20.03.2014 Views

µ - Khamkoo

µ - Khamkoo

µ - Khamkoo

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

: <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

2551


:<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

2551


. . <br />

<br />

<br />

<br />

. . <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

.


2 <br />

<br />

<br />

<br />

“” <br />

<br />

“” <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

“<br />

” 4 4 <br />

“”


: <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

()<br />

<br />

. <br />

. <br />

<br />

1) <br />

“” <br />

2) <br />

“” <br />

3) <br />

“” <br />

<br />

<br />

<br />

.. 2543 10 <br />

1–10 <br />

(RCSS) <br />

<br />

-<br />

<br />

3


1) <br />

4 <br />

2) <br />

(RCSS) <br />

3) <br />

<br />

<br />

<br />

4


Thesis Title<br />

Author<br />

Degree<br />

Thesis Advisory Committee<br />

School of Displaced People: Nationalism<br />

Construction Through Schooling at<br />

Shan State Army Base<br />

Mr. Prawit Wongpeng<br />

Master of Arts (Regional Studies)<br />

Assoc. Prof. Dr. Siwarak Siwarom Chairperson<br />

Assoc. Prof. Dr. Kosum Saichan Member<br />

ABSTRACT<br />

This study has 3 objectives 1) to study forms and schooling system of “School of<br />

Displaced People”, at the Shan State Army Base in the context of internal displaced people<br />

2) to examine role and duty of “School of Displaced People” in producing Shan nationalism<br />

ideology and 3) to study the result of Shan nationalism ideology in schooling of Shan nationalism<br />

ideology at Shan State Army Base. This is a qualitative research project, analyzing data from<br />

documents and interviews.<br />

The study found that the schooling management of the school which was established<br />

since 2000 has a form and program for 10 year, from level 1-10, exclude pre-primary level.<br />

The school is under the control of Education Department of Restoration Council of Shan State.<br />

The schooling was adjusted to appropriate with the unstable situation of internal displaced state<br />

on Thailand- Burma border.<br />

The school plays the roles on nationalism production as an ideological state apparatus.<br />

There are 3 factors which are significant elements 1) school’s subjects: history, geography and<br />

“the Four Nobel Principles and Six Objectives”, with contents and instruction integrated<br />

the displacement experienced of the Shan 2) form of education management under the structure of<br />

RCSS’s Education Department which has policy to manage schooling for Shan State’s fighting


for independence 3) Environments and context of the school effected to the student’s livelihood<br />

that always faces unstable and insecure situation under the control of the military.<br />

The nationalism transmission of schooling at Doi Tai Laeng has resulted the students<br />

expressed their awareness by paying loyalty to the Four Nobel Principles of the Shan and through<br />

their practices with gratitude to their ethnic group by studying in this system and return to work<br />

with the Army after their graduation.


ฌ<br />

สารบาญ<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

บทคัดยอภาษาไทย<br />

บทคัดยอภาษาอังกฤษ<br />

สารบาญตาราง<br />

สารบาญภาพ<br />

หนา<br />

ค<br />

ง<br />

ฉ<br />

ญ<br />

ฎ<br />

บทที่ 1 บทนํา<br />

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา 1<br />

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 8<br />

1.3 นิยามศัพท 8<br />

1.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 9<br />

1.5 ระเบียบวิธีการวิจัย 12<br />

1.5.1 หนวยการวิเคราะห 12<br />

1.5.2 ขอบเขตและกลุมเปาหมาย 14<br />

1.5.3 วิธีการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล 17<br />

1.6 ผลที่คาดวาจะไดรับ 18<br />

1.7 ระยะเวลาในการศึกษา 18<br />

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ<br />

2.1 แนวคิดที่ใชในการศึกษา 19<br />

2.1.1 แนวคิดผูพลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced people) 19<br />

2.1.2 แนวคิดโรงเรียนในฐานะกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ 25<br />

(ideological state apparatus)<br />

2.1.3 แนวคิดชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism) 37<br />

2.2 การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับชนชาติไทใหญ 40<br />

2.2.1 ประวัติศาสตร ภาษา และวัฒนธรรมไทใหญ 41


ญ<br />

2.2.2 ไทใหญในฐานะผูพลัดถิ่น (displace person) 47<br />

บทที่ 3 ไทใหญในรมเงาของ “ประเทศพมา”<br />

3.1 ไทใหญ: ในฐานะชนกลุมนอยในพมา 52<br />

3.2 ไทใหญ: ภายใตการปกครองของชาวอังกฤษในสมัยอาณานิคม 54<br />

(ชวงป พ.ศ. 2369-2490)<br />

3.2.1 นโยบายแบงแยกและปกครองของชาวอังกฤษในพมา 55<br />

3.2.2 ไทใหญ: รัฐอารักขาของอังกฤษ 57<br />

3.2.3 อังกฤษ พมา และไทใหญ: ความลมเหลวของการแบงแยก 58<br />

และปกครอง<br />

3.3 ไทใหญ: เหยื่อของนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization) 60<br />

3.3.1 “ลิ๊กหมหมายปางโหลง”: สัจจะของคนไทใหญ 61<br />

3.3.2 สี่ตัด (four cuts): ปฏิบัติการละเมิดสิทธิมนุษยชน 66<br />

ก) การบังคับโยกยายถิ่นฐาน: ประสบการณของ “จายตา” 67<br />

ข) การขมขืน: ความรุนแรงบนรางกายผูหญิงไทใหญ 70<br />

3.4 สรุปผล 73<br />

บทที่ 4 บนเสนทางพลัดถิ่น: ดินแดนดอยไตแลง<br />

4.1 “ลุกขึ้นจับอาวุธ” กับจุดเริ่มตนของการกูชาติ 75<br />

4.2 MTA-SSA: จากกองทัพเมิงไต สูกองกําลังกูชาติไทใหญ 82<br />

4.3 ดอยไตแลง ดินแดนของคนพลัดถิ่น 85<br />

4.4 สรุปผล 92<br />

บทที่ 5 “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”: การศึกษาเพื่อการสรางชาติ<br />

5.1 กอนจะเปน “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” 96<br />

5.1.1 ครอบครัวตางชาติในบทบาทของผูอุปถัมภเด็กกําพรา 96<br />

5.1.2 จากครอบครัวฝรั่งสูฝงดอยไตแลง 100<br />

5.2 “โฮงเฮนเจื้อจาด”: โรงเรียนของคนพลัดถิ่น 101<br />

5.2.1 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543-44 101<br />

ก) เจามอนแสง: ผูบุกเบิกการศึกษา 102


ฎ<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา 103<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน 104<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา 107<br />

จ) รูปแบบการเรียนการสอน 107<br />

ฉ) โครงสรางของบุคลากร 108<br />

5.2.2 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2544-50 110<br />

ก) ครูเคอแสน: ผูหญิงที่วางรากฐานการศึกษา 110<br />

ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา 111<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน 112<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา 113<br />

จ) รูปแบบการเรียนการสอน 116<br />

ฉ) โครงสรางของบุคลากร 117<br />

5.2.3 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2550-51 118<br />

ก) ครูเมืองหอบ: การศึกษาเพื่อการสรางชาติ 119<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา 119<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน 120<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา 122<br />

จ) รูปแบบกาจัดการศึกษา 123<br />

ฉ) บทบาทหนาที่ของฝายศึกษาธิการของ RCSS 125<br />

ช) การจัดระบบการศึกษาของโรงเรียน 126<br />

ซ) วันหยุดของโรงเรียน 126<br />

ฌ) จํานวนนักเรียน 127<br />

ญ) การแตงกายของนักเรียน 129<br />

ฎ) โครงสรางของนักเรียน 130<br />

ฏ) กฎระเบียบในเวลา และเวลาเลิกเรียน 132<br />

ฐ) การดูแลในระบบหอพัก 132<br />

ฑ) กฎระเบียบในการรับนักเรียน 134<br />

ฒ) โครงสรางการบริหาร 135<br />

ณ) กฎระเบียบของของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง 139


ฏ<br />

5.3 “โฮงเฮนเจอจาด”: โรงเรียน อุดมการณ และชาตินิยมในระบบการศึกษา 141<br />

5.3.1 เขาแถว เคารพธงชาติ: เชื้อชาติและระเบียบวินัย 142<br />

5.3.2 “ทอดแมดสี่เยิ่ง”: 4 สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ของคนไทใหญ 145<br />

ก) ชาติ 146<br />

ข) เมือง 147<br />

ค) ภาษา 148<br />

ง) ศาสนา 149<br />

5.3.3 หลักนํา 6 ขอ: หนทางสูเอกราช 150<br />

5.3.4 จากคําปฏิญาณสูขอปฏิบัติ 152<br />

5.3.5 แบบเรียน: การสื่อสารจากหนังสือสูชีวิตจริง 155<br />

ก) “ปนไต” ในวิชาประวัติศาสตร 156<br />

ข) “ปทวี” ภูมิศาสตรในแบบเรียน 162<br />

5.3.6 กิจกรรมเสริมหลักสูตรกับภารกิจนอกหองเรียน 168<br />

5.3.7 เมื่อผมอยากเปนครู แตหนูอยากเปนนักขาว: ความหวังเล็กๆ 171<br />

ของเด็กในหอพัก<br />

5.4 SSSNY: โรงเรียนทางเลือกของเด็กนักเรียนดอยไตแลง 177<br />

5.5 สรุปผล 179<br />

บทที่ 6 วิเคราะหและสรุปผล<br />

6.1 วิเคราะหผล 180<br />

6.1.1 “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” กับการจัดการศึกษาไรดินแดน 182<br />

6.1.2 โรงเรียน: สังเวียนแหงการถายทอดอุดมการณชาตินิยม 183<br />

ก) อดีตสูปจจุบัน: แผนดินใน “ประวัติศาสตร” สูการไรรัฐ 184<br />

บน “แผนที่”<br />

ข) รูปแบบการสอน: สวนเติมเต็มอุดมการณชาตินิยม 186<br />

ค) โรงเรียน พรมแดน และทหาร: การจัดการศึกษาในบริบท<br />

ของความไมมั่นคง 187<br />

6.1.3 จากผลผลิตของโรงเรียนสูผมสัมฤทธิ์ทางอุดมการณ 189<br />

6.2 ขอเสนอแนะ 191


ฐ<br />

บรรณานุกรม 192<br />

ประวัติผูเขียน 199


ฑ<br />

สารบาญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

5.1 ตารางแสดงจํานวนนักเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงประจําป 2551 128


ฒ<br />

สารบาญภาพ<br />

รูป<br />

หนา<br />

1.1 แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง 6<br />

1.2 กรอบแนวคิดวิเคราะหแบบที่ 1 10<br />

1.3 กรอบแนวคิดวิเคราะหแบบที่ 2 11<br />

1.4 หนวยการวิเคราะห 13<br />

1.5 โครงสรางสภากอบกูเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (Restoration Council 14<br />

Of Shan State)<br />

3.1 สนธิสัญญาปางโหลง 63<br />

4.1 ภาพวาดการทําสัญญาปางโหลง 77<br />

4.2 การทําสัญญาปางโหลง 77<br />

4.3 เจานอยซอหยั่นตะ 78<br />

4.4 เจากอนเจิง 79<br />

4.5 ขุนสาหรือจางซีฟู 81<br />

4.6 สันเขาขุนน้ําเพียงดิน หรือดอยไตแลง 86<br />

4.7 ซุมทางเขาเขตกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) 87<br />

4.8 สภาพหมูบานของทหารในเขตกองกําลังกูชาติไทใหญที่ดอยไตแลง 88<br />

4.9 พันเอกเจายอดศึกและกรรมาธิการสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) 89<br />

4.10 ตราสัญลักษณสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council 92<br />

of the Shan State)<br />

4.11 โครงสรางสภากอบกูเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (Restoration Council 93<br />

Of Shan State)<br />

5.2 เด็กนักเรียนกับครอบครัวชาวอเมริกัน 97<br />

5.3 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2543 105<br />

5.4 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2544 106<br />

5.5 โครงสรางของบุคลากรในชวงป พ.ศ. 2543-44 109<br />

5.6 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2545 112<br />

5.7 ภาพตัวอยางหนังสือครูเคอแสนที่ไดเขียน 115


ณ<br />

5.8 โครงสรางของบุคลากรในชวงป พ.ศ. 2544-50 117<br />

5.9 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง หรือโฮงเฮนเจอจาด หรือสถานที่สอนเด็กกําพรา 120<br />

5.10 ตัวอยางชุดแตงกายของนักเรียนที่ถูกระเบียบ 130<br />

5.11 โครงสรางนักเรียนในโรงเรียนและหอพัก 131<br />

5.12 หอพักนักเรียนชายและหญิง 133<br />

5.13 โครงสรางของบุคลากรในโรงเรียนและคณะกรรมการของสถานศึกษา 136<br />

5.14 ธงชาติไทใหญ 144<br />

5.15 หนังสือ หนังสือ “ทอดแมดสี่เยิ่งแลหลั๊กนําหกขอ” (x.wfrswfjoDb,ldifj<br />

146<br />

tvj vuf;erf;[luf;acMj)<br />

5.16 ตัวอยางหนังสือประวัติศาสตรไทใหญ 156<br />

5.17 ตัวอยางหนังสือภูมิศาสตร 163<br />

5.18 กิจกรรมตางของเด็กนักเรียนในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง 169<br />

5.19 สภาพหอพักนักเรียนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง 174<br />

5.20 ตราสัญลักษณโรงเรียน School for Shan State Nationalities Youth (SSNY) 177


บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา<br />

“ลิกไผโคน ก็เครือมันหายเยา ลิกไผตาย ก็เครือมันสุดเยา”<br />

(ภาษาสูญ ชาติหาย ภาษาตาย ชาติสิ้น)<br />

“ฮูลิกเปนแฮงเมิง เอาเคือเฮิงปนเปน”<br />

(รูหนังสือเปนแรงเมือง พาเอาเชื้อเครือเรืองกวาผูอื่น)<br />

(ฉลาดชาย รมิตานนท, วิระดา สมสวัสดิ์และเรณู วิชาศิลป,2541)<br />

ในผืนแผนดินใหญเอเชียตะวันออกเฉียงใตประกอบดวยกลุมชนชาติตางๆ มากมายที่อยู<br />

รวมกัน มีปฏิสัมพันธตอกันทางวัฒนธรรม สังคม การเมืองและการปกครองมาเปนระยะเวลานาน<br />

หลายชาติพันธุที่เคยรุงเรืองในอดีต แตปจจุบันไดสูญหายไป ในขณะเดียวกันก็เกิดชาติพันธุใหม<br />

ขึ้นมาในประวัติศาสตร ซึ่งอาจเกิดขึ้นดวยสาเหตุอยางนอยสองประการคือ ประการแรก เปนชาติ<br />

พันธุที่เกาแกดั้งเดิม แตมิไดมีการเอยถึงในประวัติศาสตร มิไดมีอํานาจหรือบทบาททางสังคม<br />

วัฒนธรรม การเมืองหรือการปกครอง ตอมาพัฒนาการสังคมและประวัติศาสตรของชาติ<br />

พันธุที่ไมเคยไดรับการเอยถึงนี้ ไดเริ่มมีอํานาจทางวัฒนธรรม การเมือง การปกครองขึ้น จึงทําให<br />

ประวัติศาสตรของกลุมชาติพันธุนี้จึงเริ่มตนขึ้นมา ในขณะที่กลุมชาติพันธุเกาที่มีอํานาจแตเดิมอาจ<br />

ถูกทําลายหรือถูกกลืนไปกับกลุมชาติพันธุใหมตามกาลเวลา จนไมเหลือเคาของความรุงเรืองใน<br />

อดีตแหงกลุมชาติพันธุนั้นเลย ประการที่สอง การผสมผสานทางวัฒนธรรมและสังคมของกลุมชาติ<br />

พันธุที่แตกตางกันอาจกอใหเกิดกลุมชนกลุมใหม และใชชื่อเรียกตามแนวคิดแบบรัฐชาติแบบใหม<br />

โดยอาจจะไมไดคํานึงถึงเชื้อสายชาติพันธุดั้งเดิม<br />

ประเทศพมา หรือสหภาพเมียรมา ก็เปนหนึ่งในประเทศในแถบตะวันออกเฉียงใต ที่มี<br />

ความหลากหลายทางชาติพันธุอาศัยอยูในประเทศมากมายหลายกลุม อาทิ กระเหรี่ยง คะยา คะฉิ่น<br />

ชิน มอญอาระกัน รวมถึงไทใหญ และชาติพันธุอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งภายใตความหลากหลายทาง<br />

ชาติพันธุประเทศพมามีประวัติศาสตรของการปกครองที่เกิดขึ้นทามกลางความขัดแยง และปญหา


2<br />

กับกลุมชาติพันธุตางๆ ในประเทศมาโดยตลอดอยางตอเนื่อง ซึ่งปญหาความขัดแยงตางๆ นั้นก็<br />

ยังคงเปนประเด็นที่ทําใหคนทั่วโลกยังใหความสนใจและจับตามองอยางใกลชิด<br />

หากจะกลาวถึงความขัดแยงทางชาติพันธุในประเทศพมานั้น ไทใหญเปนหนึ่งในกลุม<br />

ชาติพันธุที่อาศัยอยูในประเทศ หลายคนอาจจะรูจักในชื่อเรียกที่แตกตางกันไป เชน ไต ชาน หรือ<br />

ฉาน ลวนแลวแตเปนกลุมชาติพันธุเดียวกันทั้งสิ้น ซึ่งคนในกลุมชาติพันธุนี้ ถือไดวามี<br />

ประวัติศาสตรความเปนมายาวนาน มีภาษา วัฒนธรรม ประเพณี และระบบการปกครอง เปนของ<br />

ตนเอง หากจะขาดก็แตแผนดินที่เปนขอบเขตอํานาจอธิปไตยของตนเทานั้น<br />

ไทใหญในอดีตเคยเจริญรุงเรืองเปนอยางมาก ซึ่งการตั้งเมืองในสมัยกอนนั้นเปน<br />

รูปแบบของรัฐอิสระ แตกตางกันกับรัฐชาติ หรือประเทศชาติในปจจุบัน การปกครองสมัยนั้นอยูใน<br />

อิทธิพล หรือผูที่มีกําลังและอํานาจของผูปกครองรัฐเรียกวาเจาฟา และมีทายาททําหนาที่ในการ<br />

สืบทอดอํานาจในการปกครองรัฐตอไป ดวยเหตุวาการมีรัฐที่เขมแข็งนั้นจะตองอาศัยผูปกครอง<br />

หรือเจาฟาที่เขมแข็งดวย ทําใหการตั้งเมือง หรือรัฐ จึงขึ้นอยูกับอํานาจและความสามารถของเจาฟา<br />

ดวยเหตุนี้ รัฐไทใหญในอดีตจึงมีหลายยุคหลายสมัย บางพื้นที่ หรือบางรัฐก็มีอํานาจความความ<br />

เจริญในยุคเดียวกัน<br />

ตอมาเมื่อพมาเริ่มเขามามีอํานาจในเมืองไทใหญ หรือรัฐฉาน คือ สมัยบุเรงนอง มีอํานาจ<br />

แผขยายอํานาจมาถึงเมืองไทใหญ ทําการยึดเปนเมืองขึ้น แตชาวไทใหญก็พยายามที่จะปกปอง<br />

ตนเองอยูเสมอ จึงไดมีการตอสูกับพมาอยูมิขาดเรื่อยมา จนกระทั่งเมื่ออังกฤษเขามายึดพมาเปน<br />

อาณานิคมเมืองไทใหญก็กลายเปนสหพันธรัฐฉานภายใตรัฐอารักขาของอังกฤษ ซึ่งในครั้งนั้น<br />

รัฐฉานเปนรัฐที่มีอิสระในการปกครองตนเอง<br />

แตเมื่อประเทศพมาไดรับอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ ในป พ.ศ. 2491 ภายใตการ<br />

ปกครองของประเทศพมานั้น ชาวไทใหญตองประสบกับความรุนแรงจากการ พยายามรวบอํานาจ<br />

ทางการปกครองและการทหารของรัฐพมา ตอมารัฐฉานไดรับคําสัญญาวา หลังจากนั้นสิบป รัฐฉาน<br />

จะไดรับสิทธิในการปกครองตนเอง แตคําสัญญานี้ไมเคยเปนจริง ซึ่งนับตั้งแตการยกเลิก<br />

สนธิสัญญาปางโหลงที่รองรับการแยกตัวเปนอิสระของรัฐฉาน ชาวไทใหญถูกบังคับใหใชแรงงาน<br />

ถูกบังคับใหโยกยายถิ่นที่อยู ซึ่งถูกแบงออกเปนสวนๆตามการควบคุมของรัฐ นับตั้งแตพื้นที่สีดํา<br />

อันเปนพื้นที่ซึ่งกองกําลังของฝายตอตานรัฐบาลสามารถครอบครองได พื้นที่สีน้ําตาล หมายถึง<br />

พื้นที่ซึ่งมีการตอสูชวงชิงระหวางรัฐบาลและกองกําลังฝายตอตานและพื้นที่สีขาว หมายถึงพื้นที่ซึ่ง<br />

ปลอดอํานาจของกองกําลังตอตานรัฐบาลความรุนแรงของรัฐที่กระทําตอกลุมชาติพันธุไทใหญ


3<br />

ในขณะเดียวกันการตอตานความเปนชนชาติกลุมนอยของไทใหญในประเทศพมา ก็เริ่ม<br />

เกิดขึ้นนับตั้งแตครบ 10 ป ตามสัญญาปางโหลงที่ไทใหญมีสิทธิ์แยกตัวออกจากพมา เพื่อตั้ง<br />

ประเทศเปนเอกราชแตพมาไดตระบัดสัตยไมยอมคืนเอกราชใหไทใหญ รวมถึงการกระทําอันบอบ<br />

ช้ําตางจากนโยบายของรัฐบาลพมา ซึ่งนอกจากพมาไมทําตามสัญญาปางหลวงแลว การทวงสิทธิ<br />

เสรีภาพและเสมอภาคตามกฎหมายรัฐธรรมนูญก็ไมเปนผล จึงมีการเรียกประชุมบรรดาเจาฟาที่<br />

เมืองไหย และวางแผนตั้งกองกําลังกูชาติขึ้นกูชาติขึ้นเพื่อทวงถามความเปนธรรม และเพื่อแยกเมือง<br />

ไต (รัฐฉาน) ออกเปนประเทศเอกราชตามที่ระบุไวในขอตกลงสัญญาปางหลวงป 2490<br />

ตอมาการตอตานความเปนชนชาติกลุมนอยของไทใหญในประเทศพมา เริ่มเกิดขึ้น<br />

นับตั้งแตครบ 10 ป ตามสัญญาปางหลวงที่ไทใหญมีสิทธิ์แยกตัวออกจากพมา เพื่อตั้งประเทศเปน<br />

เอกราชแตพมาไดตระบัดสัตยไมยอมคืนเอกราชใหไทใหญ ซึ่งขบวนการตอสูกูชาติไทใหญก็เริ่ม<br />

ดําเนินการขึ้นทันที ภายใตกลุมผูนําขบวนการกูชาติไทใหญในแตละชวงพัฒนาการ อาทิเชน<br />

กองกําลังกูชาติ “ หนุมศึกหาญ ”, “ กลุมสหปฏิวัติรัฐฉาน ” SURA (Shan United Revolution<br />

Army), กองทัพรัฐฉาน SUA ( Shan United Army), “ กองทัพเมิงไต ” MTA( Mong Tai Army )<br />

จนกระทั่งเปน “ กองทัพกูชาติไทใหญ ” SSA ( Shan State Army ) ภายใตการนําของเจายอดศึก<br />

จากประวัติศาสตรของการปกครอง การถูกกดขี่ และการตอสูของคนไทใหญตอ<br />

ประเทศพมานั้นแสดงใหเห็นถึงการสรางตัวตนของรัฐชาติหนึ่งๆ ที่เปนการไปเปลี่ยนสมดุลของ<br />

กลุมเชื้อชาติ/ชาติพันธุตางๆในสังคมจากเดิมที่วางอยูบนฐานของวัฒนธรรมสูฐานทางการเมือง<br />

ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ จึงไดมาดวยการใชอํานาจ/ความรุนแรงเขาไปเก็บกดปดกั้น<br />

กดทับความแตกตางในชาติไว ไปจัดระบบระเบียบกลุมคนอื่นๆเชื้อชาติอื่นๆในชาติไว<br />

ผานกระบวนการสรางความหลงลืมในรูปของตํานานเรื่องเลาขานประจําชาติแบบตางๆหรือ<br />

ผานยุทธศาสตรเชิงวาทกรรม อยางเชนวลีเรื่อง “เอกภาพและความมั่นคงของชาติ” หรือ “การอยู<br />

รวมกันอยางสงบสุขระหวางคนชาติพันธุตางๆ” เปนตน กลุมเชื้อชาติ/ชาติพันธุที่ถูกเก็บกด ปดกั้น<br />

จากกระบวนการสรางชาติดังกลาว ก็จะพยายามเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองความเปนอิสระใหกับ<br />

ตนเอง ในรูปของขบวนการปลดปลอยเพื่อแยกออกไปตั้งรัฐ-ชาติของตนเอง (a nation of liberation<br />

movement) ขณะเดียวกันกลุมเชื้อชาติ/ชาติพันธุหลักที่เปน “ตัวแทน” ของชาติ และมีอํานาจรัฐอยู<br />

ในมือก็จะปราบปรามกลุมเชื้อชาติ/ชาติพันธุเหลานั้นใหราบคาบไป<br />

ซึ่งนอกจากการใชอํานาจของรัฐสมัยใหมของประเทศพมาที่พยายามควบคุมคน<br />

ในฐานะประชากรไมใหเคลื่อนยายไปไหนและจําตองอยูติดที่ภายในขอบเขตของรัฐชาติ<br />

ในขณะเดียวกันพรอมๆ กันนั้นประเทศพมาก็พยายามสรางจิตสํานึกหรือจินตนาการรวมของชาติ<br />

ขึ้นมา ภายใตการนําของผูนําเชื้อสายพมา (Burman) ซึ่งไดจินตนาการความเปนพวก แตไดละเลย


4<br />

และลดทอนความสําคัญของความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธอื่นๆ กองทัพไดแสดง<br />

บทบาทอยางสําคัญในกระบวนการ Burmanization ซึ่งความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมชาติ<br />

พันธุตางๆ ที่ปรากฏถูกมองวาเปนการละเมิดตอความมั่นคงของชาติ (Keyes, 1994: 75-79) ผานการ<br />

ควบคุมหรือการจัดการทางดานการศึกษาในระบบของ “โรงเรียน” ในฐานะแหลงผลิตอุดมการณ<br />

ความเปนชาติของชนกลุมนอยที่เปนปฏิปกษตอความเปนรัฐ-ชาติ ซึ่งปฏิบัติการดังกลาวกอใหเกิด<br />

สิ่งที่เรียกวา “ความเปนศูนยกลางและชายขอบ” (ชายแดน) ของรัฐชาติขึ้นมา (วาสนา ละอองปลิว,<br />

2548: 9)<br />

สําหรับประชาชนไทใหญแลวประสบการณจากการกดขี่ของรัฐบาลทหารพมา เปนสิ่งที่<br />

ปรากฏในชีวิตประจําวันที่ผานนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization) อันเปนนโยบาย<br />

สําคัญในการสรางรัฐชาติที่เปนหนึ่งเดียวทางชาติพันธุ (ethnocratic native state) ดังที่งานศึกษา<br />

จํานวนมากไดวิเคราะหไววายุทธศาสตรทางการทหารของพมาในการครอบงํา สรางความเปนใหญ<br />

และเปนหนึ่งเดียวของชาติ ดวยการใชกําลังนั้นแสดงออกในการปฏิบัติหลายรูปแบบ ไมวาจะเปน<br />

การกดขี่ทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาวัฒนธรรม และการแทรกซึมกําลังทหารเขาไปในพื้นที่ตาม<br />

แนวพรมแดนตางๆ ภายใตยุทธศาสตรที่ผสมผสานหลายอยาง ไมวาจะเปนการใชกองกําลังเขาไป<br />

ปราบปราม การบังคับใหยอมจํานนและหยุดยิง หรือการใชการควบคุมผานการพัฒนาเปนตน<br />

(ปนแกว เหลืออรามศรี, 2549: 61)<br />

ซึ่งในการสรางชาติของทุกประเทศ สิ่งที่ผูมีอํานาจภายในสังคมพยายามสรางขึ้นก็คือ<br />

ระบบคิดที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกันระหวางชนในชาติ ซึ่งอาจเรียกไดวาเปน อุดมการณชาติ เพื่อที่<br />

ชนในชาติจะยึดถือความคิดนี้ไวเปนสวนรวม สงผลเปนเปาหมายมุงมั่นเพื่อเกิดการบรรลุรวมกัน<br />

ซึ่งอุดมการณมีบทบาทในการสรางระบบความรูสึกนึกคิดของประชาชนใหเปนไปในทิศทาง<br />

เดียวกันเพื่อใหเกิดความตั้งใจในการประพฤติปฏิบัติตนใหสอดคลองกับเปาหมายของรัฐ ถือไดวา<br />

เปนความสําเร็จที่กอใหเกิดผลประโยชนแหงชาติทางดานอุดมการณ ที่ถือไดวาเปนผลประโยชน<br />

แหงชาติที่สําคัญมากประการหนึ่งในการที่รัฐจะสามารถสรางและสงผานความคิดของการมี<br />

ประชากรที่พึงประสงคอันจะนําไปสูผลประโยชนในดานอื่นๆตอไป<br />

ในขณะที่วาทกรรมเรื่องชาติ เรื่องรัฐชาติไดเขามาทําลายและลดทอนความเปนพลเมือง<br />

ที่มีสิทธิมีเสียงลงอยางเห็นไดชัด รัฐชาติไดมาพรอมกับประวัติศาสตรการสรางตัวตนและการสราง<br />

ความเปนอื่นใหกับชนในชาติ ทําใหคนบางกลุมในชาติกลายเปน “คนอื่น” ของชาติอยางตั้งใจ<br />

เนื่องจาก“พวกเขา”ในสายตาคนบางกลุมถูกทําใหกลายเปนกลุมคน “นอกพรมแดน” ถูกจัดใหอยู<br />

ในพื้นที่นอกระเบียบหรืออยูชายขอบ (marginality) (อดิศร เกิดมงคล และบุษยรัตน กาญจนดิษฐ,


5<br />

2548: 11-14) ไทใหญเองก็ถูกทําใหตกอยูภายใตสภาวการณ “พลัดถิ่น” ทั้งภายในและภายนอก<br />

ประเทศ ภายใตของความเปน “รัฐ-ชาติ” ของพมาไปโดยปริยาย<br />

แตภายหลังการอพยพยายฐานที่ตั้งและ “กองกําลังกูชาติไทใหญ” SSA<br />

(Shan State Army) เขามาตั้งฐานที่มั่นกองบัญชาการสูงสุดแหงกองทัพกูชาติไทใหญ ที่บริเวณขุน<br />

น้ําเพียงดิน เขตรอยตอระหวางเมืองปนและเมืองโตนในรัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขาม อําเภอปาง<br />

มะผา จังหวัดแมฮองสอน ไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทุกๆ ดาน นอกเหนือจากการเปนฐาน<br />

ปฏิบัติการใหญที่มีศักยภาพและความพรอมในการตอกรกับทหารพมามากที่สุด แลวก็ไดพัฒนา<br />

สาธารณูปโภค เสนทางคมนาคม รวมถึง โรงเรียน ซึ่งเปนสถานศึกษา และบมเพาะเด็กและเยาวชน<br />

ที่จะเปนกําลังชาติไทใหญตอไป<br />

ในขณะที่การจัดตั้ง “โรงเรียน” ของ “กองกําลังกูชาติไทใหญ” SSA (Shan State Army)<br />

ในฐานะสถาบันที่สําคัญในการเพาะบมพลเมืองของรัฐ ที่นอกเหนือจากผลิตทหารของกองทัพกู<br />

ชาติไทใหญ ภายใตบริบทของการเปนผูพลัดถิ่นในประเทศพมา โรงเรียนนอกจากทําหนาที่สอนให<br />

รูหนังสือ รูสิทธิหนาที่พลเมืองเพื่อกอใหเกิดการปกครองหรือการจัดการที่มีระบบระเบียบแหง<br />

เหตุผล ระบบระเบียบอันหนึ่งที่กอตัวขึ้นมาบนเหตุผลและบรรทัดฐานแลว อีกทั้งยังรับใช<br />

อุดมการณของความเปนชาติไทใหญ ดังคําสัมภาษณพันเอกเจายอดศึก ผูนําสูงสุดของชุมชนแหงนี้<br />

“ดอยไตแลงไมใชแคที่ฝกทหาร หรือเปนแคหมูบานทหาร” 1 นอกจากนี้ยังใหคําอธิบายถึงความ<br />

มุงมั่นของกองทัพกูชาติไทใหญอยางชัดแจง โดยกลาวถึงการเปดโรงเรียนสอนเด็กไทใหญบนยอด<br />

ดอย เปนการพยายามพัฒนาดอยไตแลงใหเปนศูนยกลางในการสืบตอภาษาและวัฒนธรรมไทใหญ<br />

และจิตวิญญาณรักชาติของเยาวชนไทใหญวา<br />

"ในอดีตเรามุงพัฒนาแคกองกําลัง จึงเนนการเกณฑทหาร<br />

คอนขางมาก แตปจจุบันสถานการณโลกเปลี่ยนแปลงไป การรบตองควบคู<br />

ไปกับการเมืองอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได ฉะนั้น การศึกษาจึงเปนสิ่งสําคัญที่<br />

จะพัฒนาชนชาติไทใหญใหทัดเทียมกับอารยประเทศ ทําใหสามารถคิดและ<br />

วางแผน เพื่อสูเปาหมายชัยชนะอันยาวไกลได นอกจากนี้เราจัดงานตางๆขึ้น<br />

เพื่อใหเด็กไดเรียนรูและรูจักประเพณีของไทใหญ วัฒนธรรมไทใหญเปน<br />

สายเลือดของประชาชน หากกูชาติไดแตแผนดินกลับคืนมา แตวัฒนธรรม<br />

1 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks: 2550, หนา 99.


