่อได้รับยาเกินขนาด ให้ลดระดับโปแตสเซียม โดยใช้ Kayexalate, Kalimate เพื่อ<br />

ขับโปแตสเซียมออกจากทางเดินอาหาร หรือให้ยาขับปัสสาวะเพื่อขับโปแตสเซียมออกทางไตหรือ<br />

ฟอกเลือดโดยใช้ hemodialysis, peritoneal dialysis หรือท าให้ โปแตสเซียม ในเลือดกลับเข้าไป<br />

ในเซลล์ โดยให้ insulin และ glucose infusion และให้ calcium chloride เพื่อป้ องกัน<br />

ผลข้างเคียงที่จะเกิดกับหัวใจ<br />

การผสมและความคงตัว สามารถผสม 5DW หรือ NSS ให้อย่างช้าๆทาง IV ถ้า<br />

ความเข้มข้นสุดท้ายเกิน 30 mEq/L จะเกิดอาการปวดบริเวณหลอดเลือดที่ให้ยา ที่<br />

ควรระวังเป็ นพิเศษคือ การผสมเพื่อเตรียมสารอาหารทางเส้นเลือด (TPN) ที่มี<br />

calcium หรือ magnesium เป็ นส่วนประกอบ เนื่องจากอาจเกิดการตกตะกอนของ<br />

calcium phosphate, magnesium phosphate หรือการผสมกับ amino acid ที่มี<br />

phosphate เป็ นส่วนประกอบต้องค านึงถึง order of mixing ซึ่งมีผลต่อการเกิด<br />

ตะกอน ดังนั ้นควรเตรียมโดยหน่วยเตรียมสารอาหารโดยเฉพาะ<br />

ความคลาดเคลื ่อนทางยาและปัญหาที ่พบ :<br />

การผสมยาร่วมกับ Electrolyte ตัวอื่นๆ หรือยาอื่นซึ่งเข้ากันไม่ได้ท าให้เกิดการตกตะกอน<br />

แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ<br />

1. แพทย์ :<br />

ตรวจสอบค าสั่งแพทย์ ให้แน่ใจว่าไม่มียาหรือสารที่ไม่เข้ากัน เมื่อผสมใน<br />

K 2 HPO 4 solution ซึ่งสามารถโทรศัพท์สอบถามได้ที่งานเภสัชกรรม<br />

2. เภสัชกร :<br />

เตรียมและจัดหาข้อมูลในการผสมยาให้พร้อม<br />

3. พยาบาล :<br />

หลังผสมยา ก่อนให้ยาตรวจสอบว่ามีการตกตะกอนเกิดขึ ้นหรือไม่ หากมี<br />

ตะกอน เกิดขึ ้นให้ทิ ้งถุงเตรียมนั ้น และปรึกษาเภสัชกรในการเตรียมครั ้ง<br />

ต่อไป<br />

โดยฝ่ ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลพัทยาเมโมเรียล จ.ชลบุรี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!