6<br />

ถูกทําลายหมดสิ้น คนไทใหญไมรูจัก ไมมีวัฒนธรรมของตนเอง ไมเหลือ<br />

ความเปนไทใหญอยูในหัวใจเด็กของเรา มันก็ไมมีประโยชนอะไร” 2<br />

ภาพที่ 1.1 แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

ที่ตั้ง<br />

“โรงเรียนของคน<br />

พลัดถิ่น”<br />

บนฐานที่มั่นกอง<br />

กําลังกูชาติไทใหญ<br />

ณ ดอยไตแลง<br />

ที่มาภาพ : ขอมูลภาพจากหนังสือการพลัดถิ่นฐานภายในประเทศในพมาแถบตะวันออกรายงาน<br />

การสํารวจ พ.ศ. 2549 องคการมนุษยธรรมชายแดนไทย – พมา<br />

2 เรื่องเดียวกัน


7<br />

ดังที่กลไกทางการศึกษา เปนกลไกทางอุดมการณสําคัญกลไกหนึ่ง การศึกษาเปนเรื่องที่<br />

ไมสามารถแยกพิจารณาออกเปนเอกเทศจากระบบสังคม การศึกษาถือเปนระบบยอย (sub system)<br />

ของสังคมที่มีความสัมพันธกับระบบอื่นๆ ไมวาจะเปน เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม กอตัว<br />

และคลี่คลายมาในกระบวนการทางประวัติศาสตรของสังคมนั้นๆโดยเฉพาะอยางยิ่งระบบการศึกษา<br />

มักถูกกําหนด โดยระบบเศรษฐกิจการเมือง บทบาทของการศึกษาจึงไมไดจํากัดอยูเพียงการให<br />

ความรูเพื่อพัฒนาตนเองเทานั้น แตการศึกษายังมีบทบาทในดานการเปนเครื่องมือของรัฐในการ<br />

กลอมเกลาและสงผานอุดมการณของสังคม สงตอ และกําหนดความคิด อุดมการณ และความสํานึก<br />

ในความเปนชาติอีกดวย (สมเกียรติ, 2524)<br />

ในสถานการณบริบทของ “รัฐพลัดถิ่น”ภายในประเทศพมา การผลิตพลเมืองที่มี<br />

จิตสํานึก และมีอุดมการณรักชาติบานเมือง นับไดวาเปนสิ่งสําคัญ และทาทายอยางยิ่ง ซึ่งหาก<br />

เปรียบโลกใบนี้เปนหองเรียนที่ใหญที่สุด โรงเรียนก็คงจะเปนปริมณฑลหนึ่งของหองเรียนนั้น<br />

หองเรียนที่นํามาซึ่งความรูที่เปนผลผลิตของโลกสมัยใหม ในขณะเดียวกันโลกสมัยใหมก็มุงผลิต<br />

“คน” หรือ “พลเมือง” ของรัฐ ในฐานะผูรับใชสังคมหรือรัฐชาตินั้นๆ ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงเปน<br />

ความพยายามที่จะศึกษาวา “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ของฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่ดํารง<br />

อยูในสภาวการณของ “รัฐพลัดถิ่น”ภายในประเทศพมา มีพัฒนาการการกอตั้งอยางไร ในการ<br />

จัดรูปแบบ และระบบการศึกษาที่ตอบสนองหรือรับใชการสรางอุดมการณความเปนชาติของคนไท<br />

ใหญ ซึ่งศึกษาจากบทบาทและการทําหนาที่ของโรงเรียนในฐานะแหลงเพาะบมหรือถายทอด<br />

อุดมการณความเปนชาตินิยม ซึ่งการศึกษาครั้งนี้จึงมีคําถามการวิจัยดังนี้<br />

1.1.1 กลุมชาติพันธุไทใหญบนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติ มีรูปแบบและระบบการจัด<br />

การศึกษาของโรงเรียนอยางไร ในบริบทของการถูกทําใหเปน “คนพลัดถิ่น<br />

ภายในประเทศพมา” จากกระบวนการ Burmanization<br />

1.1.2 “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญมีบทบาทและทํา<br />

หนาที่อยางไร ในการสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

1.1.3 ภายใตระบบการศึกษาใน “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติ<br />

ไดมีการผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญแบบไหน อยางไร ใหกับเด็ก<br />

นักเรียนในฐานะของประชาชนของกลุมชาติพันธุ


8<br />

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

1.2.1 เพื่อศึกษารูปแบบและระบบการจัดการการศึกษาของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”<br />

บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ภายใตบริบทของคนพลัดถิ่นภายในประเทศ<br />

พมา<br />

1.2.2 เพื่อศึกษาบทบาท และหนาที่ของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกอง<br />

กําลังกูชาติไทใหญ ในการสรางผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

1.2.3 เพื่อศึกษาผลของการผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญในระบบการศึกษาใน<br />

“โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

1.3 นิยามศัพท<br />

ผูพลัดถิ่นฐานภายในประเทศ (internally displaced people) หมายถึง บุคคลซึ่งถูก<br />

บังคับหรือกดดันใหตองหลบหนี หรือละทิ้งสถานที่อยูอาศัยเพื่อหลีกเลี่ยง หรือเนื่องจากไดรับ<br />

ผลกระทบจากสงคราม สถานการณรุนแรงอันแผกวาง การละเมิดสิทิมมนุษยชนภัยธรรมชาติ หรือ<br />

ภัยจากฝมือมนุษย โดยยังมิไดขามพรมแดนระหวางรัฐ<br />

โรงเรียนคนพลัดถิ่น (school of displaced people) หมายถึง โรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลง ซึ่งมีที่ตั้งอยูในพื้นที่ตะเข็บชายแดนไทย-พมา ฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

SSA (Shan State Army)เขตรัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขามอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน<br />

การศึกษาในระบบโรงเรียน หมายถึง ระบบการเรียนการสอนที่อยูในขอบเขตและการ<br />

หนาที่โรงเรียน<br />

อุดมการณชาติ (national ideology) หมายถึง หมายถึงระบบความคิดที่คนในชาติยึดถือ<br />

เปนสวนรวม เพื่อการธํารงรักษาสรางสรรคชาติ และทุกคนในชาติมุงมั่นที่จะปฏิบัติใหบรรลุถึง<br />

รวมกันโดยเปาหมายของอุดมการณชาติ สามารถเปลี่ยนแปลงไปไดตามกาลเวลาและบริบททาง<br />

สังคมอุดมการณชาติประกอบไปดวย อุดมการณทางการเมือง อุดมการณทางสังคมและวัฒนธรรม<br />

และอุดมการณชาตินิยม ที่เปนระบบคิดที่คนสวนใหญในประเทศยึดถือ


9<br />

ชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism) หมายถึง ชาตินิยมเกิดจากแรงผลักดัน<br />

ของกลุมชนที่ใหความสําคัญกับสิ่งที่เขามีอยูรวมกัน เชน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา แลวกอ<br />

ตัวเปนชาติขึ้นมา ชาตินิยมประเภทนี้จึงมีลักษณะที่เนนความเปนเอกลักษณของตน นอกจากนั้น<br />

ยังใหความสําคัญสูงยิ่งแกจารีตประเพณีดั้งเดิม ลึกซึ้ง เกาแก และมีความเปนเฉพาะของตน<br />

1.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาพยายามทําความเขาใจกับชาติพันธไทใหญ ภายใตการเปนผู<br />

พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced person) ที่มีประสบการณอันบอบช้ํา ทั้งทางดาน<br />

ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา หรือแมกระทั่งทางดานของกายภาพ รวมถึงทั้งทางดาน<br />

สถาบันสําคัญๆ ตางๆ เชน สถาบันกษัตริย การปกครอง การศึกษา ฯลฯ ซึ่งในที่นี้จะใหความสําคัญ<br />

กับสถาบันการศึกษา โดยการศึกษานี้จะเปนการเนนบทบาท และการทําหนาที่ของการจัดการศึกษา<br />

ในระบบโรงเรียน ที่มีสถานะของความไมมั่นคง หรือในภาวะของการพลัดถิ่นฐานบานชอง ใน<br />

บริบทของการศึกษาซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องมือสําคัญในการผลิต/ สรางคนในชาติใหมีความรู<br />

ความสามารถ ที่เปนพื้นฐานของการดํารงไวซึ่งชาติบานเมือง<br />

จากแนวคิดของคนพลัดถิ่นทําใหมองเห็นถึงคนพลัดถิ่นในมิติของการใหความสําคัญ<br />

กับบริบทมากกวา คือตั้งคําถามวา ภายใตเงื่อนไขที่ทําเกิดภาวการณพลัดถิ่นหรือคนพลัดถิ่น และ<br />

การมาปะทะกับจิตสํานึกแบบอื่นๆ นั้น กลุมคนเหลานี้จะทําใหการกอรูปจิตสํานึกตางๆออกมา<br />

อยางไร โดยเฉพาะจิตสํานึกทางดานของอุดมการณชาตินิยม ผานการใชกลไกเผยแพรอุดมการณ<br />

ชาตินิยม ในระบบของการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งเปนการจัดการแบบลักษณะเฉพาะตัวของ<br />

โรงเรียนพลัดถิ่น<br />

ในขณะเดียวกันประสบการณของการเปนคนพลัดถิ่นจะถูกสื่อหรือแสดงออกมา<br />

อยางไร ในระบบของการเรียนการสอนของโรงเรียน เพื่อเปนการผลิตสรางของคนในชาติ ไป<br />

พรอมๆ กับการใหวิชาความรู ซึ่งถือวาเปนสิทธิขั้นพื้นฐานแหงรัฐ เพื่อที่จะเปนการเตรียมความ<br />

พรอมใหกับคนของชาติตอไปในอนาคต ไดมีความรู ประสบการณ ในการเผชิญกับโลกแหงความ<br />

เปนจริงในสังคมปจจุบัน<br />

อุดมการณของชาตินิยมก็เปนสวนสําคัญสําหรับงานศึกษาครั้งนี้ ซึ่งชาตินิยมแบบ<br />

วัฒนธรรม (cultural nationalism) ถูกสรางใหรับใชกับการสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เปน<br />

การผลิตสรางอุดมการณในการถายทอดใหกับคนในฐานะที่เปนพลเมืองหรือประชากรของชาติ ซึ่ง<br />

ตองการหลอมรวมในการตอสูเรียกรองความเปนอิสระของชนชาติไทใหญ ดังนั้นการศึกษานี้จะ


10<br />

พยายามคนหาอุดมการณชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism) ที่ถูกสอดแทรก หรือ<br />

ถายทอดอยางไร ภายของเครื่องมือของการศึกษาในระบบของโรงเรียน<br />

จากกรอบแนวคิดที่กลาวมาทั้งหมดสามารถแสดงแผนภูมิความสัมพันธ ในการ<br />

วิเคราะหการศึกษา โรงเรียนของคนพลัดถิ่น : การสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญในระบบ<br />

การศึกษาของโรงเรียนบนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ไดดังนี้<br />

ภาพที่ 1.2 กรอบแนวคิดวิเคราะหแบบที่ 1<br />

ชนชาติพมา<br />

-ประวัติศาสตร/การเมือง /การ<br />

ปกครอง/สังคม/วัฒนธรรม/<br />

เศรษฐกิจ/ภาษา ฯลฯ<br />

Burmanization<br />

ภาวการณพลัดถิ่น<br />

ชนชาติไทใหญ<br />

-ประวัติศาสตร/การเมือง /การ<br />

ปกครอง/สังคม/วัฒนธรรม/<br />

เศรษฐกิจ/ภาษา ฯลฯ<br />

ในประเทศ<br />

นอกประเทศ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA)<br />

สภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน<br />

สํานักงาน RCSS<br />

อุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

ฝายการศึกษา<br />

โรงเรียนพลัดถิ่น<br />

การถายทอดอุดมการณของรัฐ<br />

รูปแบบการเรียนการสอน<br />

-โครงสราง<br />

-การจัดตารางการสอน<br />

-กิจกรรมการสอนในและนอก<br />

หลักสูตร<br />

-วิชาภูมิศาสตร<br />

-วิชาประวัติศาสตร<br />

-สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4<br />

บริบทของโรงเรียน<br />

-บุคลากรในสถานศึกษา<br />

-นักเรียน<br />

-สภาพแวดลอม


11<br />

ภาพที่ 1.3 กรอบแนวคิดวิเคราะหแบบที่ 2<br />

Burmanization<br />

ชนชาติพมา<br />

-ประวัติศาสตร/การเมือง /การ<br />

ปกครอง/สังคม/วัฒนธรรม/<br />

เศรษฐกิจ/ภาษา ฯลฯ<br />

การแปลงใหเปนพมา<br />

ชนชาติไทใหญ<br />

-ประวัติศาสตร/การเมือง /การ<br />

ปกครอง/สังคม/วัฒนธรรม/<br />

เศรษฐกิจ/ภาษา ฯลฯ<br />

การพลัดถิ่น<br />

ภายในประเทศ<br />

สภาการกอบกูเอกราช<br />

ของรัฐฉาน(RCSS)<br />

อุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

หลักสูตร<br />

-ประวัติศาสตร<br />

-ภูมิศาสตร<br />

-สถาบันอัน<br />

ศักดิ์สิทธิ์<br />

โรงเรียนของคนพลัดถิ่น<br />

รูปแบบการเรียนการสอน<br />

-โครงสราง<br />

-ตารางการสอน<br />

-กิจกรรมการสอนในและ<br />

นอกชั้นเรียน<br />

บริบทของโรงเรียน<br />

-บุคลากรใน<br />

สถานศึกษา<br />

-นักเรียน<br />

-สภาพแวดลอม


12<br />

1.5 ระเบียบวิธีวิจัย<br />

1.5.1 หนวยของการวิเคราะห<br />

การศึกษาชิ้นนี้เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพที่วิเคราะหจากเอกสารและบริบทระบบการจัด<br />

การศึกษา “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ซึ่งตั้งอยูบริเวณตรงขาม<br />

อําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน ของประเทศไทย ซึ่งพื้นที่แหงนั้นเปนพื้นที่ระหวางของเสน<br />

แบงเขตแดน หรือตะเข็บชายแดน ระหวางประเทศไทย กับประเทศพมา พื้นที่แหงนี้ไดเปนฐานที่<br />

มั่นสําคัญของกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่เปนทั้งฐานทัพของกองกําลังกูชาติ เปนที่ตั้งของสถานที่<br />

สําคัญตางๆ ทางทหาร วัด โรงพยาบาล รวมถึงโรงเรียน ที่เปนพื้นที่ของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้<br />

งานชิ้นนี้เลือกที่จะศึกษาคนไทใหญพลัดถิ่นในฐานะคนพลัดถิ่นภายในประเทศ<br />

(internally displaced people) เพื่อถายทอดประวัติศาสตรของกลุมไทใหญ ในฐานะของการถูก<br />

กระทําใหกลายเปนคนพลัดถิ่นภายในประเทศ ซึ่งคนไทใหญกลุมนี้ยอมมีประวัติศาสตร และ<br />

ประสบการณความเจ็บปวด ความบอบช้ํา จากการถูกกดขี่ในรูปแบบตางจากรัฐบาลทหารพมา ที่<br />

แตกตางกันไป แตในขณะเดียวกันประวัติศาสตร และประสบการณ ความรูสึกเหลานั้นจะถูก<br />

ถายทอดหรือรับใชความเปนชาติพันธุไทใหญอยางไร ในการสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

ใหกับประชาชนคนรุนหลังมีความรักชาติบานเมือง ซึ่งเปนประเด็นที่นาสนใจในการนํามาอธิบาย<br />

งานศึกษาชิ้นนี้<br />

ภายใตบริบทของโรงเรียนก็เปนอีกหนึ่งหนวยของการวิเคราะห กลาวคือ การศึกษาใน<br />

ระบบโรงเรียน จึงจําเปนตองดูบริบท องคประกอบสรางของโรงเรียนดวย อาทิเชน หลักสูตร<br />

เนื้อหา การจัดการเรียนการสอน แบบเรียน ครู นักเรียน รวมถึงสภาพแวดลอมของโรงเรียน ซึ่งสิ่ง<br />

เหลานี้จะเปนเหมือนกุญแจสําคัญที่ทําใหเห็นถึงบทบาทและการทําหนาที่ของโรงเรียนในการทํา<br />

หนาที่ของโรงเรียนในฐานะกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ (ideological state apparatus) ที่<br />

มีจัดการศึกษา หลักสูตร และแบบเรียน ที่ถือวาเปนปจจัยหลักที่มีความสําคัญตอการสรางความเปน<br />

พลเมืองดี ตามคุณสมบัติของรัฐปรารถนา (วารุณี โอสถารมย, 2544: 24-25) เพราะโรงเรียนจะสอน<br />

เนื้อหาวิชาตางๆ เพื่อเปนการหลอหลอมเด็กโดยมีเปาหมายเพื่อค้ําจุนอุดมการณหลักมีประสิทธิภาพ<br />

ดียิ่งขึ้น (Louis Athusser, 2529: 37) ผานการจัดการศึกษาในระบบ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ใน<br />

ฐานะกลไกการเผยแพร ถายทอดอุดมการณชาตินิยม


13<br />

อุดมการณชาตินิยมในที่ศึกษานี้ พิจารณาจากบริบทของความเปนชาติพันธุ หรือเชื้อ<br />

ชาติ เปนฐานของการธํารงไวซึ่ง ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ภาษา ประเพณี และตัวตนของความเปน<br />

ชาติไทใหญ จากประสบการณ ของการเปนผูพลัดถิ่นภายในประเทศพมา ที่เกิดจากกระบวนการทํา<br />

ใหเปนพมา (Burmanization) ในการ เผยแพร ถายทอดอุดมการณชาตินิยม ผานกลไกของบทบาท<br />

และการทําหนาที่ของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ใหกับเด็กซึ่งเปนประชาชนคนไทใหญตอไป<br />

ภาพที่ 1.4 หนวยการวิเคราะห<br />

ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ จึงนําแนวคิดตางๆ มาใชรวมกับหนวยของการวิเคราะห แนวคิด<br />

ผูพลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced people) แนวคิดโรงเรียนในฐานะกลไกในการ<br />

เผยแพรอุดมการณของรัฐ (ideological state apparatus) และแนวคิดชาตินิยมแบบวัฒนธรรม<br />

(cultural nationalism) เพื่อทําใหเห็นบทบาท และการทําหนาที่ของโรงเรียนในการผลิตสราง<br />

อุดมการณชาตินิยม ภายใตบริบทของการพลัดถิ่นภายในประเทศ ผานการจัดระบบการศึกษาใน<br />

โรงเรียนของคนพลัดถิ่น


14<br />

1.5.2 ขอบเขตและกลุมเปาหมาย<br />

โรงเรียนแหงนี้อยูภายใตการกํากับดูแลของโครงสรางสภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน<br />

(Restoration Council of Shan State) (อางจากเอกสารใน www.thaifreedom.com)<br />

ภาพที่ 1.5 โครงสรางสภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน (Restoration Council of Shan State)<br />

คณะกรรมการราง<br />

รัฐธรรมนูญแหงรัฐ<br />

ฉาน<br />

สภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน ที่ปรึกษา<br />

ประธาน RCSS ฝายวิทยุการสื่อสาร<br />

สํานักงาน RCSS<br />

ฝายสวัสดิการ<br />

ฝายปกครอง<br />

ฝายการศึกษา<br />

ฝายขาวกรอง ฝายชาติพันธุ<br />

ฝายสัมพันธ<br />

ฝายปองกัน<br />

ฝายตางประเทศ<br />

ฝายสุขภาพ<br />

ฝายประสานงาน<br />

กองบัญชาการ<br />

การศึกษาและ<br />

อบรม<br />

ฝายการเงิน<br />

คณะกรรมการ ที่ปรึกษา<br />

สํานักงาน<br />

โรงเรียน<br />

ใน<br />

รัฐฉาน<br />

ใน<br />

จังหวัด<br />

ลายขา<br />

เกซี<br />

เมืองกึง<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐ<br />

ฉาน<br />

ในพื้นที่<br />

กองกําลัง<br />

365<br />

หมอก<br />

ใหม<br />

กั่นตูออน<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐ<br />

ฉานใน<br />

พื้นที่ กอง<br />

กําลัง 364<br />

เมืองนาย<br />

น้ําจาง<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐฉาน<br />

ในพื้นที่<br />

กองกําลัง<br />

363 เกียงลม<br />

เกียงตอง<br />

โรงเรียนใน<br />

รัฐฉาน<br />

ในพื้นที่<br />

กองกําลัง<br />

361กั่นตุ<br />

หลง<br />

โรงเรียน Secondary<br />

ดอยไตแลง<br />

การเกษตร<br />

การเลี้ยงสัตว<br />

หอพักนักเรียน<br />

โรงเรียนPrimary<br />

โรงเรียน<br />

ดอยกอ<br />

วัน<br />

โรงเรียน<br />

ดอยหลํา<br />

คณะ<br />

กรรม<br />

การ<br />

โรงเรียน<br />

คณะกรรมการ


15<br />

ก) ขอบเขตดานพื้นที่<br />

โรงเรียนแหงนี้อยูในพื้นที่ตะเข็บชายแดนไทย-พมา ฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

SSA (Shan State Army) เขตรัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขามอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน เริ่ม<br />

กอตั้งขึ้นเมื่อ ป พ.ศ.2542 สรางโดย พันเอกเจายอดศึกรวมกับนักรบกูชาติไทใหญและชาวบานใหม<br />

(คนปายเพ) หรือหมูบานคนยากจน ที่อาศัยอยูบนดอยไตแลงและไดเปดการเรียนการสอน เดือน<br />

มีนาคม ปพ.ศ.2543 มีจํานวนนักเรียนทั้งหมด 33 คน โดยครูไดไปรับเด็กกําพรา ตามหมูบานตาง ๆ<br />

จากอําเภอฝางและอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม เขามาเรียนที่โรงเรียนสอนเด็กกําพรา<br />

ดอยไตแลง พรอมกับจัดที่พักอาศัย มีอาหารให แตเด็กกําพราตองประกอบอาหารเอง ซึ่งอยูภายใต<br />

การกํากับดูแลของคณะครู เปดสอนระดับ อนุบาล – ชั้น 10<br />

ข) ขอบเขตดานเนื้อหา<br />

สวนที่ 1 ศึกษาประวัติ และพัฒนาการการจัดการศึกษาของโรงเรียนพลัดถิ่น เขตฐานที่<br />

มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ SSA (Shan State Army)<br />

- ประวัติศาสตร ความเปนมาการตั้งถิ่นฐานของผูพลัดถิ่นไทใหญเขตฐานที่มั่นกอง<br />

กําลังกูชาติไทใหญ SSA<br />

- พัฒนาการของการของการจัดระบบรูปแบบการศึกษาของโรงเรียนพลัดถิ่น<br />

สวนที่ 2 ศึกษาระบบ รูปแบบ หลักสูตร และโครงสรางการจัดการศึกษาของโรงเรียน<br />

พลัดถิ ่น เขตฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ SSA<br />

- ปณิธาน ปรัชญา วิสัยทัศน และยุทธศาสตร ของการศึกษาโรงเรียนพลัดถิ่น<br />

- โครงสรางของการจัดการศึกษาของโรงเรียนของคนพลัดถิ่น<br />

- หลักสูตรของการศึกษาของโรงเรียนของคนพลัดถิ่น<br />

- ฐานขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนพลัดถิ่น เชน ครู นักเรียน เปนตน<br />

- เนื้อหา วิชาเรียน แบบเรียน ที่ใชในการเรียนการสอนในโรงเรียนของคนพลัดถิ่น<br />

- แบบเรียนวิชาประวัติศาสตร ชั้น 3 – 9


16<br />

- แบบเรียนวิชาภูมิศาสตร ชั้น 2 - 9<br />

- แบบเรียนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน คือ ชาติ บานเมือง ภาษา และศาสนา ชั้น 4–5<br />

- รูปแบบการเรียนการสอน<br />

- โครงสรางการศึกษา<br />

- การจัดตารางการเรียนการสอน<br />

- กิจกรรมทั้งในและนอกหองเรียน<br />

- บริบทของโรงเรียนคนพลัดถิ่น<br />

- บุคลากรในโรงเรียน เชน ผูอํานวยการ ผูจัดการ ครู ผูเขียนหลักสูตร เปนตน<br />

- นักเรียน<br />

- สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนคนพลัดถิ่น<br />

สวนที่ 3 ศึกษาบทบาท และการทําหนาที่ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ในการสราง<br />

อุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

สวนที่ 4 ศึกษาผลของผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญ โดยการวิเคราะหเชื่อมโยง<br />

กับแนวคิดคนพลัดถิ่น โรงเรียนในฐานะกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ (ideological state<br />

apparatus) และแนวคิดชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism)<br />

ค) ขอบเขตดานประชากร<br />

ประชากรที่ศึกษาสถานศึกษาแหงนี้คือ ครู นักเรียน ชาวไทใหญ และผูที่มีสวนเกี่ยวของ<br />

ทางการศึกษา ที่อาศัยอยูในพื้นที่ตะเข็บชายแดนไทย – พมา และอาศัยบนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติ<br />

ไทใหญ SSA รัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขามอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน


17<br />

1.5.3 วิธีการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล<br />

การศึกษาครั้งนี้ใชการเก็บขอมูลทั้งในสวนของขอมูลเอกสารและขอมูลภาคสนาม<br />

ขอมูลเอกสาร เปนการสํารวจขอมูลในเอกสารเชิงประวัติศาสตร ซึ่งเขียนโดยทั้ง<br />

นักวิชาการไทย นักวิชาการไทใหญ เพื่อเปนการทําความเขาใจตอประวัติศาสตรพมาที่มีตอไทใหญ<br />

ประวัติศาสตรไทใหญ ในบริบทที่สัมพันธกับพลัดถิ่นภายในประเทศพมาของชาวไทใหญ ซึ่งใน<br />

การสํารวจเอกสารประวัติศาสตรนี้ยังใหความสําคัญกับความสัมพันธดานการตอตาน และการจัดตั้ง<br />

กองกําลังกูชาติ รวมถึงการจัดการศึกษาในระบบ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนพื้นที่กองกําลังกู<br />

ชาติ เพื่อศึกษาถึงพลวัตของบทบาท การทําหนาที่ของโรงเรียนของคนพลัดถิ่นในการจัดการศึกษา<br />

ในการถายทอด ผลิต/สรางอุดมการณชาตินิยมของคนไทใหญ<br />

ขอมูลภาคสนาม ในการเก็บขอมูลภาคสนามนั้น สามารถแบงออกไดเปน การเก็บขอมูล<br />

แบบการสังเกตการณอยางมีสวนรวม ทั้งในพื้นที่ของโรงเรียนที่เปนสถานที่ในการจัดการเรียนการ<br />

สอนใหกับนักเรียนไทใหญ บรรยากาศ สภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน รวมถึงใน<br />

โอกาสวันสําคัญๆ ตาง เชน วันชาติ วันกองทัพ เปนตน เพื่อเปนการสังเกตการณและสัมภาษณ<br />

อยางมีสวนรวมกับผูใหขอมูลสําคัญ (key informant) ซึ่งเปนชาวไทใหญพลัดถิ่น รวมถึงการพูดคุย<br />

อยางไมเปนทางการและการสัมภาษณแบบเจาะลึกกับผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการจัดระบบการศึกษา<br />

ในโรงเรียนพลัดถิ่นดังกลาว เชน ผูอํานวยการ ผูจัดการโรงเรียน ครู นักเรียน ผูที่เขียนหลักสูตร<br />

ฯลฯ โดยการเก็บขอมูลเชิงสัมภาษณจะตองมีกระบวนการตรวจสอบแบบสามเสา ผานเครื่องมือ<br />

ของกระบวนการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participation Research Action - PRA) ที่แตกตางกัน เชน<br />

สนทนากลุมยอย สัมภาษณเชิงลึก เพื่อเปนการตรวจสอบขอมูลของผูใหขอมูล นอกจากนี้ยังสํารวจ<br />

และศึกษาเอกสารวิชาการ, ขาว, สื่อ, ประกาศตางๆที่เกี่ยวของ การจัดการศึกษาใน “โรงเรียนของ<br />

คนพลัดถิ่น”


18<br />

1.6 ผลที่คาดวาจะไดรับ<br />

1.6.1 ทําใหเขาใจถึงความสําคัญ บทบาทและการทําหนาที่ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”<br />

ในบริบทของกลุมชาติพันธุไทใหญในประเทศพมา<br />

1.6.2 ทําใหเขาใจถึงเนื้อหา สาระสําคัญ ของการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

ภายใตเงื่อนไขทางประวัติศาสตร ผานกลไกของการจัดระบบการศึกษาใน “โรงเรียนของคนพลัด<br />

ถิ่น”<br />

1.6.3 เปนการสรางมุมมองของการศึกษาในระบบ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” จากคน<br />

ภายนอกกลุมชาติพันธุ ในการสะทอนเงื่อนไข และขอจํากัดของการจัดระบบการศึกษา<br />

1.7 ระยะเวลาในการศึกษา<br />

ชวงการทบทวนวรรณกรรมเพิ่ม เดือนกันยายน – ตุลาคม พ.ศ.2550<br />

ศึกษาเก็บขอมูลในพื้นที่จริง เดือนพฤศจิกายน – เมษายน พ.ศ.2551<br />

ประมวลขอมูลเพื่อวิเคราะห เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม พ.ศ.2551<br />

สรุปขอมูลรวมกับอาจารยที่ปรึกษา เดือนกรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ.2551<br />

นําเสนอวิทยานิพนธ เดือนกันยายน พ.ศ.2551


บทที่ 2<br />

แนวคิดทฤษฎีและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ<br />

ในการศึกษาโรงเรียนของคนพลัดถิ่น: การสรางอุดมการณชาตินิยมในระบบการศึกษา<br />

ของโรงเรียนบนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของสําหรับงานวิจัย<br />

นี้คือ ผูพลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced people) โรงเรียนในฐานะกลไกในการเผยแพร<br />

อุดมการณของรัฐ (ideological state apparatus) และชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism)<br />

รวมถึงไดทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับชนชาติไทใหญใน 2 ประเด็น ไดแก งานศึกษาเกี่ยวกับ<br />

ชนชาติไทใหญ และไทใหญในฐานะคนพลัดถิ่น (displaced people) ดังนี้<br />

2.1 แนวคิดที่ใชในการศึกษา<br />

2.1.1 แนวคิดผูพลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced people)<br />

การศึกษาเกี่ยวกับผูพลัดถิ่น (displaced people) นั้นผูศึกษาเห็นวาไดมีผูที่ใหคําจํากัด<br />

ความและลักษณะของผูพลัดถิ่น (displaced people) ในหลายรูปแบบซึ่งขึ้นอยูกับตัวของผูพลัดถิ่น<br />

เอง และบริบทของการถูกทําใหเปนผูพลัดถิ่น ทําใหในปจจุบันเรามักจะเห็นคําหลายๆ คําที่พยายาม<br />

จะใหคํานิยามที่แตกตางหลากหลายออกไป เชน คนพลัดถิ่น (diaspora) หรือผูพลัดถิ่น<br />

(displace people) โดยมีนักคิดและนักทฤษฎีหลายทานก็ไดแสดงถึงความแตกตางของการใหคํา<br />

นิยามที่มีความชัดเจนแตกตางกันไป ซึ่งผูศึกษาไดนํางานของ ฐิรวุฒิ เสนาคํา เพื่อแสดถึงการศึกษา<br />

คนพลัดถิ่นในคํานิยามของผูพลัดถิ่น (diaspora) ในบริบทตางๆ ดังที่จะกลาวดังตอไปนี้<br />

จากงานศึกษาแนวคิดคนพลัดถิ่นกับการศึกษาชาติพันธุของ ฐิรวุฒิ เสนาคํา (2547)<br />

ไดสรุปงานศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดคนพลัดถิ่นวา ปจจุบันแนวคิดคนพลัดถิ่นไดรับความสนใจอยาง<br />

สูง Phil Cohen ระบุวาระหวางป ค.ศ. 1975-1999 มีหนังสือไมนอยกวา 216 เลมที่ใชคนพลัดถิ่นเปน<br />

หัวเรื่องหลักและหัวเรื่องรอง (Phil, 1999; อางใน ฐิรวุฒิ เสนาคํา, 2547: 56-59) นอกจากหนังสือ


20<br />

ยังมีวารสารออกใหมที่อุทิศเนื้อหาใหกับการศึกษาคนพลัดถิ่นโดยตรงวารสารบางฉบับมีบทความ<br />

วาดวยคนพลัดถิ่นลงพิมพอยางสม่ําเสมอ นับตั้งแตทศวรรษ 1990 เรื่อยมา<br />

Khacig (1996) กลาววาคนพลัดถิ่นแปลความจาก “diaspora” ซึ่งแปลมาจากภาษากรีก<br />

อีกทอดหนึ่ง “diaspora” มีความหมายเทากับ “through” หรือ “ทะลุ/ ผานเขาไป” และ “speirein”<br />

หมายถึง “sow/ scatter” หรือ “หวาน/ เพาะเมล็ด”รวมความแลว diaspora มีความหมายถึง การแพร<br />

ออกไป การกระจายออกไป หรือ “to sow wider” (การหวานกระจายออกไปอยางกวางขวาง)<br />

“to saw the seeds” (การหวานเมล็ด)<br />

Jonh (1976) ไดพูดถึงแนวคิดคนพลัดถิ่น (diaspora as typological tool) ไดรับการ<br />

พัฒนามาคอนขางยาวนาน ในบทความชิ้นบุกเบิก John Armstrong ใหความหมายคนพลัดถิ่น<br />

วาหมายถึง ชุมชนเชื้อชาติที่ปราศจากพื้นที่ที่เปนหนวยทางการเมืองของตน และจําแนกคนพลัดถิ่น<br />

เปนสองประเภท คือ คนพลัดถิ่นประเภทกรรมมาชีพ และคนพลัดถิ่นที่ไดรับการกระตุน<br />

ในบทความตีพิมพในวารสาร Disapora ฉบับแรก William Safran ไดสรางตัวแบบ<br />

คนพลัดถิ่น และใหความหมายคนพลัดถิ่นวาหมายถึง ชนกลุมนอยที่ถูกขับออกจากดินแดน<br />

ที่สมาชิกมีลักษณะรวมหกประการคือ (William: 1976; อางใน ฐิรวุฒิ เสนาคํา, 2547: 56-59)<br />

- ถูกขับออกจากศูนยกลาง ถิ่นกําเนิดไปอยูตางแดน ตั้งแตสองแหงขึ้นไป<br />

- ยังคงรักษาความทรงจํารวม และมายาคติเกี่ยวกับถิ่นกําเนิด<br />

- ไมไดรับการยอมรับโดยสมบูรณจากสังคมประเทศที่อาศัย จึงรูสึกแปลกแยก<br />

โดดเดี่ยว<br />

- ถือวามาตุภูมิคือบานที่แทหรือบานในอุดมคติ และเปนสถานที่ที่ตองกลับไปใน<br />

เวลาที่เหมาะสม<br />

- มีพันธะที่จะตองรักษา บูรณะ ฟนฟู หรือสถาปนามาตุภูมิของตน<br />

- มีสายสัมพันธกับมาตุภูมิ ทั้งโดยสวนตัวหรือโดยฐานะตําแหนงสายสัมพันธ<br />

ดังกลาวมีความสําคัญอยางยิ่งยวด เพราะเปนที่มาของสํานึกความเปนเชื้อชาติและ<br />

ความสมานฉันทของเชื้อชาติ<br />

Michel (Michell, 2001) สรางตัวแบบการศึกษาคนพลัดถิ่นในความหมายกวางขึ้น<br />

โดยไดกําหนดเกณฑวา คนพลัดถิ่นคือคนกลุมที่<br />

- ตระหนักหรืออางความเปนอัตลักษณทางชาติพันธุ หรืออัตลักษณแหงชาติ<br />

- มีองคกรทางการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมของกลุมในตางแดน


21<br />

- สัมพันธกับมาตุภูมิ ทั้งในแงที่เปนจริงและในจินตนาการ<br />

Floya Anthias (1998) มองวางานที่เปนตัวแทนของแนวคิดนี้ในปจจุบันคืองานของ<br />

Robin Cohen กาวเลยไปจากตัวแบบการศึกษาคนพลัดถิ่นที่ไดจากการศึกษาคนยิว เพราะเห็นวา<br />

ตัวแบบการศึกษาจากประสบการณดังกลาวอาจจะไมเพียงพอกับการอธิบายคนพลัดถิ่นในปจจุบัน<br />

ดังนั้น Cohen จึงใหความหมายคนพลัดถิ่นใหมวา หมายถึงกลุมคนหรือชุมชน ขามพรมแดน<br />

รัฐ-ชาติ ที่มีลักษณะสําคัญเกาประการคือ (Robin, 1977; อางใน ฐิรวุฒิ เสนาคํา, 2547: 73-74)<br />

- กระจายตัวอยูนอกมาตุภูมิตั้งแตสองแหง หรือสองประเทศขึ้นไป<br />

- เหตุของการกระจายนี้ อาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทํา การคาหรือ<br />

นโยบายของเจาอาณานิคม<br />

- มีความทรงจํารวมเกี่ยวกับถิ่นกําเนิด<br />

- มีอุดมคติและพันธะรวมในการรักษา ฟนฟู สรางความปลอดภัย ความมั่งคั่งแก<br />

มาตุภูมิ<br />

- มีสํานึกรวมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ<br />

- มีสํานึกความเปนกลุมชาติพันธุที่เขมขน และสํานึกดังกลาวไดรับการธํารงไว<br />

ขามกาลเวลา<br />

- มีความสัมพันธไมราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยูในปจจุบัน<br />

- มีความเห็นอกเห็นใจและมีความเปนปกแผนหรือความสมานฉันทกับคนพลัดถิ่น<br />

ชาติพันธุเดียวกันในอีกประเทศ<br />

- อาจจะมีชีวิตที่เฉพาะ สรางสรรค และมั่งคั่งในประเทศที่พักพิง ที่มีขันติธรรม<br />

ตอความแตกตางทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม<br />

ลักษณะรวมดังกลาวไมจําเปนจะตองพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่น และ<br />

จากเกณฑดังกลาว Cohen แบงคนพลัดถิ่นออกเปนหาประเภท คือ<br />

1) คนพลัดถิ่นที่เกิดจากการบีบบังคับหรือตกเปนเหยื่อ (victim diasporic community)<br />

2) ชุมชนพลัดถิ่นดานแรงงาน (labor diasporic community)<br />

3) ชุมชนพลัดถิ่นที่เกิดจากกิจกรรมการคา (trade diasporic community)<br />

4) ชุมชนพลัดถิ่นที่เกิดมาจากระบบจักรวรรดินิยม (imperial diasporic community)<br />

5) ชุมชนพลัดถิ่นดานวัฒนธรรม (cultural diasporic community)<br />

จากแนวคิดคนพลัดถิ่นที่ไดมีคนใหคํานิยามไวมากมาย ไมวาจะมองทางดานของตัวคน<br />

พลัดถิ่น การสรางโมเดลอธิบาย หรือเงื่อนไขของการพลัดถิ่น เหลานี้ลวนแลวแตเปนการกลุมคํา<br />

ที่มาใชในการอธิบายความเปนคนพลัดถิ่นที่กระจาดกระจายออกไปจากถิ่นฐานบานเกิดเดิมของตน


22<br />

การอธิบายเหลานั้นมักจะใชฐานของการวิเคราะหผานพื้นที่เดิมกับพื้นที่ใหมในสังคมขามพรมแดน<br />

มาใชในการอธิบาย (ฐิรวุฒิ เสนาคํา: เพิ่งอาง)<br />

อยางไรก็ตาม บทความของ ฐิรวุฒิ เสนาคํา (2547) ไดสรุปภาพรวมของการศึกษาคน<br />

พลัดถิ่น เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนขึ้นไวอยางนาสนใจ โดยไดจําแนกกลุมของงานศึกษา<br />

เกี่ยวกับคนพลัดถิ่นออกเปน 2 กลุมคือ แนวคิดตัวแบบคนพลัดถิ่น (diaspora as typological tool)<br />

และแนวคิดเงื่อนไขคนพลัดถิ่น (diaspora as social condition) ซึ่งแนวคิดทั้งสองกลุมนี้แตกตางกัน<br />

ที่การตั้งคําถามตอคนพลัดถิ่น (diaspora) กลาวคือ<br />

แนวคิดแรกนั้น เปนการหยิบเอาคนพลัดถิ่นที่มีการนิยามความหมายและการจัดจําแนก<br />

ประเภทอยางคับแคบ และไมยืดหยุน (fix boundary) แลวมาจับใสกลองที่เรียกวาเปนตัวแบบ<br />

(model) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ มีการกระจายอยูนอกมาตุภูมิทั้งในแงลบ คือ การตกเปนเหยื่อที่ถูก<br />

ทําใหพลัดถิ่นออกไปจากมาตุภูมิ และแงบวก คือ เปนการพลัดถิ่นภายใตความสมัครใจที่จะออกจาก<br />

ดินแดนที่เปนมาตุภูมิ เพื่อวัตถุประสงคตางๆ เชน การเดินทางเพื่อทําการคาและการตั้งชุมชนนอก<br />

มาตุภูมิของชาวจีนและชาวเลบานอน การเขาไปตั้งถิ่นฐานในอาณานิคมของคนจากประเทศ<br />

อาณานิคม เชน ดัตช อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน และโปรตุเกส การแสวงหางานทํา เปนตน<br />

โดยที่กลุมคนเหลานี้มีความทรงจําเกี่ยวกับมาตุภูมิ และพันธะสัญญารวมในการฟนฟู<br />

รักษา สรางความปลอดภัย และความมั่งคั่งแกมาตุภูมิ มีสํานึกรวมความเปนกลุมชาติพันธุที่เขมขน<br />

และมีกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ มีความสัมพันธทั้งราบรื่นหรือไมราบรื่นกับสังคม<br />

ของประเทศที่อาศัยอยูในปจจุบัน (Safran 1991, Cohen 1996, Cheng and Katz 1998; อางใน ฐิรวุฒิ<br />

เสนาคํา, 2547: 52-60) ซึ่งมีนัยของการมองกลุมคนพลัดถิ่นเหลานี้ในลักษณะที่เปนกลุมชาติพันธุ<br />

ที่มีความเปนเอกภาพ ความเปนหนึ่งเดียว (homogenous) ไมเปลี่ยนแปลง ปราศจากความขัดแยง<br />

ทางเพศ ชนชั้น เชื้อชาติ และวัย<br />

ขณะที่แนวคิดแบบหลัง เปนการใหความสําคัญกับบริบทมากกวา คือตั้งคําถามวา<br />

ภายใตเงื่อนไขอะไรที่ทําเกิดภาวการณพลัดถิ่นหรือคนพลัดถิ่นขึ้นมา และการมาปะทะกับจิตสํานึก<br />

แบบอื่นๆนั้นจะทําใหกอรูปจิตสํานึกตางๆ อยางไร โดยใชงานศึกษาของ Stuart Hall ซึ่งให<br />

ความสนใจกับประเด็นอัตลักษณในการศึกษาคนพลัดถิ่นเปนหลัก โดยมองวา หากทําความเขาใจ<br />

คนพลัดถิ่นที่อัตลักษณจะพบวา คนพลัดถิ่นไมมีบานเกิดและมาตุภูมิศักดิ์สิทธิ์ แตบานถูกเปลี่ยน


23<br />

และเลาใหม โดยที่บานอาจมีหลายบานและไมจําเปนตองมีจุดเริ่มตน ดังนั้นอัตลักษณคนพลัดถิ่น<br />

จึงเปนอัตลักษณผสมหรือพันทาง เปนเรื่องเลา ไมมีแกนแกน แตกลับเปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้นใน<br />

ทางประวัติศาสตร วัฒนธรรม การเมือง และวาทกรรม ภายใตกระบวนการเปลี่ยนความเหมือน<br />

(changing same) นั่นคือ แมวาคนพลัดถิ่นจะมีประวัติศาสตรหรือวัฒนธรรมรวม แตคนพลัดถิ่น<br />

มีความแตกตางกัน (ฐิรวุฒิ เสนาคํา, เพิ่งอาง)<br />

Hall (1990) ไดศึกษาคนพลัดถิ่นในการนําเสนออัตลักษณ (identity) จากภาพยนตรที่มา<br />

จากโลกที่สาม (third cinemas) ซึ่ง Hall ใหความสําคัญกับตําแหนงแหงที่ (position) คือ ณ ตําแหนง<br />

แหงที่ใดที่สรางภาพลักษณนั้นขึ้นมา ซึ่งตําแหนงแหงที่ดังกลาวมีนัยยะในความสัมพันธเชิงอํานาจ<br />

และทางการเมือง ในขณะเดียวกันแนวความคิดของ Hall ก็มีลักษณะที่เปนการขัดกัน (paradox)<br />

อยู คือ การจะเขาใจจิตสํานึกของคนผิวดําเหลานี้วามีจิตสํานึกในการถูกกดขี่ไมสามารถเกิดขึ้นได<br />

ถาไมถูกกดขี่ แนวคิดแบบ marxism คือ บริบทกําหนดโครงสราง (structure) ซึ่งหากมองอยางนี้<br />

อาจจะกลาวไดวา “พมาเปนตัวกระทําการ (actor) ที่สําคัญมาก หรือ ก็คือสรางความทรงจําที่<br />

เจ็บปวด เปนตัวขับเคลื่อนใหเกิดจิตสํานึกของอัตลักษณชาวไทใหญ<br />

ในงานของ Silliman (Silliman, 2002) ซึ่งบทความนี้เปนการโตแยงกับแนวคิดที่มอง<br />

เรื่องความเจ็บปวดกับการยายถิ่น จากประสบการณของหญิงชาวยิวที่เกิดและเติบโตมาจากสังคมยิว<br />

ที่ Calcutta ซึ่งมองในประเด็นอัตลักษณ (identity) ผานแหลงอํานาจ ชนชั้น รวมกับผูพลัดถิ่น<br />

(diaspora) ในที่นี้แสดงใหเห็นถึงคนพลัดถิ่น (diaspora) มีอํานาจในการฉกฉวยผานการตอรอง<br />

ในการจัดการกับการปะทะกันของโลกแหงจินตนาการกับโลกของความเปนจริง ซึ่งในบทความนี้<br />

ทําใหเห็นวามีการใชศาสนา การอางอิงกับโลกตะวันตก ในการแสดงการปรับตัว<br />

Nonini (1997) ไดศึกษาคนพลัดถิ่นชาวจีนที่ไมไดจํากัดอยูเฉพาะชนชั้นสูง (elite)<br />

เทานั้น ซึ่งผูเขียนไดใชแนวคิดของ Foucault มาใชกับเรื่องของ “การสรางวินัย” ซึ่งมีการพยายาม<br />

สรางวินัยเพื่อทําใหเกิดความเปนชาติพันธุจีนขึ้นมา เปนการกระทําผานรางกาย/ตําแหนงแหงที่<br />

(disciplined body) ซึ่งในสังคมจีนจะพบวา “ความกตัญู” เปนกระบวนการสรางวินัยใหเด็กรู<br />

ตําแหนงแหงที่ของตนเอง จากการศึกษานี้พบวาคนจีนที่เปนคนพลัดถิ่น (diaspora) ที่ไมใชชน<br />

ชั้นสูง (non-elite) มีจินตนาการขามชาติของคนพลัดถิ่นชาวจีน ซึ่งเปนกลยุทธที่ชวยใหคนกลุมนี้


24<br />

สามารถหลีกหนีจากการเปนชนกลุมนอยของตนเอง ภายใตความเปนรัฐแบบมาเลเซีย<br />

ซึ่งจินตนาการขามชาติ คือ การไมยึดติดกับจินตนาการของความเปนชาติ<br />

จากบทความ Memory of Displacement มีการศึกษาประวัติศาสตรความเจ็บปวดผาน<br />

ความทรงจําที่เปนประสบการณสวนตัวของคนพลัดถิ่น โดยที่ความทรงจํามันไมเปนกลาง มันถูก<br />

เขียนในความโนมเอียง ดังนั้น ประวัติศาสตรที่เขียนขึ้นมาจากความทรงจํามันจึงไมเปนกลาง<br />

ซึ่งเมื่อมองเรื่อง “บาน” กับ “ภาวะพลัดถิ่น” จึงมักถูกมองแบบคูตรงขาม ซึ่งบทความนี้ใชแนวคิด<br />

discourse of value มาใชในการมอง “บาน” ของคนพลัดถิ่น โดยใชวิทยาการวิเคราะหสัญญะ<br />

(textual analysis) ซึ่งระบบความคิดของ “บาน” มันมี Rooted แสดงถึงความสัมพันธเชิงอํานาจ และ<br />

การมองเรื่องวิญญาณ กลาวคือ เปนการใหความหมายกับ “บาน” ที่พนไปจากพื้นที่ทางกายภาพของ<br />

บาน นอกจากนี้ “บาน” มันยังผูกติดกับความเปน “ชาติ” หรือ “รัฐชาติ”<br />

จากแนวคิดคนพลัดถิ่น จะเห็นไดวามีผูที่ศึกษาไวจํานวนมาก จากการศึกษาดังกลาวก็<br />

ไดทําใหเห็นคนพลัดถิ่น ในมิติที่แตกตางกันไปตามประเด็นของการศึกษา ซึ่งในการศึกษานี้ให<br />

ความสําคัญกับคนพลัดถิ่นไทใหญตามองคการมนุษยธรรมชายแดนไทย-พมา (Thailand Burma<br />

Border Consortium) (2549) ที่นําเสนอคนพลัดถิ่น ในรูปแบบการพลัดถิ่นฐานภายในประเทศ<br />

(internally displaced people) ซึ่งไดใหความหมายของ ผูพลัดถิ่นภายในประเทศ คือ ผูที่ถูกบังคับ<br />

ผลักไสใหตองละทิ้งถิ่นที่อยูอาศัย ทวายังคงอยูในประเทศบานเกิดของตนเอง คํานิยามดังกลาวเปน<br />

ที่ยอมรับในกฎหมายสิทธิมนุษยชนสากล กฎหมายมนุษยธรรม และกฎหมายผูลี้ภัยใหนิยาม<br />

ผูพลัดถิ่นภายในประเทศดังนี้<br />

ผูพลัดถิ่นฐานภายในประเทศ หมายถึง บุคคลซึ่งถูกบังคับหรือกดดันใหตองหลบหนี<br />

หรือละทิ้งสถานที่อยูอาศัยเพื่อหลีกเลี่ยง หรือเนื่องจากไดรับผลกระทบจากสงคราม สถานการณ<br />

รุนแรงอันแผกวาง การละเมิดสิทิมนุษยชนภัยธรรมชาติ หรือภัยจากฝมือมนุษย โดยยังมิไดขาม<br />

พรมแดนระหวางรัฐ (UN, 1998: 46)<br />

การศึกษาครั้งนี้จึงมองคนไทใหญพลัดถิ่นในฐานะผูพลัดถิ่นฐานภายในประเทศ ผนวก<br />

กับแนวคิดของคนพลัดถิ่น (Diaspora) ในมิติของการใหความสําคัญกับบริบทมากกวา คือตั้งคําถาม<br />

วา ภายใตเงื่อนไขที่ทําเกิดภาวการณพลัดถิ่นหรือคนพลัดถิ่น และการมาปะทะกับจิตสํานึก<br />

แบบอื่นๆนั้น กลุมคนเหลานี้จะทําใหกอรูปจิตสํานึกตางๆ ออกมาอยางไร โดยเฉพาะจิตสํานึก


25<br />

ทางดานของอุดมการณชาตินิยม ที่เกิดจากประสบการณ เรื่องเลา ประวัติศาสตรของชนชาติตนเอง<br />

อยางไร ผานการใชเทคโนโลยีของเครื่องมือการสรางอุดมการณ ในระบบของการศึกษาในโรงเรียน<br />

ที่เปนการจัดการแบบลักษณะเฉพาะตัวของ “โรงเรียนคนพลัดถิ่น”<br />

2.1.2 แนวคิดโรงเรียนในฐานะกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ (ideological state<br />

apparatus)<br />

การศึกษาในระบบโรงเรียนที่เปนที่รูจักกันในทุกวันนี้ เปนสิ่งที่เกิดขึ้นในรัฐสมัยใหม<br />

นับตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 24 (คริสตศตวรรษที่ 19) เพื่อใชเปนกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ<br />

เพื่อสรางความสํานึกในความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ การอบรมเพาะบมเยาวชนในทิศทาง<br />

ที่ชาติตองการ ตลอดจนภารกิจในการถายทอด สรางสรรค และอนุรักษวัฒนธรรมของชาติ<br />

เจตนารมณ ของการศึกษาเพื่อผลิตคน และสรางสังคม จัดเปนระบบและนโยบายแหงชาติ และ<br />

ยังเปนสถาบันหนึ่งของสังคมมนุษย<br />

กาญจนี ละอองศรี (2544) กลาววาการจัดการศึกษาอยางครบวงจรจะตองมีโรงเรียน<br />

มีหลักสูตร แบบเรียน ครู นักเรียน การวัดผล แตละหนวยลวนมีบทบาท หนาที่ของตน หลักสูตร<br />

เปนการกําหนดทิศทางของเนื้อหาความรู กระบวนการเรียนการสอน โดยมีแบบเรียนหรือตําราเรียน<br />

เปนสื่อความรู ความคิด มีครูเปนสื่อถายทอด มีนักเรียนเปนผูรับสื่อ และมีการวัดผลเพื่อประเมิน<br />

ผลสัมฤทธิ์<br />

ในขณะเดียวกัน โรงเรียนก็ไดจัดการศึกษา หลักสูตร และแบบเรียน ถือวาเปนปจจัย<br />

หลักที่มีความสําคัญตอการสรางความเปนพลเมืองดี ตามคุณสมบัติของรัฐปรารถนา (วารุณี โอสถา<br />

รมย, 2544: 24-25) ซึ่งโรงเรียนจะสอนเนื้อหาวิชาตางๆ เพื่อเปนการหลอหลอมเด็กโดยมีเปาหมาย<br />

เพื่อค้ําจุนอุดมการณหลักมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น (Louis Athusser, 2529: 37)<br />

ธงชัย วินิจกุล (2537) กลาววา ทั้ง Anderson และนิธิ ไดชี้ถึงการทําหนาที่ของโรงเรียน<br />

ในระบบของการศึกษาสมัยใหม ซึ่งเปนกระบวนการที่รัฐใชปลูกฝงสํานึกในชาติ เรียกไดวา<br />

รัฐแพรกระจายสํานึกแบบหนึ่งจากบนสูลางสําเร็จไดอยางราบรื่น โดยผานการกลอมเกลาสมอง<br />

ตั้งแตเด็กจนโต แตอันที่จริงไมความรูใดๆ ความหมายใดๆ ในเรื่องใดๆ เลยที่ปราศจากคูแขง


26<br />

คูขัดแยงตอสู ไมมีความรูใดๆ เลยที่สามารถผลิตหรือประดิษฐสิ่งใหมๆ ขึ้นมาอยางลําพังอํานาจ<br />

ของตน แตกลับไปเกี่ยวของ แลกเปลี่ยน ปะทะ ขัดแยง หรือผสมผสานกับความรูใกลเคียงที่ดํารงอยู<br />

กอนเสมอ อยางนอยที่สุดสํานึกในชุมชนแบบเดิมตองปะทะประสานกับสํานึกในความเปนชาติ<br />

Eric Hobsbowm ไดชี้ใหเห็นวาระบบการศึกษา ที่รัฐอางวาจัดขึ้นเพื่อเปนการพัฒนา<br />

ประเทศ และปลดปลอยประชากรยังถูกใชเปนเทคนิคทางอํานาจ หรือ “เครื่องมือในกระบวนการ<br />

หลอหลอมทางสังคมทางการเมือง” (Machine for Political Socialization) ของรัฐในการสรางความ<br />

เปนพลเมืองใหกับประชาชน เชนการเคารพธงชาติในชีวิตประจําวัน (ชนิดา ชิตบัณฑิตย, 2545:<br />

202-209)<br />

เรื่องการสอนลัทธิชาตินิยมในโรงเรียน โดยเจตจํานงแลวลัทธิชาตินิยมในหมู<br />

ผูสนับสนุนเปนสิ่งที่ดีโดยทั่วไป ความรักบาน ความรักดินแดนทองถิ่น แมกระทั่งความภาคภูมิใจ<br />

ในความสําเร็จทางประวัติศาสตรเปนสิ่งที่สมควรจะภูมิใจ ความรักชาติเปนความรูสึกซับซอน<br />

ซึ่งเกี่ยวของ กับความรักผืนแผนดิน และสภาพแวดลอม รากฐานของความรูสึกดั้งเดิมไมเกี่ยวของ<br />

กับเศรษฐกิจ หรือการเมือง ความรักชาติเปนความรูสึกเพื่อบานเมืองของตน ไมใชความรูสึกตอตาน<br />

ประเทศอื่นๆ การสอนใหซื่อสัตย จงรักภักดีถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการชาตินิยมที่สมบูรณ<br />

ที่สุด เชน การเคารพธงชาติ ธงชาติเปนสัญลักษณแทนความสามารถทางการรบของชาติ ซึ่งบงชี้<br />

ถึงการตอสู สงคราม การเอาชนะ และวีรกรรมของวีรชน ในโลกตะวันตก เด็กชายหญิงจะถูกสอน<br />

วา ความจงรักภักดีทางสังคมที่สําคัญที่สุด คือ ความจงรักภักดีตอรัฐ และหนาที่ของเขาตอรัฐ คือ<br />

การปฏิบัติตามทิศทางของรัฐบาล พวกเขาถูก สอนประวัติศาสตรที่ผิดพลาดนโยบายที่ผิดพลาด<br />

และเศรษฐกิจอันไมถูกตอง เรียนรูถึงพฤติกรรม ที่ไมถูกตองของรัฐตางชาติ แตจะไมถูกสอน<br />

เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไมถูกตองของรัฐบาลตนเอง พวกเขาถูกสอนใหสรุปวา สงครามทุกครั้งที่รัฐตน<br />

เกี่ยวของดวยนั้น เปนสงครามเพื่อปองกันตนเอง<br />

ในขณะที่ตางชาติเปนผูรุกราน การรับราชการถูกเสนอวาเปนการเตรียมตัวอันสูงสงใน<br />

การปองกันประเทศของตน แตไมมีการกลาวถึงสิ่งที่จะทําใหเยาวชนตระหนักวากิจกรรมทางทหาร<br />

ของประเทศตนถาเปนประเทศที่ทรงอํานาจมักเปนการรุกรานตางชาติมากกวาการปองกันประเทศ<br />

ของตน เด็กๆ มักถูกสอนวาประเทศของตนเปนประเทศที่ดีที่สุด (สุวรรณา สถาอานันท แปล.<br />

2533: 131-144)


27<br />

การสอนใหเกิดขอขัดแยงทางประวัติศาสตรในอดีตยังพบในแบบเรียนของประเทศใน<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต แตอยางไรก็ตามการเรียนการสอนยังตองขึ้นอยูกับจุดมุงหมายนโยบายของ<br />

รัฐ ตลอดจนการกําหนดไวในหลักสูตรวาเปนสิ่งสําคัญ พิพัฒน พสุธารชาติ (2545: 235 – 236)<br />

ไดกลาวถึง อุดมการณรัฐในแบบเรียนไววาระบอบการปกครองใดๆ ก็ตามจะดํารงอยูไดก็ตอเมื่อคน<br />

ในสังคมนั้น ๆ มีความเชื่อหรือมีอุดมการณทางการเมืองที่รองรับกับระบบการปกครองนั้นๆ โดยที่<br />

อุดมการณทางการเมืองนั้นจะตองไดรับและถูกหลอเลี้ยงเอาไวเพื่อธํารงอยูซึ่งระบบการปกครองใน<br />

แบบที่รัฐพึงพอใจ เมื่อเปนเชนนั้นรัฐจึงตองสราง และถายทอดอุดมการณทางการเมืองดังกลาว<br />

จากรัฐสูประชาชน และสรางมันใหกลายมาเปนอุดมการณทางการเมืองที่ประชาชนยอมรับ และ<br />

ถือเอาไวรวมกันอยางไมเสื่อมคลาย<br />

คําวา อุดมการณ หรือ ideology นั้น ไดมีจุดกําเนิดในการใชภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส<br />

ใน ค.ศ 1789 ถูกใชครั้งแรกโดย Antoine Louis Claude Destutt De Tracy (1754 -1836) มโนทัศน<br />

ในการตีความ และใหความหมายอุดมการณไดมีพัฒนาการไปหลายบทบาท คําวาอุดมการณไดมี<br />

การถกเถียงและใหคํานิยามในเหลาปญญาชนยุโรปสมัยนั้นในหลายรูปแบบ ทั้งการมองอุดมการณ<br />

ในดานบวก และอุดมการณในดานลบ ทั้งในดานความคิด และในดานทางปฏิบัติในเริ่มแรก<br />

ความหมายของอุดมการณ ไดถูกกลาวถึง โดย De Tracy ในฐานะที่วาอุดมการณคือ ศาสตรแหง<br />

ความคิด (science of ideas) การมองอุดมการณในแงนี้เปนการมองอุดมการณในแงบวก ที่วา<br />

ลักษณะของอุดมการณในแงนี้หลุดพนจากอคติทางศาสนามาเกี่ยวพัน กลาวคือ เปนการมอง<br />

อุดมการณที่มีลักษณะเปนวิทยาศาสตร ที่เชื่อวาความคิดมีที่มามาจากประสาทสัมผัส (sensation)<br />

และโดยวิธีการประจักษทางวิทยาศาสตรจึงจะบรรลุถึงที่มาของความคิดได การเขาถึงที่มาของ<br />

ความคิดไดนี้จะนําไปสูการสรางระบบการศึกษาสาธารณะ (public education) อุดมการณ<br />

ในรูปแบบนี้ยังถือวาเปนอุดมการณที่มีลักษณะเปนวัตถุนิยม (materialism) ทางความคิด เพราะวา<br />

เปนการใชหลักการทางวิทยาศาสตรมีจุดมุงหมายทางการเมืองที่มุงใหเกิดการสงผานระเบียบสังคม<br />

ผานการศึกษาสาธารณะ (หทัยรัตน มั่นอาจ, 2549:21-23)


28<br />

การตีความในแงลบของอุดมการณไดถูกเริ่มตนขึ้นครั้งแรก โดย Napolean Bonapatre<br />

(1769-1821) หลังพายศึกที่รัสเซีย ทั้งนี้เขาไดกลาววิจารณปญญาชนผูศึกษาเรื่องอุดมการณนี้วาเปน<br />

พวก ideologue กลาวคือเปนกลุมพวกที่ไมเขาใจในความเปนจริงของสังคมและยึดติดกับความคิด<br />

และทฤษฎีที่ไมสามารถปฏิบัติใหเปนรูปธรรมได<br />

วนัส ปยะกุลชัยเดช (2548) ในบทความเรื่อง “อุดมการณแบบมารกซิสต: จากการปกปด<br />

สูสิ่งเลื่อนลอยจนถึงวิทยาศาสตร, พัฒนาการของมโนทัศนอุดมการณจากมารกซถึงเลนิน”<br />

ไดวิเคราะหการมองและการตีความหมายของอุดมการณในแนวทางแบบ marxist ของเหลา<br />

นักวิชาการที่มิใช marxist ไดแบงการใหความหมายและตีความอุดมการณออกเปนแนวทางใหญๆ<br />

สามแนวทางกลาวคือ<br />

1) อุดมการณในความหมายของความคิดที่เปนเท็จ (false Idea) ที่ผิดพลาดจากความเปน<br />

จริงซึ่งจะมีคําที่ใชเชน อุดมการณในฐานะที่เปนจิตสํานึกจอมปลอม (false conciousness) ภาพมายา<br />

illusion เปนตน<br />

2) อุดมการณในฐานะเปนจิตสํานึกทางชนชั้น class consciousness<br />

3) อุดมการณในแงของจิตสํานึกเรื่องผลประโยชนของชนชั้นปกครองอุดมการณ<br />

ในความหมายที่หนึ่งที่เปนแนวดานลบนั้นบุคคลสําคัญที่ออกมากลาวถึงคือ Karl Marx ซึ่งเห็นวา<br />

อุดมการณและเหลาปญญาชนที่พยายามอธิบายอุดมการณนั้นเปนเพียงการอธิบายเทานั้นมิสามารถ<br />

ที่จะเปลี่ยนแปลงโลกใหดีขึ้นได ซึ่ง Marx เองไดเขียนเอาไวในงานของเขาชื่อวา The German<br />

Ideology กลาวถึงความสามารถเชิงปฏิบัติของอุดมการณที่ไมเปนจริง อุดมการณจึงหมายถึง<br />

ความคิดที่เปนเท็จและเปนจิตสํานึกจอมปลอมในความคิดของ Marx ความคิดนี้ก็ไดถูก แพรหลาย<br />

ออกไปในชวง ค.ศ. ที่ 20 อุดมการณ จึงถือเปนเพียง “มายา” “สํานึกจอมปลอม” (หทัยรัตน มั่นอาจ,<br />

2549: อางแลว)<br />

อุดมการณถือเปนเครื่องมือที่ชนชั้นปกครองใชมอมเมาผูปกครอง เพื่อแยกวิทยาศาสตร<br />

กับอุดมการณออกจากกันอุดมการณในแนวที่สามถูกใหความหมายเปนกลาง อาจเปนแนวบวกหรือ<br />

ลบก็ได กลุมนี้ ไดแก Lenin,Gramsci และ Athusser ผูซึ่งเห็นวาอุดมการณเปนจิตสํานึกของชนชั้น<br />

1<br />

1 วนัส ปยะกุลชัยเดช, “อุดมการณแบบมารกซิสต: จากการปกปด สูสิ่งเลื่อนลอยจนถึงวิทยาศาสตร,พัฒนาการของมโนทัศน<br />

อุดมการณจากมารกซถึงเลนิน” รัฐศาสตรสาร 26,2 (2548): 131-249


29<br />

และเปนผลประโยชนของผูปกครอง ซึ่งมโนทัศนเรื่องอุดมการณของ Gramsci (1971) ไดสราง<br />

ทฤษฎีสําคัญในเรื่องของอุดมการณของรัฐที่เรียกวา “ทฤษฎีการครองอํานาจ” (hegemony)<br />

โดยกลาววา รัฐประกอบดวยสองสวนประกอบ สวนที่หนึ่งเปน สวนของสังคมการเมือง (political<br />

society) และสวนที่สองเรียกวาสังคมพลเมือง (civil society) ซึ่งการจะเปนใหญไดนั้นจะตอง<br />

ครอบงําทางอุดมการณของประชาชนทั้งทางการเมือง และวัฒนธรรมไว นั่นก็คือเปนการ<br />

“สรางพลเมืองที่ดี” มากกวา “ปจเจกชนที่ดี”สวนนักวิชาการอีกคนหนึ่งก็คือ Louis Athusser (1984)<br />

ไดแสดงแนวคิดเรื่อง การค้ําจุนการดํารงอยูของรัฐและสถาบันหลักของรัฐหนึ่งๆนั้นวา อาศัยกลไก<br />

หลัก 2 ประการ คือ กลไกทางการเมืองและกลไกอุดมการณคือ<br />

1. กลไกทางการเมืองของรัฐ (repressive state apparatus) ไดแกระบบบริหาร การทํา<br />

หนาที่ของรัฐบาลและขาราชการ เปนตน กลไกดังกลาวนี้อาศัยการใชลักษณะการควบคุมทาง<br />

กายภาพและมาตรการการลงโทษตางๆ โดยเฉพาะการใชกลไกความรุนแรง (by force) เชน กองทัพ<br />

ตํารวจ ฯลฯ เปนตัวบังคับใหคนในประชาสังคมปฏิบัติตามกฎเกณฑและคุณคาที่สังคมนั้นกําหนด<br />

ขึ้น<br />

2. กลไกทางอุดมการณของรัฐ (ideological state apparatus) จะเปนตัวทําหนาที่สราง<br />

ทัศนคติทางการเมืองใหแกประชาชนเพื่อนําไปสูการยอมรับการดํารงอยูของรัฐและสถานภาพทาง<br />

สังคมในขณะนั้น โดยการสรางความเชื่อ ความเคยชิน และความรักตอสถาบันหรือสัญลักษณของ<br />

อุดมการณและพรอมจะปกปองคุมครองสถาบัน และสถานะทางสังคมที่เปนอยู หากมีใครจะมา<br />

ละเมิดหรือสั่นคลอนสภาพดังกลาวโดยที่รูสึกวาเปนภาระหนาที่และเปนความชอบธรรม<br />

ในการกระทําดังกลาว (นฤมล ทับจุมพล, 2531: 8)<br />

ทฤษฎีแนวความคิดแบบ Marxism แมวาจะมุงศึกษาสังคมทั้งระบบ (in totality)<br />

ไมใชเพียงแงใดแงหนึ่งตามแขนงวิชาที่แบงกันอยูอยางไรก็ตาม ทฤษฎีแนวความคิดแบบ Marx<br />

ก็ขีดวงความสนใจตามแขนงวิชา เพราะฉะนั้นเราจึงพบวามีเศรษฐศาสตรในแนวแบบ Marx<br />

(Marxist Economics) มีสังคมวิทยาในแนวแบบ Marx (Marxist Sociology) แตกระนั้นก็มีความ<br />

เขาใจกันอยูวา ยังไมมีรัฐศาสตรในแนว Marx (Marxist Political Science)


30<br />

ไชยันต รัชชกูล (2524) ในบทความเรื่อง “รัฐตามความหมายของทฤษฎีแนวความคิด<br />

แบบมารกซ ” 2 มุงพิจารณาความหมายของรัฐ ในแนวแบบ Marx ถาเราจะรับกันวา รัฐศาสตรนั้น<br />

มีเนื้อหาที่เปนหัวใจอยูที่การศึกษา “รัฐ” หรือรัฐศาสตรนั้นคือวิทยาศาสตรวาดวยรัฐ (Science of the<br />

state) ในงานเขียนคลาสสิค โดยเฉพาะของMarx ผูใฝศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับรัฐ ก็จะมุงไปที่ The<br />

Civill War in France และ The Eighteen Brumaire of Louis Bonarparte เปนหลัก แตโดยทั่วๆ<br />

ไปแลวทั้งผูนิยม Marx และผูที่ตอตาน Marx ก็จะไปดูที่งานเขียนของเลนิน โดยเฉพาะ“The State<br />

and Revolution และ The State ซึ่งถือกันวาเปนตนตํารับที่ถูกตอง”<br />

การศึกษาแนวความคิดใดในทฤษฎีแนวความคิดแบบ Marx โดยวิธีหาคํานิยามในงาน<br />

เขียนคลาสสิคนี้มีขอจํากัดอยูมาก เพราะเปนการดึงงานเขียนชั้นนั้น หรือ คํานิยามนั้นออกนอก<br />

บริบท (context) หรือความคิดรวมของ Marx และ Lenin แทนการศึกษาจากงานเขียนทั้งหมด<br />

จากขอจํากัดนี้ทําใหรัฐตามความหมายของผูนิยม Marx เสนอออกเปน 2 แนวคือ<br />

1. แนวความคิดที่วารัฐเปนเครื่องมือของชนชั้น (Instrumentalist conception) กลาวคือ<br />

รัฐเปนผลมาจากความสมานกันไมไดของความเปนปฏิปกษระหวางชนชั้นและรัฐเปนเครื่องมือ<br />

สําหรับการบีบบังคับเอามูลคาจากแรงงานของชนชั้นที่ถูกกดขี่<br />

2. แนวความคิดที่วารัฐเปนสถาบันจัดการทางเทคนิคและเศรษฐกิจ (technical<br />

economic conception) กลาวคือรัฐเปนโครงสรางสวนบน ที่สะทอนโครงสรางฐานทางเศรษฐกิจรัฐ<br />

จะทําหนาที่ไมเพียงแตกําหนดการประกอบของความสัมพันธทางการผลิตเทานั้น แตยังสราง<br />

เงื่อนไข และสภาพทั่วๆ ไป ที่อยูนอกการผลิต (to reproduce the general external conditions of<br />

production) อีกดวย (ไชยันต รัชชกูล, 2524: อางแลว)<br />

Nicos Poulantzas (1937 – 1980) ผูนิยม Marx ชาวกรีกซึ่งสอนอยูในมหาวิทยาลัยใน<br />

ฝรั่งเศส ไดเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับรัฐในระบบทุนนิยมที่นาใสใจหลายประการ อันเปนการขยาย<br />

และทําใหความหมายของรัฐในแนวทฤษฎีแนวความคิดของ Marx กวางยิ่งขึ้น<br />

ขอคิดของ Nicos Poulantzas โดยพื้นฐานแลวก็สอดคลองกับแนวความคิด 2 แนว<br />

ขางตน แตเขาขยายความและเสริมขึ้นจากแนวความคิดใหมที่เสนอโดยผูนิยมมารกคนอื่น เชน<br />

Antonio Gramsci เขาเสนอความคิดวา รัฐเปนศูนยกลางการใชอํานาจทางการเมืองโดยที่อํานาจ<br />

ของชนชั้นนั้นจัดระเบียบ (organized) อยูในสถาบันตาง ๆ ซึ่งเปนศูนยกลางตาง ๆ ของอํานาจรัฐ<br />

2 ไชยันต รัชชกูล, “รัฐตามความหมายของทฤษฎีแนวความคิดแบบมารกซ ” รัฐศาสตรสาร, คณะรัฐศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ปที่ 7 ฉบับที่ 3 ปรัชญาการเมือง, พ.ค.-ส.ค., 2524:82-90


31<br />

จึงเปนพลังการเมืองที่รวบรวมเปนระเบียบ (organized) จัดตั้งกลุมการเมือง (power block)<br />

ของชนชั้นที่บงการ (dominant class) ใหคงอยูในอํานาจควบคูไปกับการทําใหชนชั้นที่ถูกขม<br />

(dominated class) ใหระส่ําระสาย (disorganized) การกระทําของรัฐนี้ไมใชอยูในรูปของการบังคับ<br />

กดหัว ขูเข็ญ (coercion)เทานั้น (อันเปนความหมายหลักของแนวความคิดที่ 1) แตยังทําใหเกิดการ<br />

ยอมรับ ใหความยินยอม (consent) อีกดวย ฉะนั้นจึงจะตองเขาใจรัฐทั้ง 2 ดานนี้ นั้นคือ การใช<br />

พระเดช และทําใหยอมรับโดยใชพระคุณควบกับพระเดชใหยินยอม “coercion plus consent”<br />

เขาเห็นวาแนวความคิดที่ Bukharin เสนอนั้นมีคายิ่ง กลาวคือ สังคมนั้นเปนระบบ<br />

(system) ของความสมดุลที่ไมมั่นคง (unstable equilibrium) ซึ่งภายในนี้รัฐมีบทบาทเปนผูวาง<br />

ระเบียบ ตั้งกฎ เปนตัวบังคับตาง ๆ (regulator) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ รัฐนั้นเปนตัวที่ปองกันไมให<br />

ความขัดแยงทางชนชั้นแตกออก ตราบเทาที่ความขัดแยงนั้นยังสะทอนถึงความเชื่อมกันอยูของ<br />

สังคม โดยความหมายนี้รัฐจะเสมือนเปนปจจัยเชื่อมประสานของการรวมตัวกันที่ระดับตาง ๆ<br />

ของโครงสรางสังคม<br />

โครงสรางสังคมในที่นี้พิจารณาจากแนวความคิดที่วาสังคม (social formation)<br />

หนึ่งในชวงใดชวงหนึ่งนั้นมีวิถีการผลิต (modes of production) อยูหลายวิถีซอนทับกันอยู<br />

เพราะฉะนั้นรัฐจึงทําหนาที่ประสานวิถีการผลิตตาง ๆ นี้เขาดวยกัน พรอมกับจัดการ (regulate)<br />

ใหวิถีการผลิตอื่น ๆ ทํางานอยูใตการกําหนดของ วิถีการผลิตที่เดนอยู (dominant mode of<br />

production) กลาวคือในกรณีของสังคมที่มีวิถีการผลิตแบบศักดินาและทุนนิยมอยูควบคูซอนกัน<br />

วิถีการผลิตแบบศักดินานั้นถูกกําหนดใหอยูใตกฎเกณฑ (law) และความเปนไป (logic) ของวิถี<br />

การผลิตแบบทุนนิยม รัฐทางสังคมนี้จะตองเปนรัฐตามลักษณะของวิถีการผลิตแบบทุนนิยมหนาที่<br />

ของรัฐจึงเปนไปอยางสอดคลองตอการพัฒนาของวิถีการผลิตนี้ โดยวิถีการผลิตแบบศักดินาอยูใต<br />

(subordinated) โดยนัยนี้รัฐจึงทําหนาที่ทั้งเปนการขม และกําหนดทิศทาง (dominance and<br />

direction) การขมนั้นเปนการทํางานของอํานาจรัฐโดยทั่วไป (อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจตุลาการ<br />

อํานาจทางทหาร) สวนการกําหนดทิศทางนั้นเฉพาะอยูที่อํานาจของรัฐบาล (government power)<br />

แนวความคิดอีกแนวหนึ่ง ซึ่งเปนประโยชนแกความหมายของรัฐ คือความเปนประมุข<br />

(hegemony – เหนือและนํา) อันเปนแนวความคิดหลักสําคัญของ Gramsci ในการเสริมทฤษฎี<br />

แนวความคิดของ Marx ความหมายของความเปนประมุข (hegemony) นี้ตองโยงกับแนวความคิด<br />

อื่น ๆ ที่สัมพันธกัน หรืออาจกลาวไดวาความหมายของแนวความคิดนี้จะเขาใจไดดวยการทําความ<br />

เขาใจตอความคิดของ Gramsci ทั้งหมด อยางไรก็ตามมีผูเสนอความหมายไววา ความเปนประมุข<br />

นั้นหมายความถึงสถานการณทางสังคมและการเมือง ซึ่งปรัชญาและการปฏิบัติของสังคมหนึ่ง<br />

หลอมรวมกันอยูหรืออยูในภาวะสมดุลในลักษณะเรียงเปนลําดับชั้น (order) ที่วิถีชีวิตหนึ่งความคิด


32<br />

หนึ่ง ครอบงําอยู ที่การมองความเปนจริงแบบหนึ่งนั้นแพรไปทั่วสังคมและปรากฏทั้งระดับสถาบัน<br />

และบุคคลในการสรางหลักเกณฑของความรูสึกนึกคิด รสนิยม บทสอนใจ ขนบธรรมเนียม<br />

ประเพณี ศาสนา และการเมือง รวมไปถึงความสัมพันธทางสังคมทั้งปวง<br />

โดยเฉพาะในเชิงปญหาความคิดและจริยธรรมจรรยา ความเปนประมุข (hegemony)<br />

เปนการนําของชนชั้น (class leadership) ควบคูอยูกับการปกครองของชนชั้น (class rule)<br />

ฐานแนวคิดนี้ Gramsci มองรัฐเปน ความเปนประมุขที่มีความรุนแรงหุมเปนเกราะ (hegemony<br />

armoured by coercion) ในแงนี้ทําให Gramsci ไดชื่อวาเปนนักทฤษฎีโครงสรางสวนบน<br />

แนวความคิดเรื่องรัฐของเขาตางจากแนวคิดที่วารัฐกระทําการใชพระเดชและทําใหยอมรับโดยใช<br />

พระคุณควบกับพระเดช (coercion plus consent) ขางตน สําหรับเขาการปกครองของชนชั้นหนึ่งนั้น<br />

รวบอํานาจอยูที่กลุมอํานาจทางการเมืองของชนชั้นนั้น (power block) ปรากฏอยู 2 วิธี คือ<br />

เปนการขมใหอยูใตอํานาจ (domination) 1. เปนการนําทางปญญาความคิดและ จริยธรรมจรรยา<br />

(intellectual and morall leadreship) อีก 1 การปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพจะมีมาไดเมื่อชนชั้นนี้<br />

ครองความเปนประมุข (Hegemony) เมื่อการนําทางปญญาความคิดและจริยธรรมจรรยาของชนชั้น<br />

ผูปกครองเกิดวิกฤติและระส่ําระสาย การนําของชนชั้นกรรมาชีพก็จะเขาสวมตําแหนงการนําแทน<br />

แนวความคิดเรื่องรัฐของ Gramsci นี้ Athusser นํามาขยายกระทําใหแนนขึ้นใน<br />

บทความ Ideology and Ideological State Apparatuses (โลกทัศนและเครื่องกลไกของรัฐทางโลก<br />

ทัศน) โลกทัศน (Ideology) ในที่นี้หมายถึงระบบของความคิดและทัศนะตางๆ ซึ่งมีอํานาจเหนือ<br />

จิตใจของคนหรือกลุมสังคม<br />

Athusser แบงเครื่องกลไกของรัฐเปน 2 สวน คือ สวนที่หนึ่งทําหนาที่หลักดาน<br />

ความรุนแรง (ทหาร, ตํารวจ, ศาล, คุก ฯลฯ) และสวนที่สองทําหนาที่หลักดานระบบความคิด<br />

(ศาสนา การศึกษา ครอบครัว ระบบการเมือง พรรคการเมือง การสื่อสาร วัฒนธรรม-วรรณกรรม<br />

ศิลป การกีฬา ฯลฯ) เพื่อความกระชับทางทฤษฎี เขาเนนถึงความสําคัญของการแยกระหวาง<br />

“รัฐ” “อํานาจรัฐ” และ “เครื่องกลไกของรัฐ” (state apparatus) “รัฐ” นั้นไมมีความหมายนอกการทํา<br />

หนาที่ของ อํานาจรัฐ การตอสูทางชนชั้นทางการเมืองนั้นหมุนรอบอยูในวง “รัฐ” นั่นคือเปนเรื่อง<br />

การยึดอํานาจ และการดํารงรักษาอํานาจโดยชนชั้น หรือพันธมิตรระหวางชนชั้น หรือสวนยอยของ<br />

ชนชั้น<br />

ความแตกตางระหวาง “อํานาจรัฐ” กับ “เครื่องกลไกของรัฐ” นั้น ยิ่งสําคัญทั้งใน<br />

เชิงทฤษฎีและปฏิบัติ อํานาจรัฐอาจจะถูกยึดเปลี่ยนมือจากชนชั้นหนึ่งไปสูอีกชนชั้นหนึ่ง แตเครื่อง<br />

กลไกของรัฐอาจจะยังคงเดิมอาจจะเรียกไดวา การยึดอํานาจรัฐนั้นเปนเพียงการปฏิวัติแงการเมือง<br />

(political revolution) กรณีของปารีสคอมมูนบี 1871 นั้น มิใชเพียงเปนการยึดอํานาจรัฐ


33<br />

แตยังเปลี่ยนไปถึงกลไกของรัฐดวย ในกรณีของไทยเมื่อเหตุการณ “14 ตุลาคม 2516” นั้น อํานาจรัฐ<br />

ไดถูกเปลี่ยนมือชั่วคราวแตกลไกของรัฐ ฝงคงเดิมทุกประการ<br />

Athusser ยกประเด็นขึ้นวา ถึงแมบรรดาผูนิยม Marx จะตระหนักถึงความซับซอนของ<br />

ความหมายของรัฐในความเปนจริง แตก็มิไดสื่อความหมายในทฤษฎีสวนที่ยังมิไดย้ําเนนคือ<br />

เครื่องกลไกของรัฐในสวนที่ทําหนาที่หลักดานระบบโลกทัศน (The Ideological State Apparatuses)<br />

ISA ในที่นี้หมายถึง เครื่องกลไกของรัฐที่ทําหนาที่ทางโลกทัศน (function by ideology) อันตางจาก<br />

เครื่องกลไกของรัฐที่ทําหนาที่ทางดานความรุนแรง (function by violence) หรือ Repressive State<br />

Apparatuses –RSA ISA ในทางรูปธรรม พอยกเปนตัวอยางได เชน<br />

- เครื่องกลไกทางศาสนา (สถาบันวัด,สถาบันสงฆ)<br />

- เครื่องกลไกทางการศึกษา (สถาบันการศึกษา, ระบบโรงเรียนการแยกระหวาง<br />

สายสามัญ สายอาชีพ และระดับการศึกษาอาชีวะ หรือ มหาวิทยาลัย เปนการเอื้อเสริม<br />

การแบงแรงงานในสังคม)<br />

- เครื่องกลไกของครอบครัว (สถาบันครอบครัว)<br />

- เครื่องกลไกทางกฎหมาย<br />

- เครื่องกลไกทางสื่อสารมวลชน (หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ฯลฯ)<br />

- เครื่องกลไกทางวัฒนธรรม (วรรณกรรม, ศิลปะ การกีฬา ฯลฯ) (ไชยันต รัชชกูล,<br />

2524: อางแลว)<br />

Athusser นอกจากจะแยก ISA จาก RSA ในแงความแตกตางระหวางความรุนแรงกับ<br />

โลกทัศนความรูสึกนึกคิดแลว ยังมีขอที่นาสังเกตอีกวา RSA นั้นเปนลักษณะรวมอยูเปนองคการ<br />

เดียวกัน ในขณะที ่ ISA นั้นเปนลักษณะหลากหลาย (public) สวน ISA นั้นอยูในสวนที่เปนสวนตัว<br />

(private) ในแงนี้แลวความหมายของรัฐจึงไมเพียงจํากัดอยูเพียงสวนที่เปนสาธารณะหรืออีกนัยหนึ่ง<br />

ก็คือรัฐนั้นครอบคลุมในทุก ๆ แงมุมของชีวิต ตั้งแต “ในบาน” จนถึง “สนามหลวง”<br />

อยางไรก็ตามมิไดหมายความวา ISA นั้นทําหนาที่เพียงดานความรูสึกนึกคิด หรือRSA<br />

ทางดานความรุนแรง ISA ก็ทําหนาที่ทางดานความรุนแรงดวย เชนการลงโทษ การขับไล การทํา<br />

ใหอยูในวินัย การคัดเลือกในโรงเรียนหรือความรุนแรงในครอบครัว (การฝกสอนเด็กให “ทําให<br />

ถูกตอง” ตามตองการทางสังคมของตน) ในทํานองเดียวกับที่ RSA ก็ทําหนาที่ทางโลกทัศน<br />

ความรูสึกนึกคิดดวย เชน ในสถาบันการทหาร ตํารวจ ที่ปลูกฝง เรียกรองความจงรักภักดีตอ “สี”<br />

ของตน และมีคานิยม (values) แบบแผน (norms) ที่ตองถือปฏิบัติตาม เพราะฉะนั้นทั้ง ISA และ<br />

RSA จึงทําหนาที่ทั้ง 2 ดาน การแบงนั้นเพียงแตเปนการเนนถึงหนาที่หลัก เทานั้น


34<br />

Athusser เนนถึงความสําคัญของ ISA วาไมมีชนชั้นใดที่จะยึดรักษาอํานาจรัฐไดเปน<br />

เวลานานโดยที่ไมไดบงการ ISA อยู โดยยกตัวอยางความพยายามอยางยิ่งยวดของ Lenin ในการ<br />

ปฏิวัติระบบการศึกษา และนี่อาจจะเปนคําอธิบายวา ทําไมตอสูในแนวความคิดทางวรรณกรรมใน<br />

สหภาพโซเวียตจึงเปนเรื่องความเปนความตายสําหรับในประเทศนั้น ซึ่งวรรณกรรมสัมพันธกับ<br />

ชีวิตของราษฎรอยางลึกซึ้ง (ไชยันต รัชชกูล, 2524: อางแลว)<br />

จาก Athusser ที่กลาววา กลไกของรัฐมีอยูสองกลไกดังกลาวมาขางตน ทําใหเห็น<br />

แนวคิดเรื่องหนาที่และปรัชญาการศึกษาที่วาการศึกษามีความเกี่ยวพันทางสังคม ที่มีความแตกตาง<br />

ในแนวคิดที่วาการศึกษาและโรงเรียนเปนสถานที่เปนกลาง (neutral place) สอดคลองกับแนว<br />

พิจารณาเรื่อง “การถือครองของอุดมการณหลัก” ของ กรัมซี่ในการกําหนด และสงผานอุดมการณ<br />

หลักของสังคมเพื่อสรางสังคมการเมือง และสังคมพลเมือง ไปยังกลไกทางอุดมการณทางดานตางๆ<br />

เชน ระบบการศึกษาภาคบังคับ และสื่อสารมวลชน เพราะฉะนั้นการศึกษาจึงถือไดวาเปนกลไก<br />

หนึ่งใน การสงผานอุดมการณที่ถือวาเปนอุดมการณหลักของสังคมเกิดขึ้น<br />

ขณะที่ Gramsci (1971) ไดสรางทฤษฎีเรื่องอุดมการณของรัฐขึ้น โดยเรียกอุดมการณที่<br />

รัฐตองการสรางนี้วา “การครองอํานาจนํา” (hegemony) เขามองวารัฐมีสวนประกอบ 2 สวนสวน<br />

แรกคือสังคมการเมือง (political society) อันไดแกรัฐ ซึ่งเปนตัวแทนของการใชกําลังอํานาจ บังคับ<br />

ไดแก กองทัพ ตํารวจ รวมถึงการออกกฏหมาย สวนที่สองคือ สังคมพลเมือง (civil Society) ซึ่งเปน<br />

ตัวแทนของความเห็นชอบรวมกัน หรือประชามติ เขาเห็นวา เมื่อใดมีความขัดแยงระหวางรัฐ และ<br />

สังคมพลเมือง เมื่อนั้นจะเกิดการแบงแยกอํานาจ<br />

Gramsci ยังเสนอวา การที่รัฐจะสามารถถือครองความเปนใหญ (hegemony ) ไดนั้น<br />

รัฐจะตองสามารถครอบงําอุดมการณของประชาชนใหไดทั้งดานการเมือง และวัฒนธรรม ดวยเหตุ<br />

นี้รัฐ หรือชนชั้นปกครอง จึงพยายามสรางความชอบธรรมใหกับตนเอง ดวยการสรางความยินยอม<br />

พรอมใจ และหาเสียงสนับสนุนจากประชาชนผูถูกครอบงํา และวิธีการหนึ่งที่รัฐสมัยใหมนิยมคือ<br />

การถายทอดอุดมการณของรัฐสูประชาชนโดยผานการศึกษาจากการที่รัฐใหความสําคัญกับความ<br />

มั่นคงของรัฐเองเปนหลักการศึกษาของรัฐจึงมุงเนนไปที่การสราง “พลเมืองที่ดี” มากกวาการสราง<br />

“ปจเจกชนที่ดี” เนื่องจากพลเมืองที่ดียอมจะเปนประโยชนกับรัฐโดยตรงมากกวาปจเจกชนที่ดี<br />

แมวา รัฐจะปลูกฝงอุดมการณดานใดก็ตามความรักชาติ และความภาคภูมิใจในชาติของ<br />

ตน สามารถเปนไปในทางสรางสรรคโดยไมจําเปนไปในทางทําลาย ความรูสึกรักชาติอยางมีเหตุผล<br />

และความใจกวางไมจําเปนตองมีความรุนแรงจนกอใหเกิดความรูสึกเหยียดหยามชาติอื่นวามี<br />

ความตํ่าตอยกวาชาติตน ในประวัติศาสตรโลกที่ผานมา จะพบวามีผูนําของบางชาติในบางสมัยได


35<br />

ปลุกเราความรักชาติใหกับพลเมืองของตนอยางเกินเหตุ สงผลใหเกิดความคิดที่จะทําลายชนชาติอื่น<br />

ที่ตนเกลียดชังใหดับสูญไป (พิพัฒน พสุธารชาติ, 2545: 79 )<br />

กลไกรัฐ (State apparatus) ในทางทฤษฎีมารกซีสต ไดแก สถาบันและองคกรที่มีและใช<br />

อํานาจรัฐในการดําเนินการกิจการที่มีผลตอวิถีชีวิตของคนในสังคม นักวิชาการมารกซิสตที่สนใจ<br />

วิเคราะหโดยใหความสําคัญตอความสัมพันธอันสลับซับซอนระหวางอํานาจรัฐ (State power)<br />

กับกลไกของรัฐ (State apparatus) คือ Althusser โดยการวิเคราะหโครงสรางภายในของรัฐกลไกรัฐ<br />

มีบทบาทสําคัญในการสืบทอดการดํารงอยูของรัฐและสังคมหรือบางคนเรียกวา “การผลิตซํ้า”<br />

(Reproduction) กลไกของรัฐซึ่งเปนโครงสรางเบื้องบนดานกฎหมาย การเมืองและอุดมการณ<br />

วัฒนธรรม มีบทบาทสําคัญในการสืบทอดความสัมพันธทางสังคมในรูปแบบตาง ๆ<br />

ในสมัยกอนการศึกษา ศาสนา และครอบครัว มีบทบาทหนาที่โดยตรงในการสืบทอดความสัมพันธ<br />

ทางสังคมการศึกษาวิเคราะหกลไกของรัฐโดยนักวิชาการมารกซีสตปจจุบันมักไดรับอิทธิพลทาง<br />

ความคิดจาก Gramsci และ Althusser ซึ่งตางก็เนนบทบาทกลไกของรัฐในแงการเมือง โดยเฉพาะ<br />

ทางดานการหลอหลอมอุดมการณและจิตสํานึก ดังกลาวมา กลไกของรัฐจึงมีบทบาทสําคัญตอการ<br />

สืบทอดระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมโดยสวนรวม<br />

ในขณะที่ Eric Hobsbowm ชี้ใหเห็นวา ระบบการศึกษา ที่รัฐอางวาจัดขึ้นเพื่อเปนการ<br />

พัฒนาประเทศ และปลดปลอยประชากรยังถูกใชเปนเทคนิคทางอํานาจ หรือ “เครื่องมือใน<br />

กระบวนการหลอหลอมทางสังคม ทางการเมือง” (machine for political socialization) ของรัฐใน<br />

การสรางความเปนพลเมืองใหกับประชาชน เชน การเคารพธงชาติ ซึ่งกลายเปนสวนหนึ่งของ<br />

พิธีกรรม การแสดงความรักชาติในชีวิตประจําวัน (ชนิดา ชิตบัณฑิตย. 2545: 202-209)<br />

ในปรัชญาแหงอุดมการณทางการเมือง มีการกลาวถึงอุดมคติ สังคมนิยมไว 3 ลักษณะ<br />

(ปรีชา ชางขวัญยืน, 2538: 202-206) คือ<br />

1. รัฐเปนเจาของกิจการผลิต ไดแกการที่สังคมนิยมเปนเจาของและควบคุมปจจัยการ<br />

ผลิตที่สําคัญ ๆ วิธีการที่จะทําใหปจจัยการผลิตมาเปนของรัฐคือ การโอนกิจการผลิตมาเปนของรัฐ<br />

และใชระบบสหกรณใหกลุมคนรวมกันเปนเจาของ<br />

2. รัฐใหสวัสดิการแกประชาชนโดยการจัดรัฐสวัสดิการ ดวยวิธีเก็บภาษีเงินได<br />

ภาษีมรดกในอัตราสูง เพื่อนํามาใชจายใหการศึกษา บริการดานสาธารณสุข ชวยเหลือคนตกงาน<br />

คนกลุมนอย คนชรา และสตรี เปนตน<br />

3. จุดมุงหมายทางสังคม ไดแก การทําใหคนหลุดพนจากการเปนทาสวัตถุ คือ<br />

ความเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจ


36<br />

ดังที่กลาว “การศึกษา” จึงเปนเครื่องมือสําคัญอยางหนึ่งของรัฐสมัยใหมในการสราง<br />

อุดมการณทางการเมือง ไมวาจะเปนระบบวิธีคิด โลกทัศน ความเชื่อ และคานิยมตอเด็ก ซึ่งจะ<br />

เติบโตเปนประชาชนผูใหญในวันขางหนา รัฐจะเปนผูกําหนดวาจะสอนวิชาอะไร จะใหมีความรู<br />

เรื่องอะไร ไมใหรูเรื่องอะไร ตลอดจนตัดสินใจวานักเรียนควรจะไดรับการถายทอดอุปนิสัยใจคอ<br />

เชนไร ดังนั้นการจัดการศึกษาในลักษณะนี้อาจทําใหเกิดลัทธินิยมในการศึกษา<br />

เรื่องการสอนลัทธิชาตินิยมในโรงเรียน โดยเจตจํานงแลวลัทธิชาตินิยมในหมู<br />

ผูสนับสนุนเปนสิ่งที่ดีโดยทั่วไป ความรักบาน ความรักดินแดนทองถิ่น แมกระทั่งความภาคภูมิใจ<br />

ในความสําเร็จทางประวัติศาสตรเปนสิ่งที่สมควรจะภูมิใจ ความรักชาติเปนความรูสึกซับซอน<br />

ซึ่งเกี่ยวของกับความรักผืนแผนดิน และสภาพแวดลอม รากฐานของความรูสึกดั้งเดิมไมเกี่ยวของ<br />

กับเศรษฐกิจหรือการเมือง ความรักชาติเปนความรูสึกเพื่อบานเมืองของตน ไมใชความรูสึกตอตาน<br />

ประเทศอื่นๆ การสอนใหซื่อสัตย จงรักภักดีถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการชาตินิยมที่สมบูรณ<br />

ที่สุด เชนการเคารพธงชาติ ธงชาติเปนสัญลักษณแทนความสามารถทางการรบของชาติ ซึ่งบงชี้ถึง<br />

การตอสู สงคราม การเอาชนะ และวีรกรรมของวีรชน<br />

ในโลกตะวันตก เด็กชายหญิงจะถูกสอนวา ความจงรักภักดีทางสังคมที่สําคัญที่สุด คือ<br />

ความจงรักภักดีตอรัฐ และหนาที่ของเขาตอรัฐ คือ การปฏิบัติตามทิศทางของรัฐบาล พวกเขาถูก<br />

สอนประวัติศาสตรที่ผิดพลาด นโยบายที่ผิดพลาด และเศรษฐกิจอันไมถูกตอง เรียนรูถึงพฤติกรรม<br />

ที่ไมถูกตองของรัฐตางชาติ แตจะไมถูกสอนเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไมถูกตองของรัฐบาลตนเอง<br />

พวกเขาถูกสอนใหสรุปวา สงครามทุกครั้งที่รัฐตนเกี่ยวของดวยนั้น เปนสงครามเพื่อปองกันตนเอง<br />

ในขณะที่ตางชาติเปนผูรุกราน การรับราชการถูกเสนอวาเปนการเตรียมตัวอันสูงสงใน<br />

การปองกันประเทศของตน แตไมมีการกลาวถึงสิ่งที่จะทําใหเยาวชนตระหนักวากิจกรรมทางทหาร<br />

ของประเทศตนถาเปนประเทศที่ทรงอํานาจมักเปนการรุกรานตางชาติมากกวาการปองกันประเทศ<br />

ของตน เด็ก ๆ มักถูกสอนวาประเทศของตนเปนประเทศที่ดีที่สุด (สุวรรณา สถาอานันท แปล,<br />

2533: 131-144)<br />

ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จะศึกษา “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ในฐานะกลไกในการ<br />

เผยแพรอุดมการณของรัฐ (ideological state apparatus) ซึ่งจากแนวคิดดังกลาวแสดงความสัมพันธ<br />

โรงเรียนกับการศึกษาทําใหเห็นวา โรงเรียน ในฐานะผูผลิต หรือการจัดการศึกษา มีบทบาทสําคัญ<br />

อยางมาก ทั้งนี้โรงเรียนเปน พื้นที่ๆ เกิดการปะทะประสานระหวางความรู ความจริง และอํานาจ<br />

ผานเครื่องมือทางการศึกษา ซึ่งการศึกษานี้พยายามจะคนหาบทบาทและความสัมพันธระหวาง<br />

โรงเรียนในการทําหนาที่ของการทอดความรู และอุดมการณของชาตินิยม เพื่อรับใชรัฐสมัยใหม


37<br />

“การศึกษา” กลายเปนเครื่องมือสําคัญอยางหนึ่งของรัฐสมัยใหม ในการสรางอุดมการณ<br />

ทางการเมือง ไมวาจะเปนระบบวิธีคิด โลกทัศน ความเชื่อ และคานิยมตอเด็ก ซึ่งจะเติบโตเปน<br />

ประชนในวันขางหนา รัฐจะเปนผูกําหนดวาจะสอนวิชาอะไร จะใหมีความรูเรื่องอะไร ไมใหรูเรื่อง<br />

อะไร ตลอดจนตัดสินวานักเรียนควรจะไดรับการถายทอดอุปนิสัยใจคอเชนไร ดังนั้นการจัด<br />

การศึกษาในระบบโรงเรียนจึงทําใหเกิดลัทธิชาตินิยมในการศึกษา<br />

2.1.3 แนวคิดชาตินิยมแบบวัฒนธรรม (cultural nationalism)<br />

แนวคิดชาตินิยมมีความสําคัญตอการกอตัวหรือการรื้อฟนประวัติศาสตรของหลาย<br />

ประเทศในโลกชวง 200 ปที่ผานมา ในชวงปลายศตวรรษที่ 19 ลัทธิชาตินิยมไดกลายมาเปน<br />

การเคลื่อนไหวทางการเมือง อุดมการณชาตินิยมซึ่งสังเกตไดจากการปกธงชาติ การรองเพลงชาติ<br />

การเสนอบทกวีหรือวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับความรักชาติ เทศกาลชุมนุมหรือมีวันหยุดของชาติ<br />

ซึ่งไดกลายเปนจุดประสงคทางการเมือง แตละชาติมักอางความมีเอกลักษณของชาติเหนือความเปน<br />

ชาติอื่น (Heywood, 1998: 152-185)<br />

นรินทร พุดลา (2546) กลาวาชาตินิยมถือไดวาเปนอุดมการณหนึ่งของการตอตาน<br />

การลาอาณานิคม เห็นไดจากประเทศโลกที่สามที่มีความเชื่อในชนชาติและพยายามสรางรูปแบบ<br />

ของชาตินิยมขึ้นมาใหมโดยผนวกความเปนชาติเขากับลัทธิมารกซิสต โดยเห็นวาเปาหมายของทาง<br />

การเมืองอยูที่ความเปนอิสระของชาติตน และเปนสวนหนึ่งของการปฏิวัติทางสังคมดวย รวมทั้ง<br />

การตอตานตะวันตก ซึ่งแนวคิดสําคัญของชาตินิยมมี 4 ประการคือ<br />

1. ความเปนชาติ (nation) ปญหาที่ตามมาคือ ความเปนชาตินั้นเปนอยางไร แบงแยก<br />

อะไร ชาติที่มีเชื้อหลายชาติพันธุจะแบงอยางไร ความเปนชาติอาจจะดูจากวัฒนธรรมวามีคานิยม<br />

หรือประเพณีรวมกันหรือไม ชาติพันธเดียวกันหรือไม อยูในขอบเขตพื้นที่เดียวกัน ใชภาษา ศาสนา<br />

และมีประวัติศาสตรรวมกันหรือไม แตโดยทั่วไปความเปนชาติมักจะดูจากลักษณะทางวัฒนธรรม<br />

แลมากกวาทางชีววิทยา แตอยางไรก็ตามความเปนชาติสวนใหญจะขึ้นอยูกับการมีประวัติศาสตร<br />

และประเพณีรวมกัน ซึ่งมักแสดงถึงความรุงโรจนในอดีต ความเปนเอกราช วันเกิดของผูนํา<br />

วันสําคัญของชาติ หรือสงครามครั้งสําคัญๆ ของชาติ เพื่อสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน


38<br />

2. ความเปนหนึ่งเดียวกันของกลุมชน (organic community) ไมวาคนในชาติ<br />

จะแตกตางกันทั้ง ชนชั้น เพศ ศาสนา และภาษา ก็ลวนสําคัญตอสังคมการรวมคนใหเปนอันหนึ่งอัน<br />

เดียวกัน เปนความคิดสําคัญของชาติ ที่แสดงใหเห็นรากเหงาวัฒนธรรมและภาษาที่ใชรวมกัน<br />

รวมกันสรางชาติ<br />

3. การเปนตัวของตัวเอง (self-determination) ไดแกความเปนตัวเองทางการเมือง<br />

และความเปนตัวเองทางวัฒนธรรม จากแนวคิดที่วามาจากคนสวนใหญของประชาชนหรือรัฐควรมี<br />

อํานาจในการปกครองตนเอง ความเปนชาตินิยมจึงมีเปาหมายอยูที่การคนพบความเปนรัฐชาติ<br />

(nation state) ซึ่งเกิดขึ้นได 2 ลักษณะ คือกระบวนการการรวมมือกันของคนในชาติ<br />

และความตองการเปนอิสระจากการบีบบังคับของชาติอื่น ความเปนรัฐ-ชาติ จึงเกิดขึ้นเนื่องจาก<br />

การจัดระเบียบทางการเมือง หรือบางครั้งนักชาตินิยมจึงเชื่อในการใชกําลังเพื่อสรางความเปน<br />

รัฐ-ชาติ<br />

4. ความเปนตัวตนทางการเมือง (identity politics) คือคนในชาติมีเปาหมายเดียวกัน<br />

มีประวัติศาสตรรวมกัน และมีความรักชาติ เปนสิ่งที่แสดงใหเห็นตัวตนของความเปนชาติ<br />

แตอยางไรก็ตามความเปนตัวตนทางการเมืองยอมแตกตางกันไปตามนโยบายสําคัญของแตละชาติ<br />

ชาตินิยมบางครั้งจึงเปนกระบวนการตอสูเพื่อเอกราชทางการเมือง หรือการที่ผูนํา<br />

ทางการเมืองรับเอาแนวคิดนี้มาใชในการเผยแพรขยายอํานาจทางการเมือง หรือการที่ผูนําทางการ<br />

เมืองรับเอาแนวคิดนี้มาใชเพื่อประโยชนในการเผยแพรอํานาจทางทหาร และกอใหเกิดสงคราม<br />

หรือการใชอุดมการณชาตินิยมเพื่อตอตานการเปนอาณานิคมของตางชาติ ดังนั้นลักษณะทางการ<br />

เมืองชาตินิยม ในแตละประเทศจึงมีความแตกตางกันตามความหลากหลายทางวัฒนธรรมและปจจัย<br />

ทางประวัติศาสตร<br />

ในศตวรรษที่ 21 ความเปนชาตินิยมถูกสรางขึ้นดวยกระบวนการรุกรานทางเศรษฐกิจ<br />

และการเมืองโดยผานองคกรระหวางประเทศ ซึ่งลวนมีผลครอบงําการเมืองโลก ทําใหตัดสินใจ<br />

เรื่องตางๆ อยูในกํามือของคนเพียงกลุมใดกลุมหนึ่งหรือชาติหนึ่ง ปรากฏการณนี้เรียกวา<br />

กระบวนการโลกาภิวัตน ที่สงผลทางเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนการจัดการทรัพยากรที่เจาของประเทศ<br />

ไมสามารถตัดสินใจเองได หรือทางดานวัฒนธรรม การทองเที่ยว การสื่อสารทางไกล กอใหเกิดการ<br />

แพรกระจายทางวัฒนธรรมของตะวันตก สงผลตออุดมการณชาตินิยม ทําใหความเปนชาติหายไป


39<br />

กลายเปนสวนหนึ่งของโลกาภิวัตนและเปนสวนหนึ่งของโลก ทําใหเกิดการสรางชาติดวยความเปน<br />

อันหนึ่งอันเดียวกันและเอกลักษณทางวัฒนธรรม รวมทั้งการผลิตซ้ําทางดานตางๆ โดยมี<br />

จุดประสงคเพื่อปรับตนเองและการแขงขัน<br />

งานของ Hans Kohn (1995) ไดจําแนกความคิดชาตินิยมเปน 2 แบบ คือ แบบตะวันตก<br />

และแบบตะวันออก ดังนี้ คือ<br />

แบบตะวันตก คือ ชาตินิยมแบบพลเมืองและการเมือง กลาวคือ ชาติเกิดจากคนใน<br />

อาณาเขต (territory) ที่แนนอน มาตัดสินใจใชอํานาจทางการเมืองของตนอยางสมัครใจ จึงเปน<br />

ชาตินิยมการเมืองหรือชาตินิยมพลเมือง และชาตินิยมแบบสมัครใจ (political citizen<br />

และ voluntaristic nationalism) เพื่อกําหนดความเปนรัฐและความเปนชาติขึ ้น<br />

แบบตะวันออก คือ ชาตินิยมเกิดจากแรงผลักดันของกลุมชนที่ใหความสําคัญกับสิ่งที่<br />

เขามีอยูรวมกัน เชน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา แลวกอตัวเปนชาติขึ้นมา ชาตินิยมประเภทนี้<br />

จึงมีลักษณะที่เนนความเปนเอกลักษณของตน นอกจากนั้นยังใหความสําคัญสูงยิ่งแกจารีตประเพณี<br />

ดั้งเดิม ลึกซึ้ง เกาแก และมีความเปนเฉพาะของตน ชาตินิยมประเภทนี้จึงเรียกไดวาเปน ชาตินิยม<br />

แบบวัฒนธรรม (cultural nationalism)<br />

กลาวไดวาแนวคิดชาตินิยมแบบวัฒนธรรมซึ่งถือกําเนิดในเยอรมัน แพรขยายไปทั่วโลก<br />

เพราะเปนเครื่องมือสรางความผูกพันโยงกับคนในประเทศไดกวางขวาง ในชวงศตวรรษที่ 19<br />

เปนชวงความคิดชาตินิยมแบบชาติพันธุ ภาษา วัฒนธรรม แพรกระจายไปทั่วโลก ทุกประเทศ<br />

พยายามสรางความหมาย ความเกาแก ความรุงเรือง สรางประวัติศาสตรใหกับเชื้อชาติ ภาษา<br />

วัฒนธรรม ประเพณีของตน ประดิษฐสรางบุคคล วีรบุรุษ ตํานาน สัญลักษณ ดนตรี ละครใหมๆ<br />

ขึ้นมา<br />

ในสังคมตะวันตก รัฐชาติเกิดจากความจําเปนที่ตองการรวมคนที่มีภาษาและวัฒนธรรม<br />

แบบเดียวกันเขาดวยกันภายใตชุมชนทางการเมืองชนิดใหมที่เรียกวา “ชาติ” จากนั้นจึงสรางรัฐ<br />

ขึ้นมา เพื่อดูแล บริหาร และเปนตัวแทนของรัฐชาติ จึงเรียกอยางเต็มรูปแบบวา “รัฐ-ชาติ”<br />

แตในกรณีของประเทศโลกที่สาม กระบวนการสรางชาติและรัฐชาติในสังคมที่มีกลุมเชื้อชาติ/ ชาติ<br />

พันธุที่หลากหลาย ยอมหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองไปสลายบรรดาเอกลักษณตางๆของสังคมเดิมลง<br />

ภายใตขออางของการรวมชาติ/ การสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ แลวสรางเอกลักษณ


40<br />

ชุดใหมขึ้นมาสวมรอยแทนที่เรียกวา “เอกลักษณประจําชาติ” ซึ่งโดยทั่วไปแลว “เอกลักษณประจํา<br />

ชาติ” ชุดนี้ ไดมาจากการชูเอกลักษณของกลุมชาติพันธุหลักในสังคม เปนสิ่งที่แตละชาติ<br />

แตละวัฒนธรรมกําหนด/สรางขึ้น ภายหลังกระบวนการอบรมเลี้ยงดู และผานระบบการศึกษา เปน<br />

ระบบความหมาย/ระบบคุณคาที่สรางความเปนชาติ และเอกลักษณตัวตนของคนในชาตินั้นๆ ขึ้นมา<br />

โดยกระทําผานการสรางตํานาน เรื่องเลาตางๆ เพื่อสรางตัวตนของชาติขึ้นมา (identity<br />

tales/ narratives) ในรูปของประวัติศาสตร วรรณคดี วัฒนธรรมพื้นบาน ระบบสัญลักษณตางๆ<br />

เพื่อสรางความรูสึกรวมของคนในชาติใหเกิดขึ้น โดยเรื่องเลาเหลานี้จะเนนถึงจุดกําเนิด<br />

ความตอเนื่อง ขนบธรรมเนียมประเพณี จารีต พิธีกรรมประจําชาติ<br />

การศึกษาครั้งนี้ก็พยายามใชแนวคิดเรื่องของชาตินิยม ตาม Hans Kohn(1995) ชาตินิยม<br />

แบบวัฒนธรรม (cultural nationalism) คือ ชาตินิยมเกิดจากแรงผลักดันของกลุมชนที่ให<br />

ความสําคัญกับสิ่งที่เขามีอยูรวมกัน เชน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา แลวกอตัวเปนชาติขึ้นมา<br />

ชาตินิยมประเภทนี้จึงมีลักษณะที่เนนความเปนเอกลักษณของตน นอกจากนั้นยังใหความสําคัญสูง<br />

ยิ่งแกจารีตประเพณีดั้งเดิม ลึกซึ้ง เกาแก และมีความเปนเฉพาะของตน เขามาวิเคราะหการจัด<br />

การศึกษาในระบบโรงเรียน ซึ่งเครื่องมือสําคัญในการถายทอดอุดมการณชาตินิยม ในการสราง<br />

ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในรัฐที่มีฐานะเปนผูพลัดถิ่น ที่มีเงื่อนไข ขอจํากัด<br />

ประสบการณของการถูกกดทับทางวัฒนธรรม ภาษา ประเพณี เชื้อชาติ ฯลฯ สิ่งเหลานี้ลวนเปน<br />

สวนสําคัญของการดํารงของความเปนเชื้อชาติของตน และเปนสิ่งที่ถูกนํามาผลิตซ้ํา เพื่อตอกย้ํา<br />

ความเปนชาตินิยมของคน<br />

ผูศึกษาพยายามมองชาตินิยมที่ในศึกษานี้ ในบริบทของความเปนชาติพันธุ หรือเชื้อชาติ<br />

เปนฐานของการธํารงไวซึ่ง ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ภาษา ประเพณี และตัวตนของความเปนชาติ<br />

ไทใหญ จากประสบการณ ของการเปนผูพลัดถิ่นภายในประเทศพมา (internally displaced person)<br />

ที่เกิดจากกระบวนการทําใหเปนพมา (Burmanization) ในการเผยแพร ถายทอดอุดมการณชาตินิยม<br />

ผานกลไกของบทบาทและการทําหนาที่ของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ใหกับเด็กซึ่งเปนประชาชน<br />

คนไทใหญตอไป


41<br />

2.2 การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับชนชาติไทใหญ<br />

2.2.1 ประวัติศาสตร ภาษา และวัฒนธรรมชองชนชาติไทใหญ<br />

กลุมชาติพันธุไทใหญ (ไต) เปนชนเผาหนึ่งที่ไดอยูรวมกับชนเผาอื่นๆ มาเปนเวลาชา<br />

นานในเขตผืนแผนดินใหญเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดเคยมีนักประวัติศาสตร ปราชญ และ<br />

นักวิชาการหลายสาขาพยายามสันนิษฐานถึงถิ่นกําเนิดดั้งเดิมของชนเผานี้ จนถึงปจจุบันคําถามที่วา<br />

คนไทใหญมาจากไหน ยังคงเปนที่ใครรูของนักประวัติศาสตร ปราชญ นักวิชาการ และคนทั่วไป<br />

ไมมีขอสันนิษฐานหรือทฤษฎีใดที่จะใหคําถามไดเปลี่ยนไปและวิธีการศึกษาก็แปรเปลี่ยนไปดวย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งวงการศึกษาในแนวมานุษยวิทยาที่กําลังแพรหลายทั่วไปขณะนี้ ทําใหการศึกษา<br />

เกี่ยวลับชาติพันธุไต เปนการศึกษากลุมชาติพันธุอื่นๆ อันรวมไปถึงความสัมพันธดานการคา และ<br />

ดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกัน<br />

ปจจุบันกลุมชาติพันธุไทใหญอาศัยในผืนแผนดินใหญเอเชีย นับตั้งแตตอนเหนือ<br />

ของประเทศเวียดนาม ตลอดแนวตอนใตของประเทศจีน ประเทศลาว ประเทศไทย ทางตอนเหนือ<br />

ของประเทศพมาไปจนถึงแควนอัสสัมทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย (สมพงศ<br />

วิทยศักดิ์พันธุ, 2544: 12) ดวยชนชาติไทใหญกระจายขยายตัวไปตั้งรกรากถิ่นฐานบานเรือนเปน<br />

อาณาบริเวณกวาง กลุมชาติพันธุไทใหญกลุมนี้จึงมีชื่อเรียกมากมาย แปรเปลี่ยนไปตามประเทศที่<br />

ตนอาศัยอยู คํารวมที่ชาวตางชาติเรียกชนกลุมนี้คือ ชาน (ฉาน) สยาม เสียมหรืออาหม (อานันท<br />

กาญจนพันธุ, 2541: 6) ซึ่งสันนิฐานวามาจากรากศัพทเดียวกันคือ สยาม แตออกเสียงตางกันไปตาม<br />

ทองถิ่น อยางไรก็ตามกลุมชาติพันธุกลุมนี้สวนใหญแลวมักจะเรียกตนเองวา ไต (ออกเสียงวา ไต<br />

หรือ ไท) หรือชื่ออื่นๆตามลักษณะทองถิ่น ซึ่งในปจจุบันชาวไทใหญ (ไต) มีถิ่นฐานอยูในประเทศ<br />

ตางๆ หลายประเทศ ไดแก<br />

1. ประเทศพมา ชาวไทใหญอาศัยอยูในเขตรัฐฉาน (รัฐไทใหญ) ในภาคเหนือของ<br />

ประเทศพมา มีเมืองตางๆ ที่เปนเมืองของไทใหญมาแตโบราณอันไดแก เมืองแสนหวี สีปอ น้ําคํา<br />

หมูเจ เมืองนาย เมืองปน เมืองยองหวย เมืองตองกี เมืองกาเล เมืองยาง เมืองมีด และเมืองอื่นๆ อีก<br />

มากมาย (บุญชวย ศรีสวัสดิ์, 2503: 232)


42<br />

2. ประเทศจีน ชาวไทใหญจํานวนมากอาศัยอยูในเขตภาคตะวันตกเฉียงใตของ<br />

มณฑลยูนนานอันมีเมืองมาว เมืองวัน เมืองหลา เมืองตี เมืองขอน เจฝาง เมืองแลง เมืองฮึม เมืองยาง<br />

เมืองกึ๋งมา เมืองติ่ง เมืองแข็งหรือเมืองแสง เมืองบอหรือเมืองกู เมืองเมือง เปนตน<br />

3. ประเทศไทย มีชาวไทใหญอพยพเขามาทํามาหากินในจังหวัดแมฮองสอน<br />

เชียงราย และเชียงใหม สวนใหญเพิ่งอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานไมนานนัก<br />

4. ประเทศอินเดีย ในรัฐอัสสัม มีชาวไทใหญที่อพยพมาจากประเทศพมาเขาไปตั้ง<br />

รกรากทํามาหากินเปนระยะเวลามากวา 600 ปขึ้นไป<br />

5. ประเทศลาว ในภาคเหนือก็มีชาวไทใหญที่เรียกตนเองวาไทเหนืออาศัยอยูจํานวน<br />

หนึ่งอีกดวยเชนกัน (สมพงษ วิทยศักดิ์พันธุ, 2544: 23)<br />

จากหลักฐานตางๆ ที่นักประวัติศาสตรคนพบ ชนชาติไทใหญอพยพลงมาจากตอนใต<br />

ของจีนในปจจุบันเมื่อพันกวาปที่ผานมา และเขามาตั้งถิ่นฐานเปนปกแผนบนแผนดินฉานในลุมน้ํา<br />

สาละวิน ทามกลางผืนปาและขุนเขา คนฉานแยกยายปกครองบานเมืองตัวเองเปนอิสระจากกันใน<br />

ลักษณะ “นครรัฐ” มีเจาฟาปกครองโดยการสืบสันตติวงศ ในอดีตนครรัฐฉานเคยรุงเรืองเปนที่รูจัก<br />

ในนามของ “อาณาจักรไทมาว” อันยิ่งใหญ เปนปกแผนดวยความรวมมือของ 9 รัฐ บางสมัย<br />

อาณาจักร 9 เจาฟาไดขยายดินแดนพมาตอนบนและตะวันออกทั้งหมด บางยุคแผอํานาจไปจรดเขต<br />

มอญซึ่งอยูทางตอนกลางของพมาในปจจุบัน แตในที่สุดก็คอยๆ สูญเสียอํานาจและดินแดนใหกับ<br />

พมาไปทีละเล็กทีละนอย นครรัฐตางๆ แตกยอยลงและรบพุงกันเองจนเหลือเพียงอาณาเขตที่รูจัก<br />

กันในนามรัฐฉาน หรือที่คนไทใหญเรียกวา “เมิงไต” (นิพัทธพร เพ็งแกว และนวลแกว, 2549: 22)<br />

ในขณะที่คนไตในประเทศพมา ไดปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตรเมื่ออาณาจักรศรี<br />

เกษตรหรือ ปยูสิ้นสุดลง อาณาจักรพุกามเริ่มมีอํานาจขึ้นมา และพัฒนาตอมาเปนสหภาพพมา<br />

เมื่อกอนสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมเอาชนชาติ ๆ มาเปนสวนหนึ่งของสหภาพทางตอนเหนือ<br />

ของประเทศพมา ชนชาติไทใหญเคยรุงเรืองสมัยอาณาจักรเมืองมาวและอาณาจักรเมืองเชียงรุงหรือ<br />

สิบสองพันนา และลานนาบางสวน เมื่ออาณาจักรพมาเขมแข็งก็ไดรบรวมพมากวาดตอนคนไต<br />

ในเขตลานนา ทําใหลานนาตกเปนประเทศราชของพมาถึงสองรอยปการตอสูเพื่อคงความเปนเอก<br />

ราชและความยิ่งใหญระหวางคนไตหรือฉานในพมา ก็ไดดําเนินตอเนื่องกันมาเปนเวลานาน


43<br />

คนไตเหลานี้แบงการปกครองเปนเมืองเล็กเมืองนอยแตละเมืองมีเจาเมืองหรือ “เจาฟา”<br />

เปนผูปกครองเมือง แมในปจจุบันเมืองตาง ๆ เหลานั้นยังคงอยู แตปราศจากเจาฟาที่มีอํานาจเชนเดิม<br />

เมืองตางๆ ที่ยังคงอยูไดแกเมืองเชียงตุง เมืองนาย เมืองปาย เมืองยองหวย เมืองสี่ปอ เมืองแสนหวี<br />

เมืองมีด เปนตน เมืองทั้งหมดไดรวมตัวกันสหพันธรัฐฉานเพื่อความเปนอิสระและพยายามจะ<br />

แยกตัวออกจากพมาและการตอสูเพื่อความเปนเอกราชของชาวไตยังคงดําเนินอยูแมในปจจุบัน<br />

คนไทใหญที่อยูในสหภาพพมาสามารถแบงออกเปนกลุมๆ ได 3 กลุมใหญๆ ดังนี้<br />

1. ไตลื้อ เมืองเชียงตุงเปนรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของไทยใหญ (ปจจุบันถูกพมา<br />

ปกครอง)ติดตอกับทางตอนใตของจีนและลาว จึงไมนาแปลกใจที่พลเมืองของรัฐนี้สวนหนึ่งเปน<br />

ชาวไตลื้อ คนเมืองเชียงตุงมักเรียกตนเองวา ไตขึน (หรือไตเขิน ในภาษาลานนา) และเรียกตนเองวา<br />

ไตยองสําหรับคนเมืองยองเปนตน จากหลักฐานทางประวัติศาสตรไมวาจะเปนตํานาน คําบอกเลา<br />

หรืออื่นๆพบวาเมืองเชียงตุงมีความสัมพันธกับอาณาจักรสิบสองพันนาและอาณาจักรลานนาอยาง<br />

แนนแฟน ดังนั้นจะพบไดวาในแงของภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมดานตาง ๆ จึงมีความคลายคลึง<br />

กัน ในทางตรงกันขาม ดูเหมือนวา ไตลื้อแหงรัฐเชียงตุงทั้งหมดมีความสัมพันธกับคนไตกลุมอื่น ๆ<br />

ที่เปนชนกลุมใหญกวาซึ่งถูกเรียกวาเงี้ยวหรือไตใหญ นอยกวาการติดตอกับกลุมไตลื้อในลานนา<br />

และสิบสองพันนาชาวไตเขินแหงเมืองเชียงตุงใชอักษรธรรมเชนเดียวกับสิบสองพันนาหรือลานนา<br />

และเรียกอักษรของตนเองวาอักษรไตขึน ภาษและอักษรไตขึนนี้ไมมีความแตกตางจากอักษร<br />

ลานนาหรืออักษรไตลื้อมากนัก ความแตกตางที่มองเห็น ไดเกิดจากวิธีการเขียนบางอยางที่ไดไดรับ<br />

อิทธิพลจากพมา และแนนอนวาในแงของภาษายอมมีคําภาษาพมาปรากฏมาก ในขณะที่ภาษาไตลื้อ<br />

ยอมมีภาษาจีน และภาษาลานนามีภาษาไตปะปนเขาไปมากนั่นเอง<br />

2. ไตใหญ หรือไต คําวา “ไทยใหญ” เปนคําที่คนไตในประเทศไทยใชเรียก<br />

เชนเดียวกับตางชาติใชคําวา “ชาน” หรือ “ฉาน” เรียกชนเผาไตกลุมนี้ แตชาวไตเรียกตนเองวา “ไต<br />

หรือคนไต” ไทใหญเปนพลเมืองของอาณาจักรเมืองมาวแถบลุมน้ําคงหรือสาละวินที่เคยรุงเรือง<br />

มากในประวัติศาสตร การลมสลายของอาณาจักรนี้ทําใหชนเผาไตตั้งเมืองเปนอิสระตอกัน<br />

โดยมีเจาฟาหรือเจาหอคํา เปนเจาเมืองปกครองดินแดนของตน เมืองเล็กเมืองนอยเหลานี้มีจํานวน<br />

แตสมัยพมาเริ่มเขามามีอํานาจในเมืองไต หรือรัฐฉาน คือ สมัยบุเรงนอง มีอํานาจแผขยายอํานาจ<br />

มาถึงเมืองไต ทําการยึดเปนเมืองขึ้น แตชาวไตก็พยายามที่จะปกปองตนเองอยูเสมอ จึงไดมีการตอสู


44<br />

กับพมาอยูมิขาด เหตุการณเชนนี้ดําเนินเรื่อยมาแมกระทั่งเมื่ออังกฤษเขามายึดพมาเปนอาณานิคม<br />

สหพันธรัฐฉานก็ตกเปนของอังกฤษไปดวย<br />

3. ไตอายตอนและไตคําที่ (คําตี) ทางตอนเหนือของสหพันธรัฐฉานมีชนเผาไตอาศัย<br />

อยูสองกลุมคือ ชาวไตอายตอน และชาวไตคําตี ไมหลักฐานทางประวัติศาสตรวาชาวไตทั้งสอง<br />

กลุมนี้สามารถรวมกันเปนกลุมกอนเพื่อกอตั้งเปนเมืองมีอํานาจรัฐของตนได ชนสองกลุมนี้<br />

นอกจากพบในประเทศพมาแลว บางสวนยังไดอพยพเขาไปอยูในรัฐอัสสัมของอินเดียอีกดวย<br />

จากการทบทวนดานตางๆที่เกี่ยวของกับไทใหญที่นอกเหนือจากการศึกษา<br />

ในเชิงประวัติศาสตร การตั้งถิ่นฐานแลว ก็พบวาจากการศึกษาประวัติศาสตรไทใหญของสมพงษ<br />

วิทยศักดิ์พันธุ (2544) ไดคนพบวาไทใหญมีการผลิตซ้ําทางวัฒนธรรมของตนเองจากตํานาน<br />

ประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียมประเพณี และดานอื่น ซึ่งถึงแมวาเมื่อดูจากประวัติศาสตรของการ<br />

เคลื่อนยาย และพบกับความเปลี่ยนแปลงตางๆ กับอาณาจักรหรือกลุมชาติติพันธุอื่นๆ<br />

ในประวัติศาสตรที่ผานมาดังเชน จีนหรือพมาก็ตาม แตขณะเดียวกันสมปอง ไตตุมแกน (2544) ก็<br />

ไดศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานของการตั้งถิ่นฐานรกรากของคนไทใหญที่อาศัยอยูในประเทศ<br />

พมา เขตรัฐฉาน ในแถบของแมน้ําอิรวดี และแมน้ําคงคา<br />

ในดานของการศึกษาชนชาติไทใหญ นอกจากการศึกษาทางดานประวัติศาสตร<br />

การตั้งถิ่นฐานแลว ภาษาก็นับไดวามีความสําคัญอีกประการหนึ่ง เพราะภาษาเปนรากฐานสําคัญ<br />

ของการเปนอารยะชน ซึ่งการศึกษาเกี่ยวกับภาษาของคนไทใหญเริ่มขึ้นเมื่ออังกฤษเขามายังดินแดน<br />

ไทใหญ เพราะถือวาเปนสวนหนึ่งของพมาหรือดวยเหตุผลอื่น (สมพงศ วิทยศักดิ์พันธุ , 2538)<br />

จากการศึกษาของ Revernd J.N. Cushing (1880) บาทหลวงชาวอังกฤษ ไดเรียนและแตงตํารา<br />

ชื่อ Elementary Handbook of the Shan Language ซึ่งเปนหนังสือคูมือภาษาไทใหญเบื้องตน<br />

ไมใชหนังสือแบบเรียนทั่วไป ในแตละบทนั้น เนื้อหาไดแสดงถึงจุดประสงคของการเรียน<br />

ภาษาไทใหญไวอยางเดนชัดวา เพื่อใหผูเรียนสามารถสื่อสาร สั่งการกับคนในทองถิ่น สามารถ<br />

หาขอมูลโดยตรงโดยไมไดผานลาม แตการศึกษาของ Fang – Kuei Li (1960, 1977) เปนการเก็บ<br />

รวบรวมคําศัพท รวมถึงจําแนกภาษากลุมตระกุลไทออกเปนสามกลุมดวยเกณฑของคําศัพทและ<br />

พัฒนาการของเสียงพยัญชนะ


45<br />

James chamberlain (1992, 1975) ไดสันนิษฐานตนกําเนิดของภาษาไทตามแนวคิดของ<br />

ศาสตราจารยวิลเลี่ยม เกดนี่ย ที่แบงภาษาตระกูลไทออกเปน 2 กลุม และมีตนกําเนิดมาจากตอน<br />

เหนือของเวียดนาม-มณฑลกวางสีของจีนซึ่งพบวาเมืองไทที่กอตั้งในราวศตวรรษที่ 10-12<br />

มีลักษณะที่เปนไปตามแนวคิดของศาตราจารยเกดนี่ยที่วางไว แตการศึกษานี้ก็ไดศึกษาจากขอมูล<br />

เอกสารที่ทําไวแลว เชน พจนานุกรมของ Cushing หรือรายการคําของจิมมี่ แฮริส เปนตน ในขณะที่<br />

ผลงานของอาจารยบรรจบ เมธา (2522) นับเปนผลงานชิ้นแรกที่ชี้ใหเห็นถึงความแตกตางทางดาน<br />

ภาษาชานเหนือ ชานใต ไทมาว ไทเหนือ และไทคําตี่ ทําใหผูอื่นไดเขาใจอิทธิพลจากภาษาพมาและ<br />

ภาษาจีน<br />

สวนLind Wai Ling Young (1989) ก็ไดศึกษาภาษาไทใหญอีกเลมหนึ่งที่เก็บขอมูลจาก<br />

ผูอพยพ ไทใหญในเมืองเชียงใหม ซึ่งเปนการศึกษาในแงของภาษาและการเก็บนิทานไทมาว พรอม<br />

ทั้งคําศัพททายเลม ในขณะที่อาจารยทวี สวางปญญากูร รวมกับพระนันตา ฐานวโร (2530) ก็ได<br />

จัดทําตําราเรียนภาษาไทใหญ โดยยึดเอาตําราเรียนเดิมของไทใหญในพมา และไทใตคงในจีนเปน<br />

หลัก แตเพิ่มคําอานหรือการออกเสียงภาษาไทย ซึ่งมีความแตกตางจากของอาจารยชายชื้น คําแดง<br />

ยอดไตย (2535) ที่มุงเนนใหผูเรียนเขาใจภาษาไทใหญใหสามารถอานไดดวยสําเนียงภาษาไทย<br />

กลาง<br />

นอกจากนี้นันทริยา สาเอี่ยม (2544) ก็ไดเขียนบทความที่ศึกษาจากแบบเรียนไทใหญ<br />

ซึ่งเปนการตีความเนื้อหาของแบบเรียนที่สะทอนวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ<br />

สภาพภูมิศาสตร และตัวตนของคน ไทใหญ แตงานดานตําราการเรียนการสอนภาษาไทใหญของ<br />

เรณู วิชาศิลป (2547) ก็ไดศึกษาหลักการใชภาษาไทใหญ บทอาน การออกเสียง ตามหลักไวยากรณ<br />

เพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทใหญ ก็เปนอีกผลงานหนึ่งทางดานภาษาที่มี<br />

ความนาสนใจ<br />

การศึกษาทางดานวัฒนธรรมที่เปนรากฐานของการดํารงชีวิตในวิถีประจําวัน ซึ่งมีผูที่<br />

สนใจศึกษาอยูสม่ําเสมอ เรณู อรรถฐาเมศร (2541) ก็ไดศึกษาวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม ประเพณี<br />

ของคนไทใหญที่อาศัยอยูที่บานใหมหมอกจาม ซึ่งถึงแมวาการยายถิ่นฐานจากถิ่นเดิมในประเทศ<br />

พมามา ชาวไทใหญยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใน<br />

บางอยางใหสอดคลองกับพื้นที่และสถานภาพ ในขณะที่ นงนุช จันทราภัย (2541) เลือกศึกษา


46<br />

พิธีกรรมดั้งเดิมของคนไทใหญผานประเพณีปอยสางลอง เพื่อสืบคนวาการสืบทอดประเพณี<br />

ดังกลาวหรือมีพัฒนาการหรือการปรับเปลี่ยนใหมอยางไร<br />

ตางจากสุมิตรและคณะ (2545) ที่ศึกษาโครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน<br />

คนไทใหญที่อาศัยอยูในเขตประเทศพมา และประเทศจีน รวมถึงประคอง นิมมานเหมินทร (2538)<br />

ก็เนนศึกษาโครงสรางทางสังคม ประเพณี ความเชื่อ และศิลปะดานตางๆ นอกจากนี้งานของวันดี<br />

สันติวุฒิไมตรี (2545) ที่สนใจการสรางตัวตนหรือ อัตลักษณทางวัฒนธรรมของคนไทใหญใน<br />

บริเวณชายแดนไทย-พมา ผานการแสดงออกทางดานตางๆ เชน หนังสือ การแสดงพื้นบาน หรือ<br />

แมกระทั่งรอยสัก เปนตน<br />

จากงานศึกษาขางตนที่ไดทบทวนวรรณกรรม เปนงานที่ศึกษาที่ยึดความเปนชนชาติ<br />

ไทใหญในบริบทตางๆ ตั้งแตประวัติศาสตรของการตั้งถิ่นฐาน สังคม วัฒนธรรม ภาษา ซึ่งเปนสิ่งที่<br />

ยึดติดอยูกับความเปนตัวตนเฉพาะ ภายใตความคิดที่ผูกติดกับคนกับพื้นที่ และตัวตนทางวัฒนธรรม<br />

เปนหลัก ทั้งนี้เพื่อเปนการสะทอนหรือสืบคนการคงอยู หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตอชนชาติ<br />

ไทใหญ ที่มีรากฐานของความเปนกลุมชาติพันธุที่มี ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี และเชื้อชาติของตน<br />

ในประวัติศาสตรที่ผานมา ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้พยายามที่จะมองประวัติศาสตรของคนไทใหญ<br />

เชื่อมโยงกับประวัติศาสตรของพมา ซึ่งทั้งสองประวัติศาสตรมีการประทะประสาน และถูกนํามาใช<br />

ในบริบท หนาที่ และการถายทอดที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับวาคนกลุมไหนเปนผูเลือกที่จะหยิบนํามา<br />

เลา หรือสรางประวัติศาสตรนั้นๆ<br />

การศึกษานี้จึงเลือกใชงานการศึกษาที่เกี่ยวของกับกลุมไทใหญ ในฐานะประวัติศาสตร<br />

การเมือง การปกครอง ศิลปวัฒนธรรม ภาษา ในการแสดงถึงความเปนมาของคนไทใหญ<br />

ในประเทศพมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพื่อนํามาอธิบายถึงสภาพการณของคนไทใหญที่อาศัยอยู<br />

ในเขตพื้นที่รัฐชาติของพมา ที่มีการปะทะประสาน กันตลอดเวลา รวมถึงการเลือกใชประวัติศาสตร<br />

ในการถายทอด และนําเสนอตอคนรุนหลังในการดํารงไวซึ่งความเปนชาติพันธุไทใหญสืบไป


47<br />

2.2.2 ไทใหญในฐานะผูพลัดถิ่น (displaced people)<br />

นอกเหนือจากประเทศตางๆ ในโลกนี้แลว กลุมชาติพันธุไทใหญก็เปนอีกกลุมชาติพันธุ<br />

หนึ่ง ซึ่งเคยยิ่งใหญและไดถูกใหเปนชนกลุมนอยของประเทศในแถบภูมิภาคนี้ไป อันไดแกชนชาติ<br />

สวนนอยชาวไตในประเทศจีน เวียดนาม พมา และอินเดีย ในขณะที่การเมืองการปกครองสมัยใหม<br />

ไมเปดโอกาสใหกลุมชาติพันธุไทใหญไดปกครองตนเองอยางเปนอิสระเหมือนกับสมัยกอน<br />

อํานาจรัฐจากรัฐบาลกลางไดแทรกเขาไปจัดการเกี่ยวกับวิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรมของชุมชน<br />

อยางไมมีทางหลีกเลียง เทคโนโลยีสมัยใหมไมวาจะเปนการคมนาคม โทรคมนาคม<br />

การสื่อสารมวลชน และอุดมคติของรัฐชาติสมัยใหม ลวนเขามามีบทบาทในการทําใหความเปนชน<br />

ชาติสวนนอยถูกกลืนหายเขาไปอยูในกระแสของความเปน “ชาติ” เดียวกันและเปนเจาของ<br />

“ประเทศ” เดียวกันมากขึ้น ลักษณะเชนนี้เปนปรากฏการณสากลของสังคมโลก การตานกระแส<br />

เชนนี้ยอมนําไปสูความขัดแยงทางเชื้อชาติ โดยนัยก็คือการตอตานการกลืนชาติจากรัฐบาลกลาง<br />

นั่นเอง<br />

การใชอํานาจของรัฐสมัยใหมของประเทศพมาที่พยายามควบคุมคน ในฐานะประชากร<br />

ไมใหเคลื่อนยายไปไหนและจําตองอยูติดที่ภายในขอบเขตของรัฐชาติ ในขณะเดียวกันพรอมๆ<br />

กันนั้นประเทศพมาก็พยายามสรางจิตสํานึกหรือจินตนาการรวมของชาติขึ้นมา ภายใตการนําของ<br />

ผูนําเชื้อสายพมา (Burman) ซึ่งไดจินตนาการความเปนพวก แตไดละเลยและลดทอนความสําคัญ<br />

ของความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุอื่นๆ กองทัพไดแสดงบทบาทอยางสําคัญใน<br />

กระบวนการ Burmanization ซึ่งความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุตางๆ ที่ปรากฏถูก<br />

มองวาเปนการละเมิดตอความมั่นคงของชาติ (Keyes, 1994: 133)<br />

สําหรับประชาชนไทใหญแลว ประสบการณจากการกดขี่ของรัฐบาลทหารพมา เปนสิ่ง<br />

ที่ปรากฏในชีวิตประจําวันที่ผานนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization) อันเปนนโยบาย<br />

สําคัญในการสรางรัฐชาติที่เปนหนึ่งเดียวทางชาติพันธุ (ethnocratic native state) ดังที่งานศึกษา<br />

จํานวนมากไดวิเคราะหไววา ยุทธศาสตรทางการทหารของพมาในการครอบงํา สรางความเปนใหญ<br />

และเปนหนึ่งเดียวของชาติ ดวยการใชกําลังนั้นแสดงออกในการปฏิบัติหลายรูปแบบ ไมวาจะเปน<br />

การกดขี่ทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาวัฒนธรรม และการแทรกซึมกําลังทหารเขาไปในพื้นที่ตาม


48<br />

แนวพรมแดนตางๆ ภายใตยุทธศาสตรที่ผสมผสานหลายอยาง ไมวาจะเปนการใชกองกําลังเขาไป<br />

ปราบปราม การบังคับใหยอมจํานนและหยุดยิง หรือการใชการควบคุมผานการพัฒนาเปนตน<br />

(ปนแกว เหลืองอรามศรี, 2549:61)<br />

ประวัติศาสตรของการปกครอง การถูกกดขี่ และการตอสูของคนไทใหญตอประเทศ<br />

พมานั้นแสดงใหเห็นถึงการสรางตัวตนของรัฐชาติหนึ่งๆ ที่เปนการไปเปลี่ยนสมดุลของ<br />

กลุมเชื้อชาติ/ชาติพันธุตางๆในสังคมจากเดิมที่วางอยูบนฐานของวัฒนธรรมสูฐานทางการเมือง<br />

ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ จึงไดมาดวยการใชอํานาจ/ ความรุนแรงเขาไปเก็บกดปดกั้น<br />

กดทับความแตกตางในชาติไว ไปจัดระบบระเบียบกลุมคนอื่นๆเชื้อชาติอื่นๆในชาติไว<br />

ผานกระบวนการสรางความหลงลืมในรูปของตํานานเรื่องเลาขานประจําชาติแบบตางๆหรือ<br />

ผานยุทธศาสตรเชิงวาทกรรม อยางเชนวลีเรื่อง “เอกภาพและความมั่นคงของชาติ”หรือ “การอยู<br />

รวมกันอยางสงบสุขระหวางคนชาติพันธุตางๆ” เปนตน กลุมเชื้อชาติ/ ชาติพันธุที่ถูกเก็บกด ปดกั้น<br />

จากกระบวนการสรางชาติดังกลาว ก็จะพยายามเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองความเปนอิสระใหกับ<br />

ตนเอง ในรูปของขบวนการปลดปลอยเพื่อแยกออกไปตั้งรัฐ-ชาติของตนเอง (a nation of liberation<br />

movement) ขณะเดียวกันกลุมเชื้อชาติ/ ชาติพันธุหลักที่เปน “ตัวแทน” ของชาติ และมีอํานาจรัฐอยู<br />

ในมือก็จะปราบปรามกลุมเชื้อชาติ/ ชาติพันธุเหลานั้นใหราบคาบไป<br />

ไทใหญในฐานะชนชาติพันธุพลัดถิ่น จึงเปนที่สนใจของผูที่ศึกษาทั่วไปจํานวนมาก<br />

ซึ่ง สุรสม (2546) ไดกลาวถึงไทใหญในฐานะที่เปนหนึ่งในชนกลุมนอยในประเทศพมาวายังคงถูก<br />

“บีบบังคับ” ใหลี้ภัยพลัดถิ่นออกนอกประเทศอยางไมขาดสาย เนื่องจากนโยบายของประเทศพมาที่<br />

เนนเขาไปจัดการและควบคุม “พื้นที่” ที่ชนกลุมนอยเหลานี้อาศัยอยูอยางเขมขน ผานโครงการที่<br />

เรียกวา “การพัฒนา” ในดานขององคการที่รณรงคเรื่องของสิทธิมนุษยชนชาวไทใหญที่ใชชื่อวา<br />

Shan Women Action Network หรือ SWAN (2548) ก็ไดทํารายงานในชื่อ License to Rape หรือ<br />

ใบอนุญาตขมขืน ที่สะทอนการกระทําของทหารชนชาติพมาใชการขมขืนที่กระทําตอผูหญิงและ<br />

เด็กสาวไทใหญเปนอาวุธลางเผาพันธุ ซึ่งรายงานชิ้นนี้ไดเปลี่ยนมิติมุมมองทางการเมืองในสงคราม<br />

พมาและกองกําลังชนกลุมนอยขึ้นใหม โดยเปลี่ยนมิติปญหาความขัดแยงที่มักถูกมองวาเปน<br />

สงครามภายในประเทศ หรือเปน “ปญหาภายใน” ระหวางรัฐชาติพมาและชนกลุมนอย ให<br />

กลายเปน “ปญหาสากล” วาดวยการละเมิดสิทธิมนุษยชน


49<br />

ผลของการพลัดถิ่นจากประเทศพมา ไมเพียงแตจะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในพมา<br />

เทานั้น สุภางค จันทวานิช (2548) ก็ยังพบวาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนของไทใหญยังถูกกระทํา<br />

อยางตอเนื่อง โดยการเปนแรงงานขามชาติที่ตกเปนเหยื่อของการถูกลอลวง และถูกบังคับ<br />

ใชแรงงาน ถูกลวงละเมิดทางเพศ เชนเดียวกับกฤติยา อาชวนิจกุล (2543) ที่กลาวถึงการแสวงหา<br />

ผลประโยชนของเจาหนาที่รัฐไทย ตั้งแตกระบวนการเริ่มเดินทางเขามาจนกระทั่งอาศัยและลักลอบ<br />

ทํางานในประเทศไทย นอกจากนี้ความรุนแรงทางดานสุขภาพอนามัยที่ไมปลอดภัย<br />

ในขณะที่มีนักวิจัยอีกกลุมหนึ่งที่สนใจศึกษาไทใหญพลัดถิ่น ในบริบทของการดิ้นรน<br />

ปรับตัว และประสบการณที่ปะทะสังสรรค กับโลกภายนอก วาสนา ละอองปลิว (2548) มองผาน<br />

เรื่องความสัมพันธของคนไทใหญทั้งกอนมาเปนแรงงานและชีวิตที่เต็มไปดวยการตอรองและ<br />

สรางความหมาย ในชวงหลังจากเขามาเปนแรงงานขามชาติแลว เชนเดียวกับกลุมชาติพันธุตางๆ<br />

ภายในประเทศพมา ชาวไทใหญตองประสบกับความรุนแรงจากการ พยายามรวบอํานาจทางการ<br />

ปกครองและการทหารของรัฐพมา นับตั้งแตการยกเลิกสนธิสัญญาปางโหลงที่รองรับการแยกตัว<br />

เปนอิสระของรัฐฉาน ชาวไทใหญถูกบังคับใหใชแรงงาน ถูกบังคับใหโยกยายถิ่นที่อยู ซึ่งถูกแบง<br />

ออกเปนสวนๆ ตามการควบคุมของรัฐ นับตั้งแตพื้นที่สีดํา อันเปนพื้นที่ซึ่งกองกําลังของฝายตอตาน<br />

รัฐบาลสามารถครอบครองได พื้นที่สีน้ําตาล หมายถึงพื้นที่ซึ่งมีการตอสูชวงชิงระหวางรัฐบาลและ<br />

กองกําลังฝายตอตาน และพื้นที่สีขาว หมายถึงพื้นที่ซึ่งปลอดอํานาจของกองกําลังตอตานรัฐบาล<br />

เชนเดียวกับอรัญญา ศิริผล (2548) มุงเนนศึกษาเปรียบเทียบชาวไทใหญ 2 กลุมที่อพยพ<br />

เขามาในระยะเวลาตางกัน เพื่อใหเห็นถึงกระบวนการดิ้นรน ตอรอง ผูกสรางความสัมพันธ<br />

ในสถานะภาพที่แตกตางกัน ซึ่งชุมชนทั้งสองตางมีวิธีการผูกรวมจินตนาการของผูคนที่กระจัด<br />

กระจายอยู ไปสูการสรางพื้นที่หรือจัดวางตําแหนงแหงที่ในชุมชนแตกตางกัน ซึ่งเปนการปรับตัว<br />

จากการปรับเปลี่ยนการดํารงชีวิตในพื้นที่แหงใหม งานวิจัยชิ้นนี้พบวาทั้งสองชุมชนตางใชเวที<br />

ทางศาสนาเปนหลักในการสรางความหมายดังกลาว<br />

พรอมกันนั้น ปนแกว เหลืองอรามศรี (2548) ก็เลือกที่จะศึกษาความสัมพันธระหวาง<br />

รัฐชาติและปฏิบัติการขามชาติของผูหญิงไทใหญ โดยศึกษาจากกรณีการรณรงคขององคกร<br />

ที่ทํางานดานสิทธิมนุษยชนชาวไทใหญที่ชื่อวา Shan Women Action Network หรือ SWAN<br />

ชี้ใหเห็นวา กระบวนการสรางชาติทั้งหลายลวนแตเปนโครงการของผูชาย เนื่องจากผูหญิง


50<br />

มักถูกวางไวนอกปริมณฑลของความเปนชาติ ในขณะเดียวกันผูหญิงก็เปนกลุมแรกที่ไดรับ<br />

ความเจ็บปวดจากกระบวนการสรางชาติ แตความรุนแรงที่กระทําตอผูหญิงกลับถูกมองวาเปน<br />

เรื่องสวนตัวหรือเปนปญหาภายในบาน ไมใชปญหาการเมือง ดังจะเห็นไดจากกรณีการรณรงค<br />

ใบอนุญาตขมขืนของกลุม SWAN ที่เปดเผยใหเห็นมายาคติของการสรางชาติ ดวยการตั้งคําถาม<br />

ของผูหญิงและมุมมองทางการเมืองเรื่องเพศสภาพ (gender politics)<br />

จากการทบทวนวรรณกรรมดังกลาวทําใหเห็นถึง หลากหลายมิติในการมองของนักวิจัย<br />

ที่มีตอชนชาติไทใหญในฐานะที่เปนผูพลัดถิ่น เริ่มตั้งแตมูลเหตุปจจัยที่ทําใหเกิดการพลัดถิ่น<br />

จนกระทั่งการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งภายในและนอกประเทศ ที่สงผลใหคนไทใหญเหลานี้<br />

ตองดิ้นรน ตอรอง ผูกสรางความสัมพันธภายใตบริบทที่แตกตางกันไป ซึ่งงานเหลานี้สะทอนถึง<br />

ประสบการณของคนไทใหญที่ตองเผชิญอยูตลอดเวลา เชนเดียวกับงานที ่จะศึกษาในครั้งนี้ก็จะเปน<br />

การสืบคนประสบการณจากการเปนผูพลัดถิ่น ซึ่งนับวาเปนตัวแปรสําคัญที่กลุมคนเหลานี้นํามาใช<br />

ถายถอด สงตอ ผานประวัติศาสตรของความกดทับ กดขี่ ของคนในชนชาติในรูปแบบของ<br />

อุดมการณรักชาติ หรือชาตินิยม<br />

เนื่องจากนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization) อันเปนนโยบายสําคัญ<br />

ในการสรางรับชาติที่เปนหนึ่งเดียวทางชาติพันธุ (ethnocratic native state) ของพมาสงผลตอ<br />

การพลัดถิ่นของคนไทใหญจํานวนมาก ทั้งเปนการพลัดถิ่นภายนอกประเทศ และการพลัดถิ่น<br />

ภายในประเทศ (internally displacement)ซึ่งในงานศึกษาของงานชิ้นนี้เลือกที่จะศึกษาคนไทใหญ<br />

พลัดถิ่นในฐานนะคนพลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced people) เพื่อพยายามถายทอด<br />

ประวัติศาสตรของกลุมไทใหญ ในฐานะของการถูกกระทําใหกลายเปนคนพลัดถิ่นภายในประเทศ<br />

(internally displaced people) ซึ่งคนไทใหญกลุมนี้ยอมมีประสบการณความเจ็บปวด ความบอบช้ํา<br />

จากการถูกกดขี่ในรูปแบบตางจากรัฐบาลทหารพมา ที่แตกตางกันไป แตในขณะเดียวกัน<br />

ประสบการณ ความรูสึกเหลานั้นจะถูกถายทอดหรือรับใชความเปนชาติพันธุไทใหญอยางไร<br />

ในกระบวนการสรางความเปนชาตินิยมไทใหญ ใหกับประชาชนคนรุนหลังมีความรักชาติ<br />

บานเมือง ซึ่งเปนประเด็นที่นาสนใจในการนํามาอธิบายงานศึกษาชิ้นนี้ตอไป


บทที่ 3<br />

ไทใหญในรมเงาของ “ประเทศพมา”<br />

ในบทนี้จะเปนการแสดงใหเห็นถึงประวัติศาสตรของคนไทใหญที่มีความเปนมาอยาง<br />

ยาวนาน โดยเฉพาะผูศึกษาไดพยายามไดเลือกประเด็นที่เกี่ยวของการงานวิจัยในครั้งนี้ ที่ทําใหเห็น<br />

ถึงการอยูภายใตของความเปนประเทศพมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน นอกจากนี้ยังทําใหเห็น<br />

สถานการณและความเปนอยูภายใตของนโยบายแปลงเปนพมา (Burmanization) ที่พยายามใหเกิด<br />

ความเปนเอกภาพภายใตนโยบายของรัฐ ทั้งนี้ไดยกกรณีตัวอยางเพื่อใหเห็นถึงสถานการณที่เกิด<br />

ขึ้นกับประชาชนคนไทใหญอยางเปนรูปธรรม<br />

ดังนั้นผูศึกษาจึงแบงประเด็นที่จะศึกษา และนําเสนอสถานภาพตางๆ เพื่อใหเห็นมิติ<br />

ของพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง ดังนี้ คือ ประวัติศาสตรคนไทใหญที่อยูบนผืนแผนดินของ<br />

ตนเอง และภายใตของการเปนรัฐอารักขา รวมถึงการเปนชนกลุมนอยของสหภาพพมาที่เนน<br />

ความเปนเอกภาพภายในชนชาติ ผานการใชนโยบายแหงรัฐอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งจะกลาว<br />

ในรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

ความเปนเอกภาพของประเทศ เปนนโยบายที่สําคัญของประเทศพมามาเปนเวลานาน<br />

ทั้งนี้เพราะประเทศพมาไดผานประสบการณของสงครามภายในชนชาติมาเปนเวลากวา 4 ทศวรรษ<br />

สงครามภายในนี้ คือ สงครามระหวางรัฐบาลซึ่งเปนชาวพมา กับกองกําลังชนกลุมนอยที่อาศัยอยูใน<br />

ประเทศเดียวกัน ชนกลุมนอยเหลานี้ไดแก ไทใหญ กะเหรี่ยง คะยาห คะฉิ่น ฉิ่น มอญ วา จีนโกกัง<br />

รวมทั้งชนภูเขาตางๆ กองกําลังชนกลุมนอยเหลานี้อาศัยอยูบริเวณชายแดนของประเทศ ขณะที่<br />

ชาวพมาเหลานี้อาศัยอยูบริเวณที่ราบลุมใจกลางแมน้ําประเทศ ดวยลักษณะภูมิประเทศที่มีภูเขาและ<br />

เทือกเขาสูงโอบลอมแมน้ํา ทําใหกลุมชาติพันธุเหลานี้ถูกแยกออกจากกัน ที่มีลักษณะตางคนตางอยู<br />

ไมมีโอกาสรวมตัวกันเปนปกแผน<br />

ตามประวัติศาสตร อาณาจักรที่ปกครองโดยกษัตริยพมาจะมีอํานาจที่กลาแข็ง และมี<br />

อิทธิพลเหนือพื้นที่ของชนกลุมนอยกลุมตางๆ แตราชสํานักพมาก็มิไดมีความพยายามที่จะรวบรวม<br />

อาณาเขตเหลานั้นใหอยูในขอบเขตที่ไดรับอิสระในการปกครองแกผูนําชุมชนตางๆ และพอใจเพียง<br />

เครื่องราชบรรณาการเทานั้น


52<br />

พมาในสมัยอาณานิคม ภายใตการปกครองของอังกฤษ ไดมีการเปลี่ยนแปลงโครงสราง<br />

การปกครองมาใชนโยบาย “แบงแยกและปกครอง” แทนของเดิม โดยแบงเขตชายแดนออกจากที่<br />

ราบลุมแมน้ํา อังกฤษเขาปกครองในเขตที่มีชุมชนพมาอาศัยอยูเรียก “พมาแท” และปลอยเสรีใหกับ<br />

เขตชายแดนใหผูนําชุมชนเดิมปกครองกันเองตอไป แตอยูภายใตการควบคุมดูแลของขาหลวง<br />

ชาวอังกฤษ<br />

เมื่อพมาไดรับเอกราชจากอังกฤษ รัฐบาลพมาก็ยังไมสามารถแกไขปญหาความแตกแยก<br />

ระหวางรัฐของชนกลุมนอยกับรัฐบาลกลางได แมจะประสบความสําเร็จในระดับหนึ่งคือ<br />

มีขอตกลงรวมกันที่เรียกวา “ขอตกลงปางโหลง” ซึ่งเปดโอกาสใหรัฐของชนกลุมนอยสามารถ<br />

แยกตัวเปนอิสระไดในอนาคต แตขอตกลงนี้ไมไดรับการเคารพจากฝายรัฐบาลพมา จึงเปนที่มาของ<br />

ความขัดแยงและบานปลายกลายเปนสงครามกลางเมืองนับตั้งแตป ค.ศ. 1947 จนถึงปจจุบัน<br />

3.1 ไทใหญ: ในฐานะชนกลุมนอยในพมา<br />

ดวยสภาพทางภูมิศาสตร ประเทศพมาไดแบงแยกออกจากกันเปนสองสวน คือ สวนที่<br />

อยูใจกลางของประเทศ ซึ่งจะไดแกพื้นที่บริเวณลุมแมน้ํา เชนที่ราบลุมแมน้ําอิระวดีตอนลาง<br />

แมน้ําสะโตง และแมน้ําชินวิน พื้นที่ใจกลางบริเวณนี้จะถูกลอมรอบดวยเทือกเขาสูง และบริเวณที่<br />

ราบสูงกินอาณาเขตจรดชายแดนของพมาทั้งทางดานตะวันตก ตะวันออก และภาคเหนือ<br />

พื้นที่บริเวณเทือกเขาสูงนี้จะกินอาณาเขตประมาณ 2 ใน 3 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ<br />

ชาวพมาแทซึ่งเปนประชากรสวนใหญประมาณ 68 % จะอาศัยอยูในบริเวณพมาแทหรือ<br />

บริเวณที่ราบริมแมน้ํา อาทิเชน แมน้ําอิระวดี แมน้ําสะโตง และแมน้ําชินวิน เปนตน นอกจาก<br />

ชาวพมาแลวยังประกอบไปดวยชาวมอญและกะเหรี่ยงที่อพยพลงมาจากภูเขาสูง ในขณะที่<br />

ชนกลุมอื่นจะอาศัยอยูในบริเวณที่ราบสูงหรือเทือกเขาสูงบริเวณชายแดน ซึ่งประกอบไปดวย<br />

กลุมชาติพันธกลุมตางๆ อาทิเชน ไทยใหญ (Shan) กะเหรี่ยง (Karen) คะฉิ่น (Kachin) ฉิ่น (Chin)<br />

วา (wa) ยะไข (Arakanist) และชาวเขาเผาตางๆ เชน มูเซอ อีกอ ลีซอ ปะหลอง จีนโกงกัง เปนตน<br />

ชนกลุมนอยตางๆ เหลานี้รวมกันประมาณรอยละ 32 ของประชากรพมา โดยมีกลุมไทยใหญ<br />

กลุมกะเหรี่ยง กลุมมอญ และกลุมคะฉิ่น จะมีจํานวนเปนรองลงมาจากชาติพันธุพมาตามลําดับ<br />

ดวยปญหาสภาพทางภูมิประเทศเปนอุปสรรค ทําใหชนกลุมนอยในบริเวณชายแดน<br />

และชาวพมาในบริเวณที่ราบลุมแมน้ําไมคอยไดติดตอสัมพันธกันมากเทาใด การสัญจรไปมา<br />

ในบริเวณเทือกเขาสูงและปาทึบทําไดไมคอยสะดวกสวนใหญเปนทางเดินเล็กๆ เหมาะกับการ<br />

สัญจรดวยเทาหรือกองคาราวานที่อาศัยสัตวเปนพาหนะ เชน ชาง มา วัว ควาย และลา เปนตน


53<br />

ปจจุบันยังคงสภาพเดิมอยูในบริเวณภูมิประเทศที่เปนเทือกเขาและที่ราบสูง ซึ่งยังทําหนาที่เสมือน<br />

เสนแบงแดนที่แยกชนกลุมนอยออกจากชาวพมา รวมทั้งศูนยอํานาจรัฐพมาจากสวนกลางอีกดวย<br />

(พรพิมล ตรีโชติ, 2542: 1-2)<br />

Martin Smith มองวา รัฐพมาในความเปนจริงแลว “เปนพื้นที่อันเปนถิ่นที่อยูของ<br />

ชนตางกลุมชาติพันธุที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ตางฝายตางมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมใหแกกันใน<br />

หลายพื้นถิ่น หากจะเปรียบก็เหมือนรูป หรือลวดลายโมเสสที่เกิดจากการจัดวางของแผนหินชิ้นเล็ก<br />

ๆ หรือเศษแกวหลากสี มากกวาที่จะเปนแผนที่ของกลุมชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน หรืออาณาบริเวณที่<br />

สามารถแบงแยกออกจากกันไดอยางงายดาย 1 กลาวคือ ธรรมชาติของรัฐพมาเปนที่รวมของกลุม<br />

ชาติพันธุที่หลากหลายมากกวาจะเปนรัฐของกลุมชาติพันธุกลุมใดกลุมหนึ่ง อยางไรก็ตาม<br />

ในบรรดากลุมชาติพันธุที่แยกกระจายกันอยูในอาณาบริเวณที่เรียกวารัฐพมานั้น ตางมีผูนํา<br />

เปนผูปกครองดูแลของตน<br />

กลุมที่โดดเดนขึ้นมาไดแก กลุมพมา (Burman) ที่มีระบบการปกครองที่เปนระบบ<br />

โดยมีพระมหากษัตริยเปนผูนําอันสูงสุด ปกครองอาณาบริเวณที่พระราชอํานาจสามารถแผปกปอง<br />

ไปถึงในขณะที่ชนกลุมนอยบางกลุมเหลานี้ เชน ไทยใหญในรัฐฉาน จะมีวัฒนธรรมที่เจริญไมนอย<br />

ไปกวาชาวพมา มีระบบการปกครองภายใตผูปกครองนครหรือแควนที่เรียกวา เจาฟา (Sawbwa)<br />

ซึ่งเปนตําแหนงผูนําทางการปกครองที่ถายทอดกันภายในราชวงศ นอกจากนี้ก็ยังมีชนชั้นระดับผูนํา<br />

ลดหลั่นกันไปตามลําดับ บริเวณที่อาศัยของชาวไทยใหญ ไดแก ที่ราบสูงฉาน (Shan Plateau) และ<br />

ที่ราบในบริเวณใกลเคียง แบงการปกครองออกเปน 33 แควน แตละแควนมีเจาฟาเปนผูปกครอง<br />

นอกจากนี้ยังมีกลุมชาววา ชาวคะฉิ่น ซึ่งมีโครงสรางการปกครองคลายคลึงกับกลุมไทใหญ คือ<br />

มีผูปกครองซึ่งสืบเชื้อสายมาจากตระกูลเกาแก กลุมคะฉิ่นอาศัยอยูในบริเวณเทือกเขาดานทิศ<br />

ตะวันตก สวนกลุมกะเหรี่ยงจะกระจายตัวอยูทั้งบริเวณที่ราบลุ มกับชาวพมาและอาศัยอยูบริเวณ<br />

เทือกเขาสูง<br />

จากประวัติศาสตรของพมาที่ผานมาจะเห็นไดวา กลุมชาติพันธุแตละกลุมในพมา<br />

โดยเฉพาะกลุมชาติพันธุขนาดใหญ จะมีการปกครองเปนของตนเองในลักษณะของนครรัฐ<br />

ยามเมื่อใดรัฐใดออนแอก็มักจะถูกรัฐรอบขางรุกราน กอนยุคอาณานิคมบริเวณที่เปนถิ่นอาศัยของ<br />

กลุมชาวพมาและปกครองปกครองโดยผูนํารัฐพมา คือ บริเวณตอนกลางของลุมแมน้ําอิระวดี และ<br />

บริเวณดินดอนปากแมน้ําตอนลางเทานั้น สํานึกในความเปนชาติจึงมิไดเกิดขึ้นในหมูของ<br />

กลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่อยูนอกเขตการปกครองของรัฐพมา ทั้งนี้มิใชเพราะจากการที่รัฐพมาสวนกลาง<br />

1<br />

Martin Smith, Burma (Myanmar): The Time for Change, Minority Rights Group International, UK. 2002 : 6<br />

5


54<br />

ไมไดพยายามรวบรวมดินแดนเหลานี้เขามาภายใตโครงสรางรัฐเพียงประการเดียวเทานั้น หากเปน<br />

เพราะกลุมชาติพันธุใหญๆ สวนมากมีนครรัฐหรืออาณาจักรของตนเองอยูแลว เชน แควนยะไขหรือ<br />

อาระกัน และรัฐฉาน พมาเพิ่งจะแผอํานาจเขาไปถึงในสมัยพระเจาปะดุง ซึ่งตรงกับ<br />

ตนกรุงรัตนโกสินทรนี่เอง<br />

3.2 ไทใหญ: ภายใตการปกครองของชาวอังกฤษในสมัยอาณานิคม (ชวงป พ.ศ. 2369 - 2490)<br />

กลุมไทใหญนับวาเปนกลุมชาติพันธุที่มีจํานวนมากเปนที่สองรองจากชาวพมา<br />

รัฐไทใหญตั้งอยูทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของพมา โดยมีพรมแดนติดกับรัฐคะฉิ่นทางตอน<br />

เหนือ และจีนตอนเหนือและตะวันออก ในขณะที่ทางภาคตะวันออกนั้นมีพรมแดนติดกับ<br />

ประเทศไทยและลาว และในภาคใตและภาคตะวันตกมีพรมแดนติดกับรัฐกะยา มัณฑะเลย สะกาย<br />

รัฐกะเหรี่ยงในพมา ตามลําดับ รัฐไทใหญนั้นมีเนื้อที่ประมาณหนึ่งในสี่ของพื้นที่ทั้งหมดของ<br />

ประเทศพมา หรือประมาณ 8 ลานคน เขตบริเวณที่อาศัยอยูไดแกที่ราบสูงฉาน (Shan Plateau)<br />

จากหลักฐานตางๆ ที่นักประวัติศาสตรไดคนพบ เชื่อวาชาวไทใหญอพยพมาจากบริเวณตอนใต<br />

ของจีนในปจจุบันเมื่อประมาณทศวรรษที่ 7 โดยบางกลุมก็อาศัยอยูในบริเวณที่ราบรวมกับชาวพมา<br />

และชาวมอญ ในขณะที่บางพวกแยกตัวขึ้นไปอยูบริเวณที่ราบสูงและไดแบงแยกดินแดนออกเปน<br />

2<br />

33 แควน แตละแควนมีเจาฟาปกครองโดยการสืบสันตติวงศ<br />

ความสัมพันธระหวางรัฐฉานกับราชสํานักพมาเปนไปอยางหลวมๆ บางยุคสมัย<br />

อาณาจักรไทใหญก็จะแยกตัวเปนอิสระ แตในบางยุคเมื่อพมามีความเขมแข็งก็จะผนวกรัฐฉาน<br />

เขามาอยูในอํานาจ แตราชสํานักก็จะปลอยใหบรรดาเจาฟาปกครองแวนแควนของตนเอง และจะสง<br />

ขาราชการชั้นผูใหญมาประจําราชสํานักของรัฐฉาน เพื่อทําหนาที่ที่ปรึกษา พรอมกันนี้ก็ไดสงนาย<br />

พลซึ่งควบคุมกองทัพทหารพมาจํานวนหนึ่งประจําการที่เมืองนาย (Mongnai) เพื่อทําหนาที่ดูแล<br />

ควบคุมความเปนระเบียบเรียบรอย และคอยปราบปรามเจาฟาที่ยังทาทายอํานาจรัฐจากสวนกลาง<br />

ความสัมพันธของเจาฟาแควนตางๆ ของรัฐฉานที่มีตอราชสํานักแตกตางกันออกไป<br />

บางแควนที่มีความจงรักภักดี ก็จะสงราชบุตรหรือราชธิดาไปประจําราชสํานักของกษัตริยพมาหรือ<br />

บางแควนก็จะสงราชธิดาไปเปนบาทบริจาริกาของกษัตริยพมาเพื่อสืบสานสายใยกับอํานาจ<br />

สวนกลาง ลักษณะรูปแบบของความสัมพันธระหวางเจาฟาตางๆ ของรัฐฉานกับราชสํานักพมาจึง<br />

หลากหลายกันไป<br />

2 Steinberg,Burma : A Socialist Nation of Southeast Asia, p. 6.


55<br />

สวนสัมพันธระหวางเจาฟาดวยกันเองก็มิไดมีความสมานสามัคคีกันแตประการใด<br />

มีการแยงชิงดีชิงเดนและสูรบกันเองอยูตลอดเวลา ในชวงเวลาใดที่ศูนยกลางอํานาจของรัฐพมา<br />

ออนแอลง ก็มักจะมีเจาฟาแควนไทใหญแควนใดแควนหนึ่งพยายามแผอํานาจ ดวยการโจมตีแควน<br />

ไทใหญดวยกันเอง<br />

ในขณะที่ความสัมพันธระหวางเจาฟาไทใหญกับราชสํานักพมาเปนไปอยางหลวมๆ<br />

ความสัมพันธระหวางประชาชนในแวนแควนตางๆ ของรัฐฉานกลับไมมีความสัมพันธหรือผูกพัน<br />

ใดๆ กับราชสํานักพมา ความรูสึกสวามิภักดิ์กลับมามีใหกับเจาฟาผูปกครองแวนแควนของตน และ<br />

ความรูสึกดีผูกพันกับแผนดินในรัฐฉานมากกวาจะรูสึกวาตนเปนประชาชนของรัฐพมา<br />

3.2.1 นโยบายแบงแยกและปกครองของอังกฤษในพมา<br />

การเขามาของอังกฤษในรัฐพมาแบงออกเปน 3 ชวงดวยกัน คือ ป พ.ศ. 2369 พ.ศ. 2395<br />

และ พ.ศ. 2429 โดยในระยะแรกเปนการเขามาแทรกแซงพมาในนามของบริษัทอินดิสตอินเดีย<br />

(East India Company) จนกระทั้งกลายมาเปนการแผอิทธิพลของรัฐบาลอังกฤษในป พ.ศ. 2401<br />

ในชวงแรกบริษัทอิสตอินเดียไดชัยชนะและครอบครองพื้นที่ 2 สวนใหญๆ ของพมา คือ ยะไข<br />

(Arakan) และตะนาวศรี (Tennasserim) ตอมาพื้นที่ทั้ง 2 สวนนี้ถูกผนวกเขากับพะโค (Pegu) ในป<br />

พ.ศ. 2395 ในระยะแรกนี้แตละเขตยังถูกแยกสวนจากกัน จนกระทั่งป พ.ศ. 2429 อังกฤษไดชัยชนะ<br />

เหนือพมาตอนบน (Upper Burma) และไดรวบรวมสวนตางๆ ของพมาเขาเปนมณฑลเดียวของ<br />

อินเดียตั้งแตนั้นมา<br />

เมื่ออังกฤษผนวกพมาเขาเปนมณฑลหนึ่งของอินเดีย อังกฤษก็ใชระบบการปกครองที่<br />

ใชในอินเดียมาใชกับประเทศพมาดวย โดยการยกเลิกการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชยโดย<br />

พระมหากษัตริยและราชสํานัก ซึ่งปกครองพมาเปนระยะเวลาชานาน พรอมทั้งแตงตั้งขาหลวงใหญ<br />

จากอินเดียมาปกครองพมา และนําขาราชการฝายปกครองจากอินเดียเขามาบริหารรัฐพมาแทน<br />

ขาราชการในราชสํานักดั้งเดิม<br />

อังกฤษไดแบงพมาออกเปน 2 สวน คือ พมาแท (proper Burma) และสวนบริเวณภูเขา<br />

(hill areas) หรือเขตชายแดน (frontier areas) ในสวนของพมาแทไดรวบรวมดินแดนบางสวนใน<br />

อาระกันและมอญเขาไวดวย ซึ่งในสวนนี้อังกฤษใชวิธีการปกครองโดยตรง (direct rule) และ<br />

ปกครองบริเวณภูเขาโดยออม (indirect rule) โดยยังคงปลอยใหผูปกครองเผาหรือแวนแควนที่เคย<br />

ปกครองกันมาแตดั้งเดิมปกครองตอไป แตใหอยูภายใตการดูแลและคําแนะนําของผูบริหารชาว


56<br />

อังกฤษ บริเวณสวนนี้ไดแก ไทใหญ คะฉิ่น คะเรนนี (คะยาห) เทือกเขาคะฉิ่น (Chin Hill) และ<br />

กะเหรี่ยง ในบริเวณแมน้ําสาละวิน บางสวนของอาระกัน และเทือกเขานากา (Naga Hill)<br />

ในขณะที่การปกครองในสวนของพมาแท มีวิวัฒนาการของรูปแบบการปกครอง<br />

ในระบบประชาธิปไตยซึ่งเปนระบบใหมที่แนะนําโดยอังกฤษ และมีพัฒนาการเติบโตไปตาม<br />

ครรลองภายใตการดูแลและควบคุมของรัฐบาลอังกฤษ การปกครองในสวนของบริเวณภูเขาซึ่ง<br />

ภายหลังอังกฤษเรียกวา บริเวณชายแดน (frontier areas) กลับยังคงอยูในระบบเดิม และถูกมองวา<br />

เปนเขตลาหลัง (backward areas) อังกฤษไมคอยใหความสนใจเทาใดนัก การปกครองของแควน<br />

ตางๆ ยังอยูภายใตการปกครองของผูปกครองดั้งเดิม และภายใตการแนะนําหางๆ ของขาหลวงใหญ<br />

และขาราชการทองถิ่นซึ่งสังกัดหนวยงานที่มีหนาที่ดูแลโดยตรง คือ Burma Frontier Service<br />

แมแตภายใตการปกครองโดยออม (indirect rule) ในบริเวณภูเขาหรือบริเวณชายแดน<br />

ผูปกครองอังกฤษไดใชวิธีการปกครองในเขตนี้เชนกัน ซึ่งไดกอใหเกิดความ “แตกแยก” หรือ<br />

บางครั้ง “ลักลั่น” กลาวคือ ในสวนที่เปนแควนตางๆ ของรัฐฉานซึ่งอังกฤษถือวามีระบบ<br />

การปกครองที่มีพัฒนาการเหนือกวาชนชั้นกวาชนกลุมนอยกลุมอื่นๆ ผูปกครองอังกฤษไดจัดตั้ง<br />

เปน “สหพันธรัฐฉาน” ขึ้น มีสภานิติบัญญัติประกอบไปดวย เจาฟาผูครองแควนหรือเจาเมืองแตละ<br />

แควนเปนสมาชิกและมีขาหลวงชาวอังกฤษเปนประธานสภาฯ สภานี้จะทําหนาที่อภิปรายและ<br />

แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจการภายในสหพันธรัฐฉาน ตอมายังไดจัดตั้งคณะกรรมการสามัญ<br />

ประจําสภา (Standing Committee) เพื่อมาทําหนาที่ประสานงานติดตอโดยตรงกันกับขาหลวงใน<br />

กิจการที่เกี่ยวกับรัฐฉานโดยตรง 3 ดังนั้นจึงเทากับอังกฤษยกระดับการปกครองของรัฐฉานขึ้นมาให<br />

อยูเหนือการปกครองสวนอื่นๆ ของบริเวณชายแดนอีกขั้นหนึ่ง<br />

นโยบายการปกครองของอังกฤษนี้จึงถูกเรียกวา นโยบายการแบงแยกและปกครอง<br />

(divide and rule) ดังจะเห็นไดจากการที่อังกฤษแยกสวนของพมาแทออกจากสวนที่เปนบริเวณภูเขา<br />

หรือบริเวณชายแดน ซึ่งตามสภาพภูมิศาสตรและประวัติศาสตรแลว สองสวนนี้ก็แทบจะไมมี<br />

ความสัมพันธกันอยูแลว อันเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศ แตนโยบายการปกครองของอังกฤษทํา<br />

ใหโอกาสที่ทั้งสองสวนนี้ของพมาจะเขามารวมอยูภายใตการบริหารงานของคณะบริหารชุด<br />

เดียวกัน และมีวิวัฒนาการทางการเมืองไปพรอมๆกันหมดสิ้นไป ดังนั้น เราจึงเห็นภาพของรัฐพมา<br />

ที่ถูกแบงออกเปนสองสวนใหญที่มีการปกครองแตกตางกัน นอกจากนั้น ภายในสองสวนใหญยัง<br />

ถูกซอยยอยใหมีความแตกตางกันไปอีก ดังกรณีของแควนตางๆ ภายในรัฐฉาน ซึ่งไดรับการ<br />

ยกระดับขึ้นมาอยูเหนือสวนอื่นๆ ของบริเวณชายแดน พรอมทั้งมีระบบสถาบันทางการเมือง เชน<br />

สภานิติบัญญัติ และคณะกรรมการสามัญประจําสภา ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากผูปกครองของอังกฤษ<br />

3 Josef Silverstein, Burma Politics, (New Jersey : Rutgers University Press,1980), p.30


57<br />

และไดรับการสนับสนุนใหมีพัฒนาการทางการเมืองไมนอยหนาสถาบันทางการเมืองในสวนที่เปน<br />

พมาแท ในขณะที่สวนอื่นๆ ของบริเวณชายแดนยังคงอยูภายใตการปกครองระบบดั้งเดิมของชนเผา<br />

ตนเอง<br />

3.2.2 ไทใหญ: รัฐอารักขาของอังกฤษ<br />

เมื่ออังกฤษแผอิทธิพลเขามาในพมา ชวงสงคราม Anglo-Burmese ครั้งที่ 3 อังกฤษได<br />

รุกเขาสูดินแดนชายขอบของพมาบริเวณรัฐฉานและรัฐอื่นๆ ในบริเวณเทือกเขาสูง นโยบาย<br />

ของอังกฤษนั้นตองการผนวกบริเวณชายแดนนี้เขาเปนสวนหนึ่งของอังกฤษกอน ทั้งยังเปน<br />

ความพยายามอีกประการหนึ่งในการที่จะหาเสนทางเขาสูจีน สําหรับไทใหญนั้น อังกฤษได<br />

วางแผนการดําเนินนโยบายไว 5 ประการ 4 คือ<br />

1. เพื่อบังคับใหชาวไทใหญยอมรับอํานาจการปกครองของอังกฤษ<br />

2. เพื่อเสริมสรางและรักษาความสงบในบริเวณรัฐฉาน<br />

3. หลีกเลี่ยงหรือแทรกแซงกิจการภายในรัฐฉานใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได<br />

4. เปดเสนทางการคาในบริเวณรัฐฉานอีกครั้งหนึ่ง<br />

5. ประหยัดงบประมาณและกําลังคนในการปกครองรัฐฉานโดยการปกครองทางออม<br />

พรอมกันนั้นก็ไดมอบใหขาหลวงชาวอังกฤษดูแลบริเวณนี้โดยตรง และใหขึ้นตรงกับ<br />

อังกฤษที่ยางกุง ระบบการปกครองที่เปนอิสระนี้อนุญาตใหบรรดาเจาฟาสามารถบริหารแควนของ<br />

ตนเองไดเหมือนเดิม ไมวาจะเปนการบริหารการปกครอง การตัดสินคดีความ รวมไปถึงการจัดการ<br />

กับกิจการตางๆ อันจะมีผลตอการแทรกแซงทางการเมืองภายในแควนตางๆ ขึ้นรวมเปน “สหพันธ<br />

รัฐฉาน” (Federation of Shan State) และจัดตั้งสภาผูนําแหงสหพันธรัฐฉาน (Federation Council of<br />

Shan Chiefs) ซึ่งประกอบไปดวยเจาฟาแวนแควนตางๆ เพื่อทําหนาที่ดูแลเรื่องกิจการภายในรัฐฉาน<br />

รวมทั้งการใชงบประมาณดวย<br />

4 Josef Silverstein,Burma Politics, (New Jersey : Rutgers University Press, 1980),p.29.


58<br />

3.2.3 อังกฤษ พมา และไทใหญ: ความลมเหลวของการแบงแยกและปกครอง<br />

พมาในสมัยการปกครองของอังกฤษนั้นไมไดรับการสงเสริม ใหมีการรวมตัวเปนชาติ<br />

แตอยางใด เมื่ออังกฤษเขามาปกครองพมาอยางเต็มที่ในป พ.ศ. 2429 อังกฤษก็ใชนโยบายแบงแยก<br />

และปกครอง(devide and rule) คือ การแยกสวนพมาจากสวนกลาง (Proper Burma) และชายแดน<br />

(Frotier Areas) ออกจากกัน และปรับใชระบบการปกครองที่มีอยูในขณะนั้น คือปลอยใหแควน<br />

ตางๆ บริเวณชายแดนยังคงการปกครองระบบดั้งเดิมของตนไวภายใตการควบคุมดูแลของขาหลวง<br />

ใหญชาวอังกฤษ ในขณะที่ปกครองดูแลและบริหารงานในสวนที่เปนพมาแทโดยตรงโดยใชระบบ<br />

สองสภา กลาวโดยยอไดวา ในนโยบายการปกครองของชาวอังกฤษสมัยอาณานิคมนี้เองที่ไดทําให<br />

โอกาสการรวมตัวของชนเผาตางๆ ของรัฐพมาเกิดขึ้นไดยาก นอกจากจะเกิดขึ้นไดยากแลว<br />

ยังกอใหเกิดปญหาขัดแยงขึ้นตามมาอีกหลายประการดวย<br />

อังกฤษใหอิสรภาพแกพมาในป ค.ศ. 1948 แตกอนที่อังกฤษจะออกจากพมา อังกฤษก็<br />

ไดทิ้งปญหาความขัดแยงระหวางชนเผาตางๆ ของพมาไวใหเปนภาระของรัฐบาลในสมัยตอมา<br />

ซึ่งรัฐบาลพมาตั้งแตป ค.ศ. 1948 จวบจนรัฐบาลสมัยปจจุบันลวนตางก็มีปญหาชนกลุมนอยตรงกัน<br />

คือความพยายามที่จะรวมรัฐชนกลุมนอยเขาไวอยูในสหพันธรัฐพมา แมวาจะมีความตางในเรื่อง<br />

ของรายละเอียดอยูบาง ซึ่งก็ขึ้นอยูกับทัศนคติของผูนําของรัฐบาลตอปญหาชนกลุมนอยในแตละ<br />

ชวง แตนโยบายหลักยังคงเหมือนเดิม คือ คงความเปนเอกภาพของสหพันธรัฐพมาเอาไว (พรพิมล<br />

ตรีโชติ, 2542: 56)<br />

Mary Callahand นักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานการเมืองของพมา ตั้งขอสังเกตไววา<br />

“เนื่องจากรัฐบาลเกิดขึ้นทามกลางความขัดแยงระหวางองคกรทางการเมืองของกลุมตาง ๆ ในสวน<br />

ตาง ๆ ของประเทศที่ตางก็ปฏิเสธอํานาจบริหารของรัฐบาลกลาง อีกทั้งการเจรจาหรือกระบวนการ<br />

ในการแสวงหาฉันทานุมัติรวมกันก็เปนไปไดยากในชวงของสถานการณการทําสงคราม ทําให<br />

รัฐบาลพมาไมเคยพัฒนากลไกใด ๆ ในการรับมือหรือหาขอตกลงของความขัดแยงทางแนวคิด<br />

ทางการเมือง วิสัยทัศน และเปาหมายทางการเมืองระหวางกันไดเลย” 5 ดังนั้นจึงเปนเรื่องไมแปลก<br />

ที่กลไกเดียว หรือยุทธศาสตรเดียวที่รัฐบาลพมาใชในการแกไขความขัดแยงทางการเมืองคือการใช<br />

ปฏิบัติการทางทหารผานทางกองทัพพมา<br />

5 Mary P.Callahan, “On time Warps and Warped Time : Lessons from Burma’s Democratic Era” in Burma :<br />

Perspective for a Democratic Era (Washington D.C. : Broooking Institution Press, 1998), p. 53.


59<br />

ความสัมพันธของประชากรกลุมนอยตออํานาจรัฐพมาจากสวนกลาง จึงมีนอยมากหรือ<br />

แทบจะไมมีเลย ในขณะที่ความสัมพันธระหวางประชาชนกับผูนําทองถิ่นประจําแควนหรือ<br />

ชาติพันธุของตนเองจะมีสูงกวา ดังนั้น ความสํานึกในความเปนสมาชิกของกลุมชาติพันธุและ<br />

ความผูกพันกับผูนําทองถิ่นจึงมีสูงกวาสํานึกในการเปนสมาชิกของรัฐพมาโดยรวม ซึ่งอาจกลาวได<br />

วาแทบจะเปนศูนย และนี่เปนสาเหตุของปญหาการสรางชาติของพมาในสมัยหลังอาณานิคม<br />

ดังนั้น พมาภายใตการปกครองของอังกฤษจึงไมมีความเปนเอกภาพทางดานการเมือง<br />

ทั้งนี้อันเนื่องมาจากนโยบายการปกครองของอังกฤษนั่นเอง นอกจากจะไมมีความเปนเอกภาพและ<br />

ไมมีความเสมอภาคทางดานการเมืองการปกครองแลว ยังไมมีความเปนเอกภาพางดานเศรษฐกิจ<br />

และสังคมอีกดวย ทั้งนี้เพราะอังกฤษใหความสนใจแกพมาแทมากกวาสวนที่เปนบริเวณชายแดน<br />

อังกฤษไดทุมเทความเจริญทางดานการศึกษาและโครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภค ในบริเวณพมา<br />

แท จึงทําใหบริเวณชายแดนถูกทิ้งใหมีวิถีชีวิตไปตามครรลองดั้งเดิมของจารีตและวัฒนธรรม<br />

ทางการเมือง การศึกษา สาธารณสุข และเศรษฐกิจเทาเทียมกับสังคมชาวพมาในเขตพมาแทไดรับ<br />

การปกครองแบบนี้กอใหเกิดความแตกราวในระหวางประชากรของรัฐเดียวกัน และ<br />

กอใหเกิดสภาวะการของการเปนศัตรูกันและกันดวย เพราะในสภาวการณที่อังกฤษใชทหารที่เปน<br />

กลุมชาติพันธุปราบปรามชาวพมาที่พยายามตอสูกับอังกฤษนั้น เทากับการแบงแยกชาวพมาออก<br />

จากกลุมชาติพันธุ ทําใหชาวพมารังเกียจและถึงขั้นเกลียดชังกลุมชาติพันธุในฐานะที่เปนฝาย<br />

เดียวกันกับอังกฤษ และยอมที่จะเปนทาสรับใชชาวอังกฤษ แทนที่จะมาเขาใจชาวพมาและชวยกัน<br />

รบกับอังกฤษ สํานึกของความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันของคนในชาติไมอาจเกิดขึ้นภายใตเงื่อนไข<br />

การปกครองของอังกฤษ ตรงกันขามกับนโยบายการปกครองของอังกฤษกลับไดอนุรักษความ<br />

แปลกแยกระหวางประชากรกลุมตางๆ ของพมาเอาไวมากกวาที่จะทําใหมันลดลง<br />

ดังนั้น เมื่อชาวพมากลุมหนึ่งไดพัฒนาจิตสํานึกของความเปน “ชาติ” และ “ชาตินิยม”<br />

ในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง พัฒนาการทางดานความคิดนี้จึงมิไดเปน “สํานึกรวม” ของประชากร<br />

สวนใหญของรัฐพมา อีกทั้งขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อใหไดมาซึ่งอิสรภาพจากการเปนอาณานิคม<br />

ของอังกฤษ ก็มิไดรับความรวมมือจากทุกชุมชนและทุกสังคมในรัฐ คงเปนความพยายามของ<br />

ชาวพมาแทเพียงกลุมเดียวเทานั้น ในขณะเดียวกัน ชนกลุมนอยที่ยังคงภักดีตอผูปกครองชาวอังกฤษ<br />

ก็ยังคงมีอยู อาทิเชน กลุมไทใหญ ที่มีความผูกพันกับอังกฤษมากกวารัฐบาลพมา


3.3 ไทใหญ: เหยื่อของนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization)<br />

60<br />

กลุมชาติพันธุไทใหญถือเปนกลุมที่มีประชากรมากเปนอันดับสองรองจากพมา และ<br />

ถือวาตนเองมีประวัติศาสตรที่มาคนละชุดกับรัฐพมา การเคลื่อนไหวตอสูเพื่อเอกราชของ<br />

ชาวไทใหญซึ่งดําเนินตอเนื่องมาหลายศตวรรษนั้นไดใชขออางความชอบธรรมจากประวัติศาสตร<br />

ของระบอบการปกครองแบบเจาฟาของไทใหญ ซึ่งปกครองเมืองตางๆ ในไทใหญโดยเปนเอกเทศ<br />

จากพมาในยุคจักรวรรดินิยมอังกฤษระบอบการปกครองดังกลาวไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ<br />

โดยอังกฤษไดใหไทใหญปกครองในฐานะสหพันธรัฐไทใหญ (Federated Shan States)<br />

รัฐฉานมีอิสระในการปกครองตนเองภายใตการปกครองของอังกฤษสืบมาจนถึง<br />

สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ในชวงนี้เองรัฐฉานที่เคยสงบตองเผชิญหนากับกองทัพในรูปแบบ<br />

ตางๆกัน นับตั้งแตกองทัพญี่ปุนที่เขามาปฏิบัติการในพมาและรัฐฉาน กองกําลังของอังกฤษ<br />

กองกําลังของพมา และกองกําลังของกองทัพจีน ซึ่งเขามาควบคุมและปองกัน “ถนนพมา” (Burma<br />

Road) ที่เชื่อมระหวางยางกุงและคุนหมิง ผานมัณฑะเลย ลาเชี่ยว แสนหวี หวั่นติง (ปางสาง) เช ฟง<br />

เปาซาน และตาลีฟู กองกําลังตางๆเหลานี้ใชรัฐฉานเปนสมรภูมิของการสูรบ ทําใหบานเมือง<br />

ตองบอบช้ํามาก สิ่งกอสรางตาง ๆ ถูกทําลายเหลือไวเพียงแตซากเถาถาน สะพานและถนนหนทาง<br />

ถูกทําลาย ทหารญี่ปุนสามารถควบคุมเมืองยุทธศาสตรและยุทธภูมิสําคัญไวไดหลายแหงในป<br />

พ.ศ.2485 ขณะที่กองทัพอากาศของฝายพันธมิตรก็ใชกําลังกดดันกองทัพญี่ปุนอกจากนี้<br />

ยังมีเจาหนาที่จากหนวยราชการทั้งทีเปนชาวไทใหญ คะฉิ่น กะเหรี่ยง และพมา ตางก็โดดรมเขามา<br />

เพื่อการจารกรรมในรัฐฉาน 6<br />

ผลจากการสูรบทําใหประชาชนในรัฐฉานพากันละทิ้งบานชองหนีสงครามทิ้งบาน<br />

ทิ้งเมืองเพื่อหลบหนีเขาไปอยูในปา ไมมีเวลาทํามาหากิน ทําใหเกิดสภาพแรนแคนทั่วรัฐฉาน<br />

ในขณะเดียวกัน กองทัพญี่ปุนก็ไดหวานลอมปลุกระดมชาวไทใหญใหรวมมือกับญี่ปุน<br />

เพื่อสนับสนุนแนวความคิดที่วา “เอเชียเพื่อชาวเอเชีย” ในขณะที่กองทัพของฝายพันธมิตร<br />

ก็ชูประเด็น “อิสรภาพและประชาธิปไตย” ทั้งสองฝายตางปลุกเราใหชาวไทใหญตอสูเพื่อพิทักษ<br />

“แผนดินแม” ของตนไว สถานการณอยางนี้ไดจุดประกายความรักชาติ รักแผนดิน ใหเกิดขึ้น<br />

ในหมูของชาวไทใหญ ประชาชนชาวไทใหญ อีกทั้งชนกลุมนอยตางๆ ไมวาจะเปนชาวคะฉิ่น ฉิ่น<br />

6 Chao Tzang Yawnghwe,The Shan of Burma : Memoirs of a Shan Exile, (Singapore : Institute of Southeast Asian<br />

Studies,1987),pp. 83-84.


61<br />

หรือกะเหรี่ยง ใหตระหนักถึงอันตรายในการมอบอนาคตแผนดินแมของตัวอยูในอํานาจการ<br />

ตัดสินใจของผูอื่น โดยตนเองไมมีสวนในการตัดสินใจรวมเลย 7<br />

3.3.1 "ลิ๊กโหมหมายปางโหลง": สัจจะของคนไทใหญ<br />

" เมืองแหงอิสรภาพของชาวไทยใหญตามขอตกลงปางโหลง<br />

มอบใหสัญญากันไวเปนมั่นเหมาะ<br />

แลวกลับคํากันไดหรือไร<br />

ใครทรยศก็รูแกใจ<br />

ไมใชชาวไทยใหญแนนอน<br />

ความจริงใจของเรายอมประจักษ<br />

สัญญาปางโหลงที่ใหนั้น<br />

จากไปพลันกับออง ซานฤๅไฉน" 8<br />

ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ป พ.ศ. 2490 อังกฤษและสหรัฐฯ ไดจัดทําขอตกลง<br />

“Atlantic Charter” ที่ระบุวาเมื่อสงครามโลกยุติลง ทั้งอังกฤษและสหรัฐฯ จะคืนเอกราชใหกับ<br />

ประเทศตาง ๆ ที่เปนอาณานิคม พรอมทั้งสงเสริมใหประเทศเหลานั้นจัดตั้งรัฐบาลเพื่อปกครอง<br />

ตนเอง สําหรับกรณีพมา ซึ่งเปนอาณานิคมของอังกฤษและแบงการปกครองออกเปน 2 สวน<br />

อังกฤษมีความเห็นวาถาพมาตองการไดรับเอกราชจากอังกฤษ ก็ควรจะรวมการปกครองใหเปนหนึ่ง<br />

เดียวเสียกอน เพื่อจะไดเจรจาขอเปนเอกราชจากอังกฤษได เขตพมาแทจึงชักชวนเขตภูเขาใหมา<br />

รวมตัวเปนประเทศเดียวกันเปนการชั่วคราว<br />

อยางไรก็ตาม เพื่อประโยชนของความรวมมือกับรัฐบาลพมา โดยการประสานงานของ<br />

นายพลออง ซาน ที่เรียกรองและขอความรวมมือจากเจาฟารัฐฉาน ผูนําของฉิ่น คะฉิ่นและคะยาห<br />

ในการรวมตัวเพื่อความเปนเอกภาพของสหภาพพมา ที่จะประกาศตนเปนอิสระจากการเปน<br />

ขาอาณานิคมของอังกฤษตามขอตกลงในการประชุมปางโหลง (Palong Agreement) โดยไดลงนาม<br />

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ ค.ศ. 1947 ระหวางตัวแทนชาวพมาแทและสภาผูนํารวมสหพันธรัฐเทือกเขา<br />

(Supreme Council of the United Hill People: S.C.O.U.H.P.) ที่เมืองปางโหลง รัฐฉาน<br />

ซึ่งประกอบดวยตัวแทนจากรัฐชาน รัฐกะฉิ่น และรัฐชิน จํานวน 23 คน ที่ตกลงจะรวมมือกันจัดตั้ง<br />

7 (Ibid., p. 84).<br />

8 สาละวินโพสต ฉบับที่ 27 (16 พฤศจิกายน - 31ธันวาคม 2548).


62<br />

รัฐบาลเฉพาะกาลขึ้นเพื่อเรียกรองเอกราชจากอังกฤษเทานั้น ซึ่งเจาฟารัฐฉานก็ยอมอยูภายใต<br />

การปกครองของรัฐบาลกลางที่ยางกุง<br />

ขอตกลงปางโหลงไดรับการบันทึกในรัฐธรรมนูญพมาฉบับป พ.ศ. 2490 ที่ใหสิทธิ<br />

พิเศษแกรัฐบาลชนกลุมนอยที่เขารวมประชุม คือ รัฐฉาน คะยาห รัฐคะฉิ่น และฉิ่น ใหสามารถ<br />

แยกตัวเปนอิสระหลังการรวมตัวอยูภายใตสหภาพพมาครบ 10 ป เงื่อนไขนี้ไดรับการรับรองจาก<br />

รัฐบาลพมาและรัฐธรรมนูญการปกครองพมา สําหรับรัฐอื่นๆ ที่ไมไดเขารวมลงนามในสัญญาปาง<br />

โหลง เนื่องจากยังมีขอกังขาเรื่องความจริงใจของรัฐบาลพมาในการใหอิสระแกรัฐในภายหลัง<br />

โดยเฉพาะรัฐกะเหรี่ยง<br />

ทั้งนี้ สาระสําคัญของสัญญาปางโหลงไดระบุขอตกลงไว 9 ประการ อาทิ ตัวแทนของ<br />

สภา S.C.O.U.H.P. สามารถดํารงตําแหนงรัฐมนตรีที่ปรึกษาในคณะรัฐบาลพมาได 1 ตําแหนง<br />

โดยสหพันธรัฐเทือกเขามีสิทธิปกครองตนเองอยางอิสระ และสหพันธรัฐเทือกเขาตองมี<br />

สิทธิเสรีภาพเทาเทียมกับพมาแททุกประการ เปนตน 9<br />

หลังจากพมารวมประเทศเปนหนึ่งเดียวแลว พมาไดจัดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาใน<br />

เดือนเมษายน พ.ศ. 2490 เพื่อทําหนาที่รางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของพมา โดยไดบรรจุเรื่องสิทธิการ<br />

แยกตัวของรัฐตาง ๆ ที่รวมลงนามในขอตกลงในสัญญาปางโหลงไวในรัฐธรรมนูญดวย<br />

9 http://www.exim.go.th/doc/research/targeted_country/6921.pdf.


63<br />

รูปภาพที่ 3.1 สนธิสัญญาปางโหลง<br />

10<br />

10 http://www.shanland.org/resources/history/panglong_agreement.htm/.


64<br />

ผลการเลือกตั้งปรากฏวานายอองซาน ผูกอตั้งองคกรสันนิบาตเสรีภาพตอตานฟาสซิสต<br />

แหงมวลชน (the Anti-Fascist People's Freedom League: AFPFL) ไดรับชัยชนะอยางทวมทนและ<br />

ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2490<br />

ขณะที่นายอองซานและคณะรัฐมนตรีกําลังประชุมเพื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวอยู ไดมี<br />

คนรายลอบบุกเขาสังหาร สงผลใหนายอองซานและรัฐมนตรีอีก 6 คน เสียชีวิต นายอูนุ สมาชิกใน<br />

กลุม AFPFL ไดเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรีตอจากนั้นดวยการสนับสนุนของอังกฤษ<br />

เมื่อรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวเสร็จสมบรูณและประกาศใชอยางเปนทางการในวันที่ 24 กันยายน<br />

พ.ศ. 2490 อังกฤษจึงไดใหเอกราชแกพมาเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491<br />

ในชวงสิบปแรกของการอยูรวมกันระหวางรัฐฉานและรัฐบาลพมานับตั้งแตพมา<br />

ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษในป พ.ศ. 2491 เปนตนมา ผูนํารัฐฉานตางใหความรวมมืออันดีใน<br />

การปกครองและบริหารประเทศรวมกันกับรัฐบาลพมา แมวาในระยะเวลาเดียวกันนี้จะเกิดการตอสู<br />

ทางการเมืองระหวางรัฐบาลกลางของพมาและพรรคคอมมิวนิสตพมา อีกทั้งองคกรเคลื่อนไหว<br />

ทางการเมืองของกะเหรี่ยงและมอญ แตชาวไทใหญก็ยังคงใหคงใหความรวมมือและมั่นคงอยูกับ<br />

รัฐบาลของพมาจนถึงชวงปลาย พ.ศ. 2493<br />

หลังไดรับเอกราชความสัมพันธระหวางพมาแทและรัฐตางๆ เปนไปอยางไมราบรื่นนัก<br />

โดยรัฐบาลพมาพยายามจะคุมอํานาจเหนือรัฐตาง ๆ รวมถึงรัฐที่ไมไดเขารวมเจรจาใน<br />

สัญญาปางโหลงดวย สงผลใหรัฐบาลพมาตองเผชิญกับกลุมกบฏตาง ๆ อาทิ กลุมกะเหรี่ยง (หรือที่<br />

มักเรียกวา กะหยิ่น) ซึ่งเปนกลุมที่ตอตานการเขารวมลงนามในสัญญาปางโหลงกับเขตพมาแท<br />

มาตั้งแตตน จนกระทั่งป พ.ศ. 2501 ซึ่งครบ 10 ป ที่พมาไดรับเอกราชจากอังกฤษ รัฐตางๆ จึงขอ<br />

แยกตัวเปนอิสระตามขอตกลงในสัญญาปางโหลง แตรัฐบาลกลางพมาภายใตการนําของนายอูนุ<br />

กลับไมยอมใหเปน ไปตามขอตกลง เนื่องจากกลัววาจะสูญเสียรายไดจํานวนมากที่ไดจาก<br />

ทรัพยากรธรรมชาติในดินแดนของรัฐตางๆ ซึ่งอุดมไปดวยอัญมณี หยก แรธาตุ กาซธรรมชาติ และ<br />

น้ํามัน<br />

ขณะที่ในเขตพมาแทแทบไมมีทรัพยากรใด ๆ สงผลใหรัฐตางๆ ไมพอใจและตอตาน<br />

การกระทําของรัฐบาลพมาอยางหนัก ความขัดแยงระหวางรัฐบาลพมากับกลุมผูตอตานไดดําเนินมา<br />

อยางตอเนื่อง จนกระทั่งวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 ประชาชนในรัฐชานและรัฐกะยาไดกอเหตุ<br />

ประทวงเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลพมาใหอิสระในการปกครองตนเอง สงผลใหนายพลเนวิน<br />

ซึ่งขณะนั้น ดํารงตําแหนงผูบัญชาการทหารบกของพมา ใชเหตุการณดังกลาวเปนขออางในการทํา<br />

รัฐประหารยึดอํานาจจากนายอูนุ และประกาศยุบสภา รวมทั้งยกเลิกการใชรัฐธรรมนูญฉบับป<br />

พ.ศ. 2490 สงผลใหสัญญาปางโหลงกลายเปนโมฆะไป


65<br />

ตอมาความไมสงบในรัฐฉานนั้นเกิดขึ้นเพราะรัฐบาลกลางของพมาพยายามจะแผ<br />

อํานาจเขาไปครอบงําเหนือผูนํารัฐฉานทั้งหลาย นโยบายในการบริหารและปกครองรัฐฉานถูก<br />

กําหนดโดยรัฐบาลกลางจากยางกุง นักการเมืองพมาใชอิทธิพลครอบงํานักการเมืองไทใหญ จนผูนํา<br />

รัฐฉานแทบจะไมมีสิทธิมีสวนรวมในการปกครองและบริหารประเทศแตอยางไร<br />

สาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งที่รัฐฉานตองการแยกตนเปนอิสระจากการปกครองของ<br />

พมานั้น เพราะพมาตองการที่จะยึดอํานาจการปกครองของรัฐฉานและถายโอนอํานาจของบรรดา<br />

เจาฟาทั้งหลายใหเขาสูอํานาจสวนกลางของรัฐบาลกลางที่ยางกุง นอกจากนี้ รัฐบาลพมายังได<br />

พยายามที่จะเขาไปแทรกแซงในกิจการภายในของรัฐฉานอยูตลอดเวลา ในชวงป พ.ศ. 2492<br />

เมื่อกองทหารกะเหรี่ยงกลุมกองกําลังปองกันชาติกะเหรี่ยง (Karen National Defense Organization<br />

- KNDO) ไดแผอิทธิพลเขาไปในรัฐฉานและยึดเมืองตองยีไวในอํานาจ รัฐบาลพมาไดสงกองทัพ<br />

เขาไปปราบกลุมกะเหรี่ยง และถือโอกาสปกหลักที่เมืองตองยีเพื่อใหความคุมครองประชาชน<br />

ในรัฐฉาน แตกองทัพพมาไดทําหนาที่มากกวาหนาที่คุมครองความปลอดภัย คือไดพยายาม<br />

เขาแทรกแซงในกิจการของรัฐฉานทั้งดานการเมืองและสังคม จนกอใหเกิดความระแวงจากบรรดา<br />

เจาฟาและเปนที่หวาดกลัวของชาวไทใหญ<br />

นอกจากความพยายามเขาแทรกแซงในกิจการภายในรัฐฉานแลว รัฐบาลกลางของพมา<br />

ยังไดพยายามที่จะทําลายโครงสรางการปกครองดั้งเดิมของรัฐ คือ ระบบเจาฟาอีกดวย ในป<br />

พ.ศ. 2495 รัฐบาลไดแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งชื่อ คณะกรรมการสอบสวนการปกครอง<br />

รัฐฉาน (The States Administrative Enquiry Commission) เพื่อหยั่งเสียงประชาชนชาวไทใหญวา<br />

ยังคงเห็นชอบคิดวาอยากจะไดระบบการปกครองชนิดใดมาแทนที่ แตแลวคระกรรมการก็ถูก<br />

ลมเลิกไป ตอมารัฐบาลไดเสนอใหบรรดาเจาฟายกเลิกฐานันดรในฐานะเจาผูครองแควนและยกเลิก<br />

สิทธิในการปกครองแควนตามที่ไดระบุไวในรัฐธรรมนูญ ซึ่งในที่สุดบรรดาเจาฟาแควนตางๆ<br />

ของรัฐฉานก็จําตองยินยอมลงนามในขอตกลงกับรัฐบาลพมายกเลิกฐานันดรและสิทธิ<br />

ในการปกครองและนิติบัญญัติ เพื่อแลกกับคาตอบแทนซึ่งรัฐบาลจัดสรรใหในป พ.ศ. 2502 11<br />

ปญหาความวุนวายภายในรัฐฉานอีกประการหนึ่ง ที่ทําใหรัฐบาลพมาสงกองกําลังทหาร<br />

เขามาสูรัฐฉานเกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อกองกําลังจีนคณะชาติหรือกกมินตั๋งซึ่งตอสู<br />

กับจีนคอมมิวนิสตในแผนดินใหญไดถอยรนเขามาสูรัฐฉาน และใชรัฐฉานเปนฐานที่หลบพักกอน<br />

จะเขาไปโจมตีกองทหารจีนคอมมิวนิสต เมืองตางๆ ที่กองกําลังกกมินตั๋งเขาไปพํานักในรัฐฉาน<br />

ไดแก โกกัง (Kokang) เวียงงุน (Ving Ngun) เมิงเลิน (Muang Loen) เมืองชู (Muang Hsu) และที่เคย<br />

ครอบครองไปถึงทาขี้เหล็ก ซึ่งเปนเมืองชายแดนติดกับอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย<br />

11 Silverstein, Burma Politics, p. 215


66<br />

เพื่อเปนการยับยั้งการปฏิบัติการของกองกําลังกกมินตั๋ง รัฐบาลพมาจึงไดสงทหารเขามา<br />

ในรัฐฉานเพื่อขับไลกองกําลังกกมินตั๋ง และตองตอสูกับกองกําลังของพรรคคอมมิวนิสตพมา ซึ่งมี<br />

ฐานปฏิบัติการอยูในรัฐฉานบริเวณรอยตอชายแดนจีน-พมา ความบังเอิญทางดานการเมืองระหวาง<br />

ประเทศในครั้งนี้เปดโอกาสใหรัฐบาลพมาสงกองทัพเขามาประจําในรัฐฉาน สงผลใหดินแดนของ<br />

รัฐฉานถูกทหารของกองทัพพมาเขาควบคุมพื้นที่<br />

ดินแดนรัฐฉานในชวงพ.ศ. 2493 จึงวุนวายและปกคลุมไปดวยกลิ่นอายของการสูรบอีก<br />

ครั้ง ไมผิดจากชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ในครั้งนี้ดินแดนรัฐฉานมีกองกําลังของพรรคคอมมิวนิสต<br />

พมา กองกําลังกกมินตั๋งซึ่งสูรบกับกองทัพทหารพมา และกองกําลังของชนกลุมนอยซึ่งเคลื่อนไหว<br />

เพื่อตอตานอํานาจรัฐพมา เชน กองกําลังของกลุมปะที่เคลื่อนไหวตอสูกับรัฐบาลพมา รวมกับกลุม<br />

เคลื่อนไหวทางการเมืองของกะเหรี่ยงกลุมกองกําลังปองกันชนชาติกะเหรี่ยง (Karen National<br />

Defense Organization – KNDO) ในบริเวณตอนใตของรัฐฉาน กองกําลังของทหารคะฉิ่น<br />

ซึ่งแยกตัวอยูภายใตการนําของรอยเอกนอ แสง (Captain Naw Seng) ซึ่งแยกตัวออกมาจาก<br />

กองทัพพมา<br />

สถานการณรัฐฉานในยุคนี้จึงตอกย้ําความชอบธรรมของพมาในการที่จะคงกองกําลัง<br />

ทหารไวที่รัฐฉาน แมวากองกําลังกกมินตั๋งจะถูกสั่งใหถอนออกจากรัฐฉานตามมติขององคการ<br />

สหประชาชาติในป พ.ศ. 2497 ก็ตาม แตกองทัพพมาก็ยังคงตั้งมั่นอยูเพื่อภารกิจในการปราบปราม<br />

กองกําลังกลุมอื่นๆ อีกตอไป และในระหวางที่ปฏิบัติภารกิจนี้ ทหารพมาก็เริ่มทําการปลดอาวุธ<br />

ชาวไทใหญ คนหาอาวุธและจับกุมบรรดาชาวไทใหญที่มีพฤติกรรมอันเปนปรปกษกับรัฐบาลพมา<br />

สงผลใหผูนําทองถิ่นของรัฐฉานถูกจับกุมขังคุกทรมานหรือฆาตายไปเปนจํานวนไมนอย บรรดา<br />

ผูนําชาวไทใหญ ไมวาจะเปนผูแทนราษฎร นักการเมืองหรือเจาฟา ไมสามารถตานทานอํานาจเผด็จ<br />

การของทหารพมาได ประชาชนชาวไทใหญอยูในสภาพไรที่พึ่งทางการเมืองจากผูนําของตนและ<br />

ถูกขมขืนจากทหารพมา สภาพการณนี้เองทําใหบรรดาชาวไทใหญพากันรวมตัวเขากับกองกําลัง<br />

หรือกลุมเคลื่อนไหวทางการเมืองกลุมตางๆ ที่มีอุดมการณตอตานรัฐบาลพมาตั้งแตนั้นเปนตนมา<br />

3.3.2 สี่ตัด (Four Cuts): ปฏิบัติการละเมิดสิทธิมนุษยชน<br />

เมื่อประเทศพมาไดรับอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ ในป พ. ศ. 2491 รัฐฉานไดรับคํา<br />

สัญญาวา หลังจากนั้นสิบป รัฐฉานจะไดรับสิทธิในการปกครองตนเอง แตคําสัญญานี้ไมเคยเปน<br />

จริง สงครามภายในระหวางกลุมชนชาติตาง ๆ กับผูปกครองไดเกิดขึ้น นับตั้งแตป พ.ศ. 2505<br />

เปนตนมา ประเทศพมามีทหารขึ้นมาปกครองประเทศหลายชุดดวยกัน สงครามการตอสูระหวาง


67<br />

ชนชั้นปกครองซึ่งประกอบดวยชนชาติพมาเปนสวนใหญกับกลุมชนชาติอื่น ๆ เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

สงผลใหประชาชนภายในประเทศพมาตองประสบกับความทุกขยากมาเปนเวลาหลายทศวรรษ<br />

ความทุกขยากเพิ่มมากขึ้นภายใตการปกครองของ สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ (State<br />

Peace and Development Council-SPDC) ที่ยึดอํานาจการปกครองหลังจากไดใชกําลังปราบปราม<br />

อยางรุนแรงตอผูชุมนุมประทวงอยางสงบในป พ.ศ. 2531<br />

การเลือกตั้งทั่วไปในป พ.ศ. 2533 ซึ่งพรรคสันนิบาติแหงชาติเพื่อประชาธิปไตย<br />

(National League of Democracy - NLD) ไดรับชัยชนะอยางทวมทน แตสภาเพื่อสันติภาพและ<br />

การพัฒนาแหงรัฐ (SPDC) ปฏิเสธที่จะรับรองผลการเลือกตั้งและจวบจนทุกวันนี้ก็ยังใชกําลังของ<br />

กองทัพในการดํารงไวซึ่งอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนา<br />

แหงรัฐ (SPDC) ไดเพิ่มมาตรการสูงสุดทางทหารและรณรงคตอตานการเคลื่อนไหวของ<br />

ชาวไทใหญและกลุมชนชาติในพื้นที่ตาง ๆ กลุมผูปกครองทหารในพมาไดดําเนินโยบายที่เรียกวา<br />

“สี่ตัด” คือมุงที่จะตัดปริมาณอาหาร เงินชวยเหลือ การรวบรวมกําลังคนและขอมูลขาวสารตางๆ<br />

ตอกลุมกองกําลังตอตานโดยใชวิธีการขมขูคุกคาม ควบคุม ทําใหยากจนตอพลเรือนที่อยูอาศัย<br />

ในเขตพื้นที่เพื่อที่พลเรือนเหลานั้นจะไดหมดโอกาสหรือหมดหนทางใด ๆ ที่จะชวยเหลือหรือ<br />

สนับสนุนฝายตอตาน<br />

วิธีการหลัก ๆ ของนโยบาย “สี่ตัด” ก็คือ เอาชาวบานและผูสูงอายุไปคุมขัง ทรมาน หรือ<br />

ฆา หากรูวามีการติดตอกับฝายตอตานไมวาจะดวยวิธีใดก็ตาม หรือบังคับขูเข็ญและปลนเอาพืชผล<br />

ในไรนา อาหาร สัตวเลี้ยง เงินสดและสิ่งของมีคาตาง ๆ จากชาวบาน หรือบังคับใหพลเรือนไปใช<br />

แรงงานในกองทัพและลิดรอนเวลาที่จะทํางานอื่นใด และเพิ่มการบังคับใหโยกยายถิ่นฐานไปยัง<br />

สถานที่หรือหมูบานที่อยูภายใตการควบคุมโดยตรงของกองทัพฝาย SPDC 12 มีผลทําใหประชาชน<br />

ตองโยกยายถิ่นที่อยูภายในประเทศพมา รวมทั้งประชาชนจํานวนมากทะลักเขาสูประเทศไทยและ<br />

ประเทศเพื่อนบานในฐานะผูลี้ภัย<br />

ก) การบังคับโยกยายถิ่นฐาน: ประสบการณของ “จายตา”<br />

นโยบายสี่ตัดกลายเปนยุทธศาสตรหลักของรัฐบาลทหารพมา ในการขยายแสนยานุภาพ<br />

ของตนไปยังพื้นที่ชายขอบทั้งหลาย และนํามาซึ่ง การบังคับพลัดถิ่นภายในรัฐ (internal<br />

displacement) ของชาวไทใหญจํานวนมาก ไดมีการประมาณการวา นับตั้งแตเดือนมีนาคม<br />

พ.ศ. 2539 เปนตนมา ทหารพมาไดทําการบังคับโยกยายชาวบานไมนอยกวา 1,400 หมูบานในพื้นที่<br />

12 http:www.db.idpproject.org.


68<br />

กวา 7,000 ตารางไมลในรัฐไทใหญตอนกลาง ซึ่งยังผลใหชาวไทใหญไมนอยกวา 300,000 คน<br />

13<br />

ถูกบังคับใหอพยพออกจากบานเกิดของตนเขาไปอยูในพื้นที่รองรับทางยุทธศาสตร<br />

ในทางปฏิบัติแลว นโยบายดังกลาวนําไปสูการอพยพโยกยายหมูบานที่ถูกหมายหัววา<br />

เปนหมูบานตองสงสัย ซึ่งสวนใหญเปนหมูบานตามแนวพรมแดนหรือหางไกลจากศูนยกลาง<br />

ปฏิบัติการโยกยายมักดําเนินควบคูไปกับการเผาทําลายหมูบานและผลผลิตในหมูบาน การขมขืน<br />

ผูหญิง การทํารายชาวบานในหมูบานตองสงสัย การขมขูคุกคาม การสังหาร และการลดจํานวน<br />

ประชากรของพื้นที่ตองสงสัยลง เพื่อตัดตอนการสนับสนุนกองกําลังกูชาติ ปฏิบัติการดังกลาว<br />

ดําเนินไปอยางเขมขน โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตตอนกลางของรัฐไทใหญ 14<br />

นอกจากนี้ชาวบานเหลานั้นยังไดถูกบังคับใหเปนแรงงาน (forced labor) ในโครงการ<br />

ตางๆ ของพมา ขณะเดียวกันก็มีชาวบานอีกจํานวนไมนอยที่พากันหลบหนีและลี้ภัยอยูในเขตปา<br />

และอีกกวาครึ่งลานคนที่พากันหนีอพยพเขามาในไทย ที่ซึ่งสถานภาพของชาวไทใหญไมไดรับ<br />

การยอมรับจากรัฐบาลไทย<br />

ในขณะที่รัฐบาลทหารตัดสินใจปราบกองกําลังไทใหญกลุมสุดทายดวยกันดําเนิน<br />

นโยบายบังคับโยกยายถิ่นฐานครั้งใหญที่สุดในรัฐฉาน จากรายงานกลุมสิทธิมนุษยชนไทใหญ<br />

เปดเผยวา ในชวงป พ.ศ. 2539-40 รัฐบาลทหารพมาสั่งใหชาวไทใหญจํานวนมากวา 300,000 คน<br />

ซึ่งสวนใหญเปนชาวนา ชาวไรจาก 1,400 หมูบานในชนบทอพยพไปอยูในที่ยุทธศาสตรที่ใกลถนน<br />

ใหญและใกลคายทหารพมา ชาวบานเหลานั้นจําเปนตองละทิ้งไรนา และอาชีพของเขาโดยไมไดรับ<br />

คาตอบแทนใดๆ จากรัฐบาลทหารพมา คนจํานวนมากถูกบังคับใหเปนแรงงานรับจางรายวัน และ<br />

อีกจํานวนมากตองกลายเปนขอทาน<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งตอประชาชนในรัฐฉาน นับตั้งแตป พ.ศ. 2539 ประชาชนในรัฐฉาน<br />

ไดตกเปนเปาของการสังหารโดยกลุมทหารเพื่อหยุดยั้งความชวยเหลือที่ประชาชนมีตอกองกําลัง<br />

แหงรัฐฉานและเพื่อที่จะไดเขาครอบครองพื้นที่ในเขตนี้ซึ่งอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติ<br />

กองทัพพมาไดบังคับขับไลใหชาวไทใหญจํานวน 300,000 คน และกลุมชนชาติอื่น ๆ ที่อาศัยอยูใน<br />

รัฐฉานตอนกลางละทิ้งบานเรือนและตองออกจากที่ดินของตนเอง<br />

ปรากฏการณการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยปฏิบัติการทางทหารและการอางสิทธิเหนือ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติภายใตการพัฒนาทางเศรษฐกิจในอภิมหาโครงการทั้งหลาย กอใหเกิดความ<br />

13 (Unrepresented Nations and Peoples Organization (UNPO), 2000, Electonic Document,<br />

http://www.unpo.org/print.phb?arg=47&par=434.)<br />

14 Shan Human Rights Foundation, “Dispossessed : a report on forced relocation and extrajudicial killings in Shan State, Burma,<br />

Chiang Mai : SHRF,” 1998, Electronic Document, http://www.shanland.org/resources/bookspub/humanrights/dispossessed/.


69<br />

เดือดรอนในพื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยของกลุมชาติพันธุเปนจํานวนมาก ประกอบกับความเปนหวง<br />

ในการหมดสิ้นไปของทรัพยากรธรรมชาติ และความเสื่อมโทรมทางนิเวศและสิ่งแวดลอมเปน<br />

ปจจัยสําคัญของการตอสูบนขบวนการตอตานรัฐของกลุมชาติพันธุชนกลุมนอย ทั้งนี้โดยมี<br />

เปาหมายเพื่อการพิทักษปกปองสิทธิและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่<br />

นั่นเอง<br />

นโยบายดังกลาวกอใหเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวไทใหญอยางรุนแรง เนื่องจาก<br />

ทหารพมาจะบังคับใหอพยพจากถิ่นเดิม โดยการบอกกลาวดวยวาจาหรือเปนลายลักษณอักษรให<br />

อพยพจากหมูบานภายในระยะเวลาที่กําหนดไวเพียง 3-7 วัน ถาพบวายังมีชาวไทใหญหลงเหลืออยู<br />

ในหมูบานเดิมภายหลังวันที่กําหนดไวจะยิงทิ้งทันที อยางไรก็ตาม ในหลายกรณี ทหารพมาไมได<br />

รอจนกวาจะถึงวันที่กําหนด และเริ่มตนกระทําการรุนแรงตอชาวบานทันทีที่มีคําสั่งหรือขณะที่<br />

ชาวบานกําลังอยูระหวางการอพยพ 15<br />

จายตา เด็กวัยรุนชายอายุ 17 ป ซึ่งขณะนี้เปนหนึ่งในเด็กกําพรา 229 คนบนดอยไตแลง<br />

เลาใหฟงถึงความทรงจําเมื่อ 10 ปกอนวา<br />

"ผมอยูที่บานหนองแดง เมืองนาย รัฐฉาน ป 2539 ผมยังเด็กมาก<br />

อายุ 6-7 ขวบ พี่สาวผมเพิ่งอายุ 14 ป ถูกทหารพมา 4-5 คนมาเอาตัวจากที่<br />

บานไปรุมขมขืน พอผมถูกจับไปเปนลูกหาบใหหาบอาวุธใหทหารพมา<br />

หายไปนานพอกลับมาแผลเต็มตัว แตพอเด็กอื่นไปตายไมไดกลับ หลังจาก<br />

นั้นทหารพมาเขามาในหมูบานสั่งใหทุกคนยายออกใน 7 วัน ใครไมไปถูกยิง<br />

เขาเขามาเผาหมูบาน ชาวบานหนีออกหมด บางคนยายไมทันลูกเล็กถูกเผา<br />

ตายในกองไฟ เสียงรองไหดังทั่ว พอแมผมรองไห หมดตัวไมรูจะไปไหน<br />

พอแมผมกับครอบครัวลุงอองหนีไปอยูในปา ไมมีอะไรกิน ไมมีที่อยู หลบ<br />

อยูตามปาขุดหาเผือกมันกิน อยูกัน 6-7 เดือน วันหนึ่งผมไปดักนกไดยินเสียง<br />

ปน ผมแอบในปาจนค่ํากลับมาดูเห็นพอแมโดนยิงตายเลือดเต็มหนา ลุงออง<br />

ถูกฆาตัดหัวเสียบไวกลางปา เหลือผมคนเดียวไมรูไปไหน เดินรองไหไป<br />

เรื่อยๆ ปารกก็บุกไป ไมไดกินอะไรวันหนึ่งเต็มๆ สัตวปารองทั้งคืนผมกลัว<br />

15 สาละวินโพสต : ฉบับที่ 22 วันที่ 1 เม.ย. – 15 พ.ค. 2548 ; หนา 3.


70<br />

มาก เดินไปจนไปเจอชาวบานที่หลบอยูในปา เขาเลยพาผมไปสงไวกับ<br />

ทหารไทใหญในปาเมืองโขหลํา" 16<br />

นับตั้งแตป พ.ศ. 2535 เปนตนมา คณะกรรมาธิการวาดวยสิทธิมนุษยชน (United<br />

Nations Commission on Human Rights- UNHCR) ไดผานมติเห็นชอบที่จะประณามการละเมิด<br />

สิทธิมนุษยชนใด ๆ ที่เกิดขึ้นภายในรัฐฉานและตอชนชาติอื่น ๆ ในประเทศพมา ตอมาในป<br />

พ.ศ. 2537 คณะกรรมาธิการผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) ไดเสนอแนะวา “รัฐบาล<br />

ของประเทศพมา ควรจะดําเนินการตามขั้นตอนที่จําเปน ในอันที่จะทําใหทหารไมวาจะเปน ทหาร<br />

ทั่วไปหรือ ทหารที่มียศตําแหนงระดับสูง กระทําการอยูในกรอบอันเปนที่ยอมรับไดของ มาตรฐาน<br />

ทางดานสิทธิมนุษยชนนานาชาติและมาตรฐานทางดานมนุษยธรรม เพื่อที่พวกเขาเหลานั้น จะไมใช<br />

อํานาจในการฆาคนตามอําเภอใจหรือ ขมขืนหรือยึดเอาทรัพยสิน หรือบังคับใหใชแรงงาน ขนสง<br />

โยกยายหรือกระทําการใด ๆ ที่แสดงออกซึ่งความไมเคารพตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” ในรายงาน<br />

ของผูตรวจการรายงานพิเศษวาดวยเรื่องประเทศพมาประจําป พ.ศ. 2546 ก็ปรากฏรายงานใน<br />

ทํานองเดียวกันนี้ แตแมกระนั้นก็ตาม ตราบจนทุกวันนี้ คณะผูปกครองทหารพมาก็ ยังคงกระทํา<br />

การละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงตอประชาชนชาวพมาตลอดมา<br />

ข) การขมขืน: ความรุนแรงบนรางกายผูหญิงไทใหญ<br />

SWAN และ Shan Human Right Foundation (SHRF) ไดรวมกันเปดตัวรายงาน<br />

“ใบอนุญาตขมขืน” (License to Rape) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2545 รายงานดังกลาวเปนผลมา<br />

จากการรวบรวมขอมูลสัมภาษณที่ SWAN และ SURF ไดดําเนินการมาตั้งแตมกราคม พ.ศ. 2544<br />

ถึงมีนาคม พ.ศ. 2545 โดยเปนการสัมภาษณบุคคล 173 คน เพื่อประมวลปญหาการขมขืน<br />

ขนาดใหญที่ดําเนินอยางตอเนื่องมาเปนเวลานานกวา 6 ป (พ.ศ. 2539-2545) โดยทหารที่กระทําตอ<br />

ผูหญิงและเด็กสาวชาวไทใหญจํานวน 625 คน ซึ่งในแทบทุกกรณีเปนการขมขืนตอหนากองทหาร<br />

พมา วิธีการขมขืนเปนไปอยางทารุณและโหดราย โดยเหยื่อกวา 25 % เสียชีวิตจากการขมขืน<br />

ในขณะที่ 61 % ถูกขมขืนรวมหมู จํานวนไมนอยของเหยื่อเหลานี้ถูกกักขังเพื่อการขมขืนรวมหมู<br />

จํานวนไมนอยของเหยื่อเหลานี้ถูกกักขังเพื่อการขมขืนตอเนื่องในตลอดชวงที่กองทหารพมา<br />

ประจําการอยู บางรายเปนเวลาไมนอยกวา 4 เดือน พื้นที่ของการขมขืนจํานวนมากเกิดขึ้นในชวงที่<br />

ผูหญิงและเด็กออกเก็บหาอาหารนอกพื้นที่รองรับการอพยพ (relocation site) ขณะเดียวกันการ<br />

16 www.palungjai.com/page018.html.


71<br />

ขมขืนยังเกิดขึ้นในระหวางที่ผูหญิงถูกบังคับใหเปนแรงงานแบกของโดยไมมีคาตอบแทนใหกับ<br />

ทหารพมา และในจุดตรวจที่ตางๆ ที่ทหารพมาประจําการอยู 17<br />

รูปแบบความรุนแรงมีตั้งแตการทุบตี ทรมานรางกายและการขมขืนผูหญิงอยางโหดราย<br />

ทารุณ ดังเชน คําบอกเลาของชาวบานไทใหญซึ่งปรากฏในรายงานใบอนุญาตขมขืนที่จัดทําโดย<br />

เครือขายปฏิบัติงานสตรีไทใหญเมื่อป พ.ศ. 2545<br />

“...ระหวางขนยายขาวของครอบครัวนี้ไดหยุดพัก เมื่อทหารพมา<br />

มาถึงไดจับผูเปนพอมัดและใชเชือกแขวนเขาไวกับขื่อของกระทอมแลวจุด<br />

ไฟขางลางเพื่อยางเขาทั้งเปน จากนั้นทหารไดรุมขมขืนลูกสาววัยรุนของเขา<br />

แลวฆาเธอทิ้ง ผูเปนพอตายในอีกสองสามวันตอมาจากกรถูกทรมาน ขณะที่<br />

ผูเปนแมกลายเปนคนเสียสติจากการเห็นสามีและลูกสาวถูกทรมานและฆา<br />

ทิ้งตอหนา...” 18<br />

ในขณะที่ เด็กหญิงจามเฮือง อายุ 7 ขวบ อยูบานคานมน จังหวัดหัวเมือง ตรงขาม<br />

จังหวัดแมฮองสอนแมฮองสอน นั่งเลนกับนองชายอายุ 3 ขวบอยูใตถุนบาน วันนั้นพอแมของเธอ<br />

ออกไปทํางาน จามเฮืองเลาวา<br />

“เธอไมทันรูตัวเมื่อผูชายตัวดํา ๆ ใหญ ๆ นุงโสรง ใสเสื้อทหาร<br />

พมา เขาประชิดตัว เอาแตงกวายัดปากเธอไมใหเสียงรองดังออกมา มัดมือ<br />

เธอไวขางหลัง อุมเธอตัวปลิวขึ้นไปบนบาน ดึงผาถุงเธอออกและขมขืนเธอ<br />

จามเฮืองบอกวา เธอไมรูทหารพมาทําอะไร แตเจ็บมากและเลือดไหลเต็มไป<br />

หมด หลังจากนั้นทหารพมาแกมัดเธอ หันหลังเดินออกไป จามเฮืองเดินไม<br />

ไหว ไดแตรองไหคลานลงบันไดบาน ไปหลบอยูขางกอไม ขณะที่เลือดไหล<br />

ไมหยุด สักพักพอแมกลับมาบาน เห็นสภาพจามเฮืองก็รูวาลูกโดนขมขืน พอ<br />

แมรีบพาจามเฮืองไปหาหมอ หมอถามวาโดนอะไรมา แมไมกลาบอก หมอ<br />

ถามวาใครทํา ฉีดยาใหแลวบอกใหไปแจงความ หลังจากนั้นตํารวจพมาไป<br />

17 Shan Human Rights Foundation (SHRF) and the Shan Women’s Action Network. License to Rape : The Burmese Regime’s Use<br />

of Sexual Violence in the Ongoing War in Shan State, Burma (Chiang Mai : SHRF and SWAN, 2002).<br />

18 สาละวินโพสต : ฉบับที่ 22 วันที่ 1 เม.ย. – 15 พ.ค. 2548 ; หนา 3.


72<br />

เอาคนมา 5 คนใหชี้ตัว จามเฮืองชี้ไมไดเพราะไมเห็นหนา ตํารวจก็ไมทํา<br />

อะไรอีก”<br />

สิบหาวันแรกที่นอนปวย จามเฮืองลุกไมไดเพราะแผลอักเสบมาก เธอปวยหนักอยูเดือน<br />

หนึ่งเต็ม ๆ หลังจากนั้นพอแมกลัวทหารพมาจะตามมาทําราย พอจามเฮืองเริ่มเดินได ญาติพี่นองจึง<br />

ไปชวนทั้งครอบครัวใหมาอยูที่ดอยไตแลง เพราะเปนที่เดียวที่ทหารพมาจะเขามาทํารายประชาชน<br />

19<br />

ไทใหญไมได<br />

สําหรับประชาชนไทใหญแลว ประสบการณจากการกดขี่ของรัฐบาลทหารพมา เปนสิ่ง<br />

ที่ปรากฏในชีวิตประจําวันที่ผานนโยบายการแปลงใหเปนพมา (Burmanization) อันเปนนโยบาย<br />

สําคัญในการสรางรัฐชาติที่เปนหนึ่งเดียวทางชาติพันธุ (ethnocratic native state) ดังที่งานศึกษา<br />

จํานวนมากไดวิเคราะหไววายุทธศาสตรทางการทหารของพมาในการครอบงํา สรางความเปนใหญ<br />

และเปนหนึ่งเดียวของชาติ ดวยการใชกําลังนั้นแสดงออกในการปฏิบัติหลายรูปแบบ ไมวาจะเปน<br />

การกดขี่ทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาวัฒนธรรม และการแทรกซึมกําลังทหารเขาไปในพื้นที่ตาม<br />

แนวพรมแดนตางๆ ภายใตยุทธศาสตรที่ผสมผสานหลายอยาง ไมวาจะเปนการใชกองกําลังเขาไป<br />

ปราบปราม การบังคับใหยอมจํานนและหยุดยิง หรือการใชการควบคุมผานการพัฒนาเปนตน<br />

นโยบายที่มีผลรุนแรงมากที่สุดตอประชาชนในชนบท เห็นจะไดแก นโยบายสี่ตัด หรือ<br />

four cuts policy อันเปนนโยบายเพื่อตอบโตตอกองกําลังกูชาติ ดวยการตัดกําลังหนุนชวยประชาชน<br />

ใหมีตอกองกําลังดังกลาวในสี่สายดวยกัน คือ อาหาร ทุน การขาว และกําลัง หรือเทากับเปนการตัด<br />

สายสัมพันธระหวางกองกําลังกูชาติกับครอบครัวและหมูบานนั่นเอง 20<br />

19 http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=734.<br />

20 Martin Smith, Burma : Insurgency and the Politics of Ethnicity (Dhaka : The University Press ; Bangkok : White Lotus ;<br />

London : Zed Books Ltd., 1993).


73<br />

3.4 สรุปผล<br />

แตเดิมแตละกลุมชาติพันธุในพมามีโครงสรางทางสังคมและการปกครองเปนของ<br />

ตนเอง รัฐพมาจากสวนกลางหรือพมาแทจึงมิไดมีความพยายามจะรวบรวมดินแดนเหลานี้เขามาอยู<br />

ภายใตโครงสรางของรัฐพมา แตยังคงใหสิทธิเสรีภาพแกผูปกครองกลุมตางๆ เหลานั้น<br />

ในการปกครองดูแลตนเอง ในบางทองที่อาจจะสงขาราชการผูใหญไปคอยดูแลเพื่อทําหนาที่ปรึกษา<br />

และรวบรวมภาษีแตก็มิไดแทรกแซงในกิจการปกครองภายใน นโยบายการปกครองชนกลุมนอย<br />

ของรัฐพมาจึงเปนการปกครองแบบกระจายอํานาจใหกับผูปกครองนครรัฐเดิม<br />

ตอมาเกิดมีการกดขี่โดยรัฐบาลทหารพมาภายในประเทศของตนเองที่ดําเนินมายาวนาน<br />

กวาครึ่งศตวรรษประวัติศาสตรหลังยุคอาณานิคมของพมาเปนประวัติศาสตรที่เต็มไปดวย<br />

ความขัดแยงและความรุนแรงทางชาติพันธุ การรวมกันตอสูเพื่อปลดปลอยตัวเองออกจากการ<br />

ปกครองของเจาอาณานิคมอังกฤษของชาวพมาและกลุมชาติพันธุตางๆ ซึ่งประสบความสําเร็จในป<br />

พ.ศ. 2490 กลับนํามาซึ่งความยุงเหยิงและขัดแยงไมวาจะเปนการเสียชีวิตของนายพลอองซาน<br />

จากการถูกลอบสังหารในป พ.ศ. 2490 ตามมาดวยการรัฐประหารยึดอํานาจของนายพล<br />

อุนุ และนายพลเนวินตามลําดับ ซึ่งไดทําการลมลางสนธิสัญญาปางโหลง อันเปนสนธิสัญญาฉบับ<br />

ประวัติศาสตรที่ลงนามรวมกันระหวางผูนําพมากับผูนํากลุมชาติพันธอื่นๆ รวมทั้งไทใหญ ซึ่งระบุ<br />

ถึงสิทธิในการแยกตัวเปนอิสระของกลุมชาติพันธุตางๆ ภายหลังจากการอยูรวมกันภายใตสหภาพ<br />

พมาครบ 10 ปนับจากวันที่ลงนามในสัญญาในป พ.ศ. 2490 ภายใตการปกครองของรัฐบาลทหาร<br />

พมา ( State Law and Order Restoration-SLORC) อันเปนรัฐบาลที่ปกครองประเทศพมา (ซึ่งตอมา<br />

ไดเปลี่ยนชื่อเปน State Peace and Development Council-SPDC) ผูนําทางการเมืองไทใหญ และ<br />

กลุมชาติพันธุอื่นๆ จํานวนมากไดถูกจับกุมคุมขังตลอดจนประหารชีวิต ในขณะที่ขบวนการ<br />

นักศึกษาประชาชนไดถูกปราบปรามลงอยางสิ้นเชิงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531<br />

ซึ่งอุดมการณของสถาบันทหารของพมาคือ การธํารงไวซึ่งเอกภาพของประเทศ ซึ่งถือ<br />

เปนภารกิจและพันธะกิจที่สําคัญของรัฐบาล และเปนพันธะกิจที่ยากเย็นยิ่งนัก ทั้งนี้เพราะตลอด<br />

ระยะเวลาของประวัติศาสตรสมัยใหมของพมา (modern history)ไมเคยมีสักครั้งที่อาณาบริเวณที่<br />

เรียกวาประเทศพมาอันประกอบดวยพื้นที่ของชุมชนชาติพันธุอันหลากหลายจะรวมกันเปนหนึ่ง<br />

อยางมีความหมายในฐานะประเทศ 21 อีกทั้งไมเคยมีสถาบันการปกครองใดของรัฐ ไมวาจะเปน<br />

สมัยกอนอาณานิคม หรือสมัยอาณานิคมที่สามารถพัฒนากลไกการควบคุมอํานาจจากรัฐบาลกลาง<br />

21 Mary P.Callahan, on time Warps and Warped Time: Lessons from Burma’s “Democratic Era” p. 56.


74<br />

ของพมาไปจนจรดอาณาบริเวณชายแดนที่อังกฤษเปนผูขีดเสนพรมแดนเอาไวในศตวรรษที่ 19 22<br />

ความพยายามของสถาบันทหารในอันที่จะรวมอาณาบริเวณทั้งหลายเขาดวยกัน จึงเปนพันธะกิจ<br />

ที่ไมเคยมีมากอนในประวัติศาสตรการเมืองของพมา<br />

เปาหมายและอุดมการณของสถาบันทหารจึงพัฒนาขึ้นมาพรอม ๆ กับพันธะกิจที่ได<br />

วางไว นั่นก็คือ สรางความเปนเอกภาพใหเกิดขึ้นใหไดในรัฐชาติที่เรียกวาพมานี้ และวิธีการเดียว<br />

ที่ทหารใชก็คือ การใชวิธีการทางทหาร (militarization) นั่นเอง ทั้งนี้เพราะประวัติศาสตรการเมือง<br />

ของพมาไมมีกลไกและกระบวนการที่จะมาบริหารจัดการความขัดแยงภายในประเทศ ในทาง<br />

กลับกัน รัฐบาลพมาทั้งที่เปนรัฐบาลพลเรือนและรัฐบาลทหารตางเลือกใชปฏิบัติการทางทหารมา<br />

เปนกลไกสําคัญในการแกไขความขัดแยง แมวาในประวัติศาสตรจะมีการใชวิธี “เจรจา” กับ<br />

บรรดากลุมตอตานรัฐทั้งหลายใหเขาสูกระบวนการหยุดยิง (ceasefire) อยูบาง แตแลวก็หวนกลับ<br />

ไปสูการใชกําลังในเวลาไมนานนัก สวนกลุมตอตานรัฐที ่เขาสูกระบวนการเจรจาหยุดยิงนั้น<br />

หากแตพิจารณาที่มาที่ไปของการเจรจาแลวจะพบวาหลายกลุมกระทําไปหลังจากถูกปฏิบัติการทาง<br />

ทหารจากกองทัพจนไมมีทางเลือกอื่นนอกจากการยอมจํานน<br />

แมวาการชุมนุมประทวงอยางสันติของนักศึกษา ประชาชนไดถูกลอมปราบอยางทารุณ<br />

โดยทหาร ตํารวจ และไดนําไปสูคลื่นการหลั่งไหลเขาปาของนักศึกษาจํานวนมาก เพื่อรบกับการตอ<br />

สูดวยกําลังอาวุธดวยการลงนามในสัญญาหยุดยิง (cease fire agreement) กับรัฐบาลทหารพมา เชน<br />

รัฐคะฉิ่น และกลุมไทใหญทางตอนเหนือ แตการตอสูดวยอาวุธเพื่อกอบกูเอกราชของกลุมชาติพันธุ<br />

ตางๆ ก็ยังคงดําเนินตอไป<br />

การตอสูเพื่อเอกราชของชาวไทใหญนับเปนการตอสูที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร<br />

การเคลื่อนไหวของกลุมชาติพันธุเพื่อกูชาติ (Ethno-Nationalist Movement) ในพมาก็วาได<br />

ขบวนการตอตานในยุคแรกๆ นั้น เริ่มตนจากกลุมหนุมศึกหาญ ภายใตการนําของ<br />

เจานอยซอหยั่นตะ ในป พ.ศ. 2528 และนับตั้งแต พ.ศ. 2503 เปนตนมา การปฏิวัติเพื่อกูชาติไดแพร<br />

ขยายไปทั่วรัฐไทใหญ และพัฒนาไปสูกลุมกองกําลังมากมายหลายกลุมภายใตการนําของผูนําที่มี<br />

ความคิด ความเชื่อที่แตกตางกัน เชน Shan State Army (SSA), Shan United Revolutionary Army<br />

(SURA), Shan National Army (SNA), Shan United Army (SUA), Shan State Restoration Council<br />

(SSRC) และ Mong Tai Army (MTA) ตางๆ เปนตน<br />

22 Ibid, p. 57.


75<br />

อยางไรก็ตาม ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อเอกราชของกองกําลังเหลานี้ ก็เต็มไปดวย<br />

ความแตกแยกและความขัดแยงภายในดวยเชนกัน จนไมสามารถที่จะรวมเปนกลุมเปนกอนที่เปน<br />

อันหนึ่งอันเดียวกันได ในป พ.ศ. 2539 MTA นําโดยขุนสา ราชายาเสพติดของโลก ไดยอมจํานนตอ<br />

รัฐบาลทหารพมา นําไปสูการยุติบทบาทการตอสูทางการทหารของกองกําลังไมใหญลง อยางไรก็<br />

ตาม ทหารของ MTA จํานวนหนึ่งซึ่งไมเห็นดวยกับการตัดสินใจยอมจํานนดังกลาว ไดพากัน<br />

ตั้งกองกําลังขึ้นมาใหมภายใตชื่อ Shan State Army (SSA) นําโดยเจายอดศึก ซึ่งเคลื่อนไหวในพื้นที่<br />

เขตพรมแดนไทยพมา และยังไดรับการสนับสนุนจากประชาชนไทใหญทั่วรัฐไทใหญ การตอสูเพื่อ<br />

เอกราชของชาวไทใหญยังไดพัฒนาไปในหลายพื้นที่และปริมณฑล โดยเฉพาะอยางยิ่งภายนอก<br />

พื้นที่ของรัฐชาติ ดังเชนการกอตั้งสหภาพประชาธิปไตยไทใหญ หรือ The Shan Democratic Union<br />

(SDU) ซึ่งเปรียบเสมือนเปนกระทรวงตางประเทศพลัดถิ่นของชาวไทใหญที่จะกลาวในบทตอไป


บทที่ 4<br />

บนเสนทางพลัดถิ่น : ดินแดนดอยไตแลง<br />

บทนี้จะกลาวถึงประวัติและพัฒนาการของกองกําลังกูชาติไทใหญภายหลังจากที่<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญที่นําโดยพันโทเจายอดศึก ที่ไมยอมวางอาวุธเมื่อครั้งที่<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญของ “กองทัพเมิงไต” (MTA) ไดยอมแพแกกองทัพของทหารพมา และ<br />

ยอมมอบอาวุธและกองกําลังใหกับพมาไป ซึ่งในเนื้อหาของบทนี้จะเปนการเนนย้ําถึงความยิ่งใหญ<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันที่ไดยายกองกําลังกูชาติฯ มาตั้งถิ่นฐานที่<br />

ดอยไตแลง เพื่อตั้งเปนกองบัญชาการที่ใหญที่สุดในขณะนี้<br />

ในบทนี้จะแบงเนื้อหาที่สําคัญออกเปน 3 ชวงใหญๆ คือ ตั้งแตการลุกขึ้นมาจับอาวุธ<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญ ภายหลังของการละเมิดสัญญาปางโหลงของรัฐบาลทหารพมาที่ใหไว<br />

กับกลุมชาติพันธุตางๆที่อยูในประเทศพมา ในชวงที่สองจะกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญภายใตชื่อกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA: Shan State Army) ในยุคของการ<br />

เปลี่ยนผานจากกองกําลังที่อยูในความดูแลของขุนสา “กองทัพเมิงไต” และในสวนสุดทายจะเปน<br />

การกลาวถึงเสนทางของการพลัดถิ่นของกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) มาสูพื้นที่ดอยไตแลง<br />

ซึ่งจะทําใหเห็นถึงพัฒนาการสําคัญทั้ง 3 ชวงของกองกําลังกูชาติฯ ไดอยางชัดเจน<br />

4.1 “ลุกขึ้นจับอาวุธ”กับจุดเริ่มตนของการกูชาติ<br />

ในประวัติศาสตรชนชาติไทใหญนั้น มีการอพยพลงมาจากทางจีนตอนใตในปจจุบัน<br />

กอนที่จะเขามาตั้งถิ่นฐานในรัฐฉาน แถบบริเวณลุมแมน้ําสาละวิน แตภายหลังจากที่อังกฤษได<br />

ปกครองพมา นายพลอู อองซาน นักการเมืองพมาก็ไดดําเนินการตอสูเรียกรองเอกราชใหกับพมา<br />

ซึ่งในเวลาตอมาก็ไดพยายามใหชนชาติไทใหญและชนชาติอื่น ๆ ที่อยูในพมา ซึ่งประกอบไปดวย<br />

ฉิ่น และคะฉิ่นก็ไดรวมกันลงนามในสัญญา“ปางโหลง” เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ พ.ศ.2490<br />

ในสัญญามีสาระสําคัญที่เขียนไวในรัฐธรรมนูญฉบับแรกของพมาไววา เมื่อไดเอกราชจากอังกฤษ<br />

ครบ 10 ป ฉาน (ไทใหญ) คะฉิ่นและฉิ่น จะสามารถแยกตัวเปนอิสระปกครองตนเองได แตภายหลัง<br />

เมื่อถึงกําหนดที่ไดเอกราชจากอังกฤษครบ 10 ป พมากลับผิดสัญญาและไมปฏิบัติตามขอตกลง<br />

ดังกลาว


77<br />

ภาพที่ 4.1 ภาพวาดการทําสัญญาปางโหลง<br />

ที่มาภาพ: http://www.taifreedom.com/Thai/sarmluangfa.com/history/plagreement1.htm.<br />

เหตุการณดังกลาวไดเกิดขึ้นในสมัยทานอูนุ เปนนายกรัฐมนตรีของพมา ซึ่งไดยกเลิก<br />

สัญญาปางโหลงทิ้ง ภายหลังนับตั้งแตที่พมาไดผิดสัญญาที่เคยลงนามไวในสัญญา ก็ไดสรางความ<br />

อาฆาตเคียดแคนใหกับกลุมชนเผาตาง ๆ โดยเฉพาะกลุมที่รวมลงนามในสัญญาปางโหลง และ<br />

ในเวลาตอมารัฐบาลพมาที่นําโดยนายพลเนวิน ไดบีบบังคับชนกลุมตาง ๆ ใหอยูในอํานาจของ<br />

ตนเองไดอยางราบคาบ โดยใชเผด็จการจากทหารพมา ซึ่งในปพ.ศ. 2502 นายพลเนวิน ก็ได<br />

ยึดอํานาจจากไทใหญและทําการกวาดลางเจาฟาองคตางๆ ของชนชาติไทใหญและชนชาติอื่นๆ<br />

จนหมดสิ้นแทบจะเรียกวาลางโคตรไมใหเหลืออะไรเลย<br />

ภาพที่ 4.2 การทําสัญญาปางโหลง<br />

ที่มาภาพ: http://taiyai.net/Panglong.html


78<br />

ภายหลังจากปฏิบัติการดังกลาวเปนเหตุใหสิทธิและเสรีภาพที่ไดรับนั้นเกิดความเหลื่อม<br />

ล้ําไมเทาเทียมกัน จึงทําใหมีการลุกขึ้นจับอาวุธตั้งเปนกลุมตอตานขึ้นมาจํานวนมาก เพื่อแสดงถึง<br />

ความไมพอใจรัฐบาล ชนกลุมนอยตางๆ จึงพากันนําลูกนองของตัวเองหนีเขาปา รวมทั้งกลุม<br />

สามัคคีเพื่อชาติพมาก็ไดพากันหนีเขาปาเปนจํานวนนับพันคนเพื่อจับอาวุธตอสูกับฝายรัฐบาล<br />

(นิพัทธพร, 2550: 31)<br />

ตอมาเมื่อวันที่ 21 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2501 เจานอยซอหยั่นตะ ไดกอตั้ง<br />

กองกําลังกูชาติ “ หนุมศึกหาญ ” เปนกองกําลังกูชาติไทใหญกลุมแรก ที่มีนักรบกูชาติเพียง 31 คน<br />

และปนลาสมัยเพียง 17 กระบอก ที่หวยปุ เมืองหาง ในเขตรัฐฉาน โดยมีวัตถุประสงคที่จะ<br />

กอบกูเอกราชใหแกรัฐฉาน ซึ่งตอมาไดยายมาตั้งกองบัญชาการที่ดอยปางตอง ตรงขามอําเภอฝาง<br />

จังหวัดเชียงใหม แลวทําการรวบรวมกําลังพล ซึ่งมีกลุมนักศึกษามารวมดวยเปนจํานวนมาก<br />

หลังจากที่มีกําลังพลเพิ่มมากขึ้นดวยเหตุที่กลุมหนุมหาญทํางานเพื่อเอกราชของรัฐฉาน ยังมี<br />

นโยบายทางดานการเมือง บรรดาเหลากลุมนักศึกษาจึงไดเสนอคําแนะนําใหแกเจานอยปฏิเสธไม<br />

ยอมรับคําแนะนําของบรรดาเหลานักศึกษา(อางแลว น.40)<br />

รูปภาพที่ 4.3 เจานอยซอหยั่นตะ<br />

ที่มาภาพ: http://www.mongloi.org


79<br />

ตอมา พ.ศ.2512 นายพลโมเฮง หรือที่ชาวไทใหญเรียกวาเจากอนเจิง เปนผูนําขบวนการ<br />

กูชาติไทใหญ มารวมกับเจานอยที่กองกําลังดอยปางตอง และไดมีการจัดการประชุมขึ้นที่ดอยอาง<br />

ขางฝงประเทศไทย ป พ.ศ. 2503 โดยในที่ประชุมนั้นบรรดาแกนนํานักศึกษาไดเสนอใหมี<br />

การเปลี่ยนแปลชื่อกลุมจากหนุมหาญทํางานเพื่อเอกราชของรัฐฉาน (มุกจุมหนุมหาญเฮ็ดกานลอด<br />

แลวกอนขอจึ้งไต) เปนกองกําลังอิสระรัฐฉาน (ตั๊บศึกลอดแลวกอนขอจึ้งไต – Shan State<br />

Independent Army - SSIA) ที่ใช SSIA นั้นแกนนํานักศึกษาเห็นวาเพื่อใหการสื่อสารกับชาวโลกได<br />

เนื่องจาก “หนุมหาญ” เปนชื่อที่ไมอาจจะเขาใจไดในทางสากล แตเจานอยไมยอม เรื่องนี้จึงเปน<br />

สาเหตุสวนหนึ่ง ซึ่งตอมายิ่งระยะเวลาเนิ่นนานขึ้น ดวยเหตุที่ความคิดเห็นไมตรงกันมองแต<br />

ผลประโยชนสวนตัวและที่สําคัญไมมีนโยบายทางดานการเมืองที่ชัดเจน จึงทําใหกลุมหนุมหาญ<br />

ทํางานเพื่อเอกราชของรัฐฉานสลายตัว แตกออกไปเปนหลายกลุม<br />

ภาพที่ 4.4 เจากอนเจิงหรือนายพลโมเฮง<br />

ที่มาภาพ: http://www.taifreedom.com/Thai/sarmluangfa.com/ssa/ssa.htm<br />

ในขณะที่ทางกลุมนักศึกษาแตกออกมาตั้งกลุม SSIA เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2503<br />

และถึงแมวาในขณะนั้นเจากอนเจิงจะไดพยายามขอรองหรือหามปรามแตก็ไมสําเร็จ จากนั้น<br />

เจากอนเจิงไดจัดการประชุมใหญขึ้นในพื้นที่ตาดหมอก เขตอําเภอลายคา และไดมีมติในการกอตั้ง<br />

กองทัพโดยตั้งชื่อเปนทางการวา “ กลุมสหปฏิวัติรัฐฉาน ” SURA ( Shan United Revolutionary<br />

Army) ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2512 โดยไดกําหนดนโยบายยุทธศาสตรดานการเมือง 5 ขอดังนี้


80<br />

1. ตอตานคอมมิวนิสต (พมา)<br />

2. ความเปนเอกราช<br />

3. ความเปนประชาธิปไตย<br />

4. ความสามัคคี<br />

5. ความรมเย็น สงบสุข 1<br />

นโยบายยุทธศาสตรดานการเมือง 5 ขอดังกลาวของเจากอนเจิงนี้ ทําให<br />

กลุมจีนคณะชาติกกมินตั๋ง (KMT) กองพล 3 ไดเขาเปนพันธมิตรดวย และจากนโยบายตอตาน<br />

คอมมิวนิสตและความสามัคคี ทางกองทัพปฏิวัติแหงรัฐฉาน SURA กับพรรคคอมมิวนิสตพมา<br />

BCP และดวยเหตุนี้เองที่เจากอนเจิงมองเห็นอนาคตของรัฐฉานในวันขางหนาวา หากทุกกลุม<br />

ไมสามัคคีขึ้นมา และตอมาอีก 15 ปในวันที่ 16 มิถุนายน ป พ.ศ.2526 ไดออกหนังสือแถลงการณ<br />

ประกาศเรียกรองความสามัคคีเชิญชวนไปยังกลุมตางๆ ตอมาในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2526<br />

กองทัพรัฐฉาน SSA (ภาคใต) ซึ่งมีเจาจามใหมเปนผูนํากองกําลังเขามารวมกับกองทัพปฏิวัติ<br />

แหงรัฐฉาน SYRA ของเจากอนเจิง ตอมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2527 จึงไดรวมกันกอตั้ง<br />

สภาไตปฏิวัติ TRC (Tailand Revolutionary Council) และกองทัพไตปฏิวัติ TRA (Tailand<br />

Revolutionary Army ) (อางแลว น.40-42)<br />

ในวันที่ 3 มีนาคม ป พ.ศ.2528 จางซีฟู หรือ ขุนสา ผูนํากองทัพรัฐฉาน SUA ( Shan<br />

United Army) เสนอตัวนํากลุมของตนเขารวมกับเจากอนเจิง โดยใหการสนับสนุน อาวุธ กองกําลัง<br />

และการเงิน โดยเจากอนเจิงไดเปนผูนําทางการเมืองสวนขุนสาเปนผูนําทางการทหารและเศรษฐกิจ<br />

และไดเปลี่ยนชื่อจากเดิม “ กลุมสหปฏิวัติรัฐฉาน ” เปน “ กองทัพเมิงไต ” MTA( Mong Tai Army )<br />

นโยบายหลักของขุนสามี 3 ขอ คือ<br />

1. ใครใหการชวยเหลือสนับสนุนเรา ถือวาเปนมิตร ใครทํารายหรือนํากําลังมาโจมตี<br />

เราถือวาเปนศัตรู<br />

2. กอบกูเอกราช<br />

3. ปญหายาเสพติด หากไดมาซึ่งการปกครองบานเมืองแลว จึงคอยดําเนินการขุดราก<br />

ถอนโคนใหสิ้นซาก 2<br />

1 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks: 2550, หนา 41.<br />

2 เรื่องเดียวกัน,อางแลว: 44.


81<br />

ภาพที่ 4.5 ขุนสาหรือจางซีฟู<br />

ที่มาภาพ: http://www.shanland.org/politics/2006/Images/Khun%20Sa.jpg/image_view_fullscreen<br />

หลังจากนั้นอีกไมนาน ขุนสาไดนํากองทัพกูชาติไทใหญ ( กองทัพเมิงไต ) เขาพัวพัน<br />

กับการคายาเสพติดอยางเต็มที่ ทามกลางความไมพอใจของนักรบไทใหญในกองทัพ ตอจากนั้น<br />

เพียงไมกี่ปถัดมา กองทัพเมิงไตก็ถูกบอนทําลายจากภายในทําใหออนแอลงเรื่อย ๆ บางครั้ง<br />

นายทหารไทใหญที่มีความสามารถก็ถูกโยกยายออกจากการคุมหนวยกองกําลังสําคัญหลายคนก็ถูก<br />

ฆาทิ้งเนื่องจากเกงและรูมากเกินไป<br />

ตอมาเจากอนเจิง เสียชีวิตใน ป พ.ศ.2534 ดวยโรคมะเร็ง ขุนสาไดยกระดับตัวเองขึ้น<br />

เปนผูนําสูงสุดของกองทัพเมิงไต และไดพากองทัพเมิงไตเขาสูภาวะย่ําแยสุด ๆ ขณะนั้นขุนสายังได<br />

แอบติดตอกับรัฐบาลพมาอยางลับ ๆ โดยไมแจงใหกับผูนําไทใหญรับรู ผูนําไทใหญบางคนจึง<br />

ตัดสินใจนํากําลังทหารบางสวนแยกตัวไป บางคนถูกขุนสาจับไดวาทําตัวเอาใจออกหางก็จะทําการ<br />

ฆาทิ้งทันที จนกระทั่งในที่สุดกองทัพเมิงไต (MTA) ที่นําโดนขุนสา ก็มาถึงทางตันของการนํา<br />

กองกําลังของตนไปสูยังอุดมการณของการกอบกูชาติบาเมืองใหกับประชาชนชาวไทใหญในที่สุด<br />

จึงประกาศเพื่อวางอาวุธใหกับกองทัพทหารพมาในเวลาตอมา


82<br />

4.2 MTA – SSA: จากกองทัพเมิงไต สูกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

เมื่อกองทัพเมิงไตประสบปญหาภายในจนถึงขีดสุด ขุนสาก็ตัดสินใจประกาศสงมอบ<br />

อาวุธทั้งหมดใหกับรัฐบาลพมา ในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2539 ทามกลางความเศราโศกเสียใจ<br />

ทอแทและผิดหวังของคนไทใหญทั้งรัฐฉานและที่อาศัยอยูตามแนวตะเข็บชายแดนไทย – พมา<br />

ในชวงหยุดยิงและวางอาวุธใหกับรัฐบาลพมาของขุนสา พันเอกเจายอดศึก ทหารเอก<br />

ของเจากอนเจิง ซึ่งฝกมากับมือ เปนนักรบที่มีความสามารถและไมยอมจํานนตอขุนสา วางแผน<br />

แยกตัวออกมาตั้งกองกําลังอิสระ ไดพาทหารภายใตการบังคับบัญชา 700 กวานาย 3 ขามลําน้ํา<br />

สาละวิน กลับเขาไปในปาลึกใจกลางรัฐฉาน ใชเวลา 3 ป ตรากตรําในการสะสมอาวุธและรวบรวม<br />

กําลังพลจํานวนหนึ่งและไดตั้งชื่อกลุมวา “กองทัพกูชาติไทใหญ” SSA (Shan State Army) ภายใต<br />

การนําของพันเอกเจายอดศึก ซึ่งอพยพยายฐานที่ตั้งและกองกําลังทั้งหมดที่สะสมไดตอนนั้น เขามา<br />

ตั้งฐานที่มั่นกองบัญชาการสูงสุดแหงกองทัพกูชาติไทใหญ<br />

สงผลใหชนเผาตางๆ ลุกขึ้นมาตอสูเพื่อชิงเอกราชกลับคืนจากพมา และแสวงหา<br />

ความเปนธรรม ซึ่งถึงปจจุบันก็ตองยอมรับวากลุมที่มีความเขมแข็งที่สุด คือกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

และในบรรดาฐานที่มั่นตามรอยตะเข็บชายแดนไทย-พมา อาทิ ฐานกอเมือง-กอฟา-กอวัน ตรงขาม<br />

ดอยแมสลอง อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ฐานสันจุ ตรงขาม อําเภอฝาง ฐานปางใหมสูง<br />

ดานตรงขามอําเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม แมจะมีการเตรียมพรอม และใหทหารจาก<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญหมุนเวียนไปประจําอยูตลอดเวลา แตเทคโนโลยีดานการสื่อสาร รวมถึง<br />

ชัยภูมิ ลวนแตยังดอยกวาบนฐาน “ดอยไตแลง” มากนัก<br />

สาเหตุสวนหนึ่งที่เจายอดศึกไดเขียนไวในหนังสือ “บันทึกจากสนามรบ” ไดบอก<br />

เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดความขัดแยงแตกแยกจนถึงขั้นลมสลายของกองทัพเมิงไตนั้นวา เกิดมา<br />

จากความขัดแยงกันทางความคิดดานการบริหารงานภายใน และไมมีการประสานความเขาใจ<br />

ระหวางในระดับสูงและระดับลาง ทําใหฝายตรงขามจึงนําจุดออนนี้ไปใชในการแทรกแซงจนทําให<br />

เกิดความขัดแยงในที่สุด ทําใหภายหลังจากที่องทัพเมิงไตแตกแยกนั้น ก็ไดเกิดกลุมยอยๆอีกหลาย<br />

กลุม ซึ่งบางกลุมก็ไดเขาไปรวมกับทางกองทัพของพมา บางกลุมเจรจาที่จะหยุดยิง<br />

3 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว บรรณาธิการ.สํานักพิมพศยาม,2548: น. 30.


83<br />

ในขณะที่เจายอดศึกมีความคิดเห็นวา<br />

“หากเรายังมีอุดมการณในการตอสูเพื่อกอบกูบานเมืองของเรา<br />

นั้น การยอมอยูภายใตอุงมือของศัตรูแลวทําการสะสมกําลังเพื่อดําเนินการ<br />

อยางใดอยางหนึ่งนั้น ไมมีทางเปนไปได” 4<br />

ประกอบกับไทใหญไดมีประวัติศาสตรการตอสูเพื่อกอบกูเอกราชมายาวนาน มีทั้ง<br />

ลมลุกคลุกคลาน มีทั้งประสบความสําเร็จ รวมถึงการประสบความสูญเสียมามากมาย แตก็ไมมี<br />

กลุมใดที่จะสามารถทําใหขอตกลง หรือความหวังตางๆ ที่ไดใหกับพี่นองคนไทใหญไดสมหวัง<br />

ประสบความสําเร็จ ทําใหเจายอดศึกในขณะนั้นมีความคิดที่จะไมยอมแพ เพราะมีความเชื่ออยาง<br />

หนึ่งที่เจายอดศึกไดเขียนไวก็คือ<br />

“มีความเชื่อมั่นและหวังวาคนที่รักชาติบานเมืองทุกคนจะมี<br />

ความเขาใจตอแผนดินรัฐฉานของเรา หากเราไมมีแผนดินที่เปนอิสระ<br />

ชนชาติของเราก็ไมมีโอกาสพัฒนาใหเกิดความเจริญรุงเรืองขึ้นมาได เราตอง<br />

มีขุมกําลังของบานเมือง ไมวาจะเปนกําลังทางการเมือง การทหาร รวมทั้ง<br />

ประชาชนผูรักชาติบานเมือง จะตองรวมมือ รวมแรง รวมใจผนึกใหเกิด<br />

ความสามัคคีเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อกอบกูแผนดินบานเองของเรา<br />

คืนมา” 5<br />

หลังจากนั้นปฏิบัติการของการไมวางอาวุธจึงเริ่มตนเกิดขึ้น ทําใหเจายอดศึกในฐานะ<br />

ของการเปนผูนําจึงตองรวบรวมทหารที่มีอุดมการณเดียวกันประมาณ 700 กวานายไดเคลื่อนยาย<br />

กองกําลังของตนขามแมน้ําสาละวิน โดยแบงออกเปน 3 ชุด ซึ่งมีประมาณ 300 นายที่ไดติดตามกับ<br />

ชุดของเจายอดศึก และในระหวางนั้นก็ไดพยายามติดตอกับกลุมอื่นๆ ที่อยูกระจายในเขตรัฐฉาน<br />

ตางๆ ใหเขารวมกับกองกําลังของตน และเรียกรองใหอยาเพิ่งวางอาวุธตอกองทัพพมา และพยายาม<br />

ชี้แจงกับนายทหารตางๆ ถึงประเด็นของการลมสลายของกองทัพเมิงไต และเหตุผลของการ<br />

รวบรวมกําลังใหมใน 3 ประเด็นดังนี้<br />

4 เรื่องเดียวกัน, อางแลว: น 22.<br />

5 เรื่องเดียวกัน, อางแลว.


84<br />

1. สาเหตุที่กองทัพเมิงไต (MTA) ตองวางอาวุธ เนื่องมาจากผูใหญแตกแยกกัน ทําใหมี<br />

ผลกระทบถึงกลุม<br />

2. ที่ผานมากองทัพเมิงไต (MTA) ไมมีนโยบายที่ชัดเจนทางดานการเมือง<br />

3. เรารักแผนดินและชาติของเรา ดังนั้น เราจะตองจัดตั้งกองกําลังขึ้นมาใหม และ<br />

จะตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงนโยบายใหมทั้งหมด 6<br />

ตอมาจึงไดจัดตั้งกองพลตางๆ และใชชื่อกลุมในชวงแรกวา SURA ในวันที่ 15 มีนาคม<br />

พ.ศ. 2539 ที่เมืองอุมมุ โดยมีกลุม SSA และ SSNA ของเขารวมดวย ซึ่งเมื่อประกาศใชชื่อกลุม<br />

SURA อยางเปนทางการแลวแลว ทางการจึงประกาศใชหลักนํา 6 ขอ ดังนี้<br />

1. ความเปนเอกภาพภายในชาติ<br />

2. น้ําใจปางโหลง<br />

3. ประชาธิปไตย<br />

4. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน<br />

5. ตอตานยาเสพติด<br />

6. ความสงบสุข 7<br />

หลักนําดังกลาวถูกประกาศขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางรวมของกลุมเพื่อประชาชนใน<br />

แผนดินรัฐฉานไปสูจุดหมายที่เปนแนวทางเดียวกัน เพื่อที่จะใหประชาชนทุกชนชาติในผืนแผนดิน<br />

รัฐฉานไดมีแนวทางระเบียบกฎเกณฑในการที่จะคิดและนําไปปฏิบัติใหชาติและบานเมืองไดรับ<br />

ประโยชนสูงสุด<br />

ตอมาเมื่อวันที่ 1 เดือนเมษายน พ.ศ. 2540 ก็ไดมีการจัดตั้งหนวยทหารที่ขึ้นตรงตอผูนํา<br />

สูงสุดของกองทัพที่เรียกวา คอล’ลัม 8 ขึ้นมา 3 คอล’ลัม และเปดฝกขึ้นที่หลอยคิม นานประมาณ 6<br />

เดือน แตเมื่อทางฝายทหารพมาทราบขาวจึงไดยายหลบไปอยูที่ผางบ กอนที่จะยายกลับมายังที่เดิม<br />

อีกครั้ง ซึ่งก็ไดมีการประชุมเพื่อวางแผนในการเคลื่อนยายการมาตั้งฐานทัพและการจัดตั้งกําลังขึ้น 3<br />

คอล’ลัม ภายใตชื่อ คอล’ลัมเสือขานฟา คอล’ลัมขุนสางตนฮุง และคอล’ลัมกอนเจิง กอนที่จะมีการ<br />

วางแผนเพื่อเขาชิงพื้นที่ตางๆ ของกลุมอื่นที่เขารวมกับทหารพมาตอไป<br />

6 เรื่องเดียวกัน, อางแลว: น 40.<br />

7 เรื่องเดียวกัน, อางแลว: น 44.<br />

8 คอล’ลัม คือ หนวยทหารที่ขึ้นตรงกับผูนําสูงสุดของกองทัพ มาจากคําวา Colum.


85<br />

ในระยะเวลาของการใชชื่อกลุม SURA จนกระทั้งถึงวันที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2541<br />

นั้น เจายอดศึกก็ไดเปดเผยถึง การที่ไดมีการประชุมทั้งหมด 201 ครั้ง และไดมีการยึดปนของพมา<br />

ได 80 กระบอก ทหารพมาหนีมาอยูกับทางกองกําลังของตน 8 คน และอื่นๆ อีกมากมายที่แสดงถึง<br />

การประสบความสําเร็จของการรวบรวมกําลังของกลุมตนเองที่ไดทําเมื่อครั้งผานมา<br />

ในวันเดียวกันนั้นทางเจายอดศึกในฐานะของผูนําสูงสุดในตอนนั้นก็ไดมีการจัดประชุม<br />

ประจําปครั้งที่ 2 ประกาศเปลี่ยนชื่อกลุมของตนเองจาก SURA มาเปน SSA (Shan State Army)<br />

ซึ่งเปนกองกําลังกูชาติไทใหญในปจจุบัน ตามมติของขอตกลงในการประชุม 3 กลุม เมื่อวันที่ 13<br />

เดือนกันยายน พ.ศ. 2539 และอีกเหตุผลหนึ่งก็คือเพื่อใหรัฐฉานมีกองทัพเพียงกองทัพเดียว<br />

ภายหลังของการผนึกกําลังไดมากขึ้น ทางกองกําลังกูชาติไทใหญ (SAA) ก็ได<br />

เคลื่อนยายกองกําลังของตนเขามาอยูใกลกับบริเวณชายแดนไทยมากขึ้น ทําใหในปจจุบันไดมี<br />

การตั้งฐานบัญชาการของกองกําลังกูชาติไทใหญที่ใหญที่สุดตรงขามกับชายแดนไทย-พมา<br />

บริเวณตรงขามจังหวัดแมฮองสอนของประเทศไทย<br />

จากอดีตจนถึงปจจุบันจะทําใหเห็นถึงพัฒนาการของกองกําลังกูชาติไทใหญที่มี<br />

ความอดทนตอการตอสูทั้งในระหวางกองกําลังของคนในชนชาติเดียวกัน และตางชนชาติ ที่มี<br />

การตอสูเพื่อแยงชิงอํานาจของการประกาศเอกราชใหกับแผนดินรัฐฉาน และคนไทใหญ ทั้งนี้<br />

ในแตละชวง แตละยุคสมัยของผูนําหลายๆ คนก็มีแนวทาง นโยบาย และการวางระบบการทํางานที่<br />

แตกตางกันไป ซึ่งในบางครั้งอาจจะนํามาซึ่งความสําเร็จในบางชวง หรือในบางครั้งอาจจะนํามาซึ่ง<br />

ความสูญเสีย และความบอบช้ําที่กอตัวขึ้นเพื่อเปนทั้งประสบการณ และความขมขื่นของคนในชาติ<br />

อยางไมมีวันจบสิ้น แตอยางไรก็ตามกองกําลังกูชาติก็ยังไมสิ้นสุดการปฏิบัติภารกิจเพื่อที่จะกอบกู<br />

เอกราช และความเปนอิสระแหงเชื้อชาติ แผนดิน บานเมือง ดังสุภาษิตไทใหญที่วา “เมื่อเกวียนติด<br />

หลมโคลน ก็ตองเอาเกวียนลากออก รถติดหลมโคลนก็ตองเอารถลากออก” 9 ที่เจายอดศึก<br />

ผูนําสูงสุดกองกําลังกูชาติไทใหญไดใชเปนคติเตือนใจในการนําพากองกําลังของตนตอสูตอไป<br />

4.3 ดอยไตแลง ดินแดนของคนพลัดถิ่น<br />

ในปจจุบันฐานกองกําลังกูชาติของคนไทใหญที่ใหญที่สุด ซึ่งถือไดวาเปนศูนยกลาง<br />

ของการกูชาติไทใหญไดตั้งอยูบนสันเขา ที่บริเวณขุนน้ําเพียงดิน เขตรอยตอระหวางเมืองปนและ<br />

เมืองโตนในรัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขาม อําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน ประมาณ 20<br />

9 เรื่องเดียวกัน, อางแลว: น. 23.


86<br />

กิโลเมตร สูงจากระดับน้ําทะเลราว 1,375 เมตร สภาพภูมิประเทศเปนภูเขาสูง ทําใหมองเห็น<br />

ภูมิประเทศโดยรอบอยางชัดเจน ตอมาไดเปลี่ยนชื่อจากขุนน้ําเพียงดินเปน “ดอยไตแลง” ซึ่งมี<br />

ความหมายวา “ แผนดินที่คนไทใหญรุงเรืองสวางไสว ” ตั้งแตป พ.ศ.2542 เปนตนมา<br />

ภาพที่ 4.6 สันเขาขุนน้ําเพียงดิน หรือ ดอยไตแลง<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

สาเหตุที่ พ.อ.เจายอดศึก ไดตัดสินใจในการตั้งกองบัญชาการอยูใกลชายแดนไทยมี<br />

สาเหตุอยู 3 ประการคือ<br />

1. สถานการณการเมืองทั้งภายในและภายนอกประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยู<br />

ตลอดเวลา<br />

2. การเมืองของไทใหญจําเปนจะตองประสานกับนานาประเทศ<br />

3. ตองการหาพื้นที่พักพิงและสถานที่เรียนหนังสือที่ปลอดภัยสําหรับเด็กกําพรา<br />

จํานวนมาก ซึ่งพระสงฆไดใหความชวยเหลือไว แตที่ผานมายังไมมีที่อยูเปนหลัก<br />

เปนแหลงและขาดความปลอดภัย<br />

4. เนื่องจากมีกลุมพอคายาเสพติดจํานวนมากที่อางชื่อของกองทัพ SSA<br />

ในการบังหนาคาขาย ซึ่งทําใหตองเปดตัวกับโลกภายนอก เพื่อพิสูจน<br />

ความบริสุทธิ์ใจ (เจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว บรรณาธิการ: 2548 น. 55)


87<br />

นับตั้งแต เขามาบุกเบิกตั้งฐานที่มั่นบนดอยไตแลง ตรงกันขามเขตอําเภอปางมะผา<br />

จังหวัดแมฮองสอน เมื่อป พ.ศ.2542 ถึงปจจุบัน ไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทุกๆ ดาน นับตั้งแต<br />

สาธารณูปโภค เสนทางคมนาคม กระทั่งกลายเปนฐานปฏิบัติการใหญที่มีศักยภาพและความพรอม<br />

ในการตอกรกับทหารพมามากที่สุดดอยไตแลง<br />

ถึงปจจุบันฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญบนดอยไตแลง มั่นคงและเปนปกแผนมาก<br />

ขึ้น ถนนดินเกรดเรียบทอดผานเชื่อมตอชุมชน หมูบาน คายทหาร และพื้นที่สําคัญทางยุทธศาสตร<br />

ซึ่งตั้งอยูรายรอบ บนดอยไตแลงมีโรงพยาบาลขนาดยี่สิบเตียง มีหมอประจําซึ่งสามารถผาตัดเล็กๆ<br />

นอยๆ ได มีหองแล็ปตรวจหาเชื้อมาลาเรีย มีเครื่องปนไฟฟาพลังน้ํา สามารถรับขาวสารทั่วโลก<br />

ผานทางวิทยุและโทรทัศนไดตลอด 24 ชั่วโมง มีสถานีวิทยุสงคลื่นกระจายเสียงภาษาไทใหญเขาไป<br />

ในรัฐฉานเอาไวประชาสัมพันธถึงบทบาทของกองทัพบอกเลาเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมใหความรู<br />

ตางๆ ที่เปนประโยชนกับชาวไทใหญ บนยอดดอยมีคายฝกทหารสองแหง ใชเวลาฝกทหารใหมแต<br />

ละรุน 3-6 เดือนกอนจะสงกลับเขาไปทําการสูรบกูชาติแทรกซึมทั่วรัฐฉาน<br />

ภาพที่ 4.7 ซุมทางเขาเขตกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA)<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา


88<br />

นอกจากนี้ ยังมีโรงเรียนสําหรับเด็กๆ ชาวไทใหญ ทั้งลูกของทหารและลูกชาวบาน<br />

รวมถึงเด็กกําพราทั่วทุกสารทิศที่หนีการถูกกดขี่ขมเหงจากทหารพมา ปจจุบันมีคนอยูบนดอยไต<br />

แลงเปนพันๆ คน สวนกองกําลังที่อยูบนดอยไตแลงและสวนที่แทรกซึมตามพื้นที่ทั้งหมดไมทราบ<br />

จํานวนที่แนนอน มีประมาณ 7,000 – 20,000 นาย<br />

พ.อ.เจายอดศึก ประธานสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the<br />

Shan State) ยอมรับวา ดอยไตแลงเปนฐานที่มั่นสําคัญที่สุด จึงไดเรงพัฒนาเสนทางคมนาคม ระบบ<br />

สาธารณูปโภค ระบบสาธารณสุข การสื่อสาร โดยขณะนี้แบงพื้นที่ออกเปน 2 โซน คือ โซนราษฎร<br />

และโซนทหาร เพื่อใหการจัดระบบรักษาความปลอดภัยมีความรัดกุมยิ่งขึ้น และดูเหมือนวาการ<br />

ตอสูเพื่อชิงเอารัฐฉานคืนมาจากพมา ไดมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธใหม เพราะหลังจากจับปนตอสูกับ<br />

ทหารพมามาเปนเวลานาน ก็ยังไมเห็นทิศทางที่ชัดเจนวาจะไดแผนดินแมกลับคืนมา จึงไดมีการ<br />

ประชุมคณะกรรมการสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน และเห็นพองตองกันวาตองอาศัยการเมืองระหวาง<br />

ประเทศนําหนาการทหาร เพราะลําพังการสูรบเพียงอยางเดียว คงไมสามารถแยงชิงเอารัฐฉานคืนมา<br />

ได 10<br />

ภาพที่ 4.8 สภาพหมูบานของทหารในเขตกองกําลังกูชาติไทใหญที่ดอยไตแลง<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

10 สาละวินโพสต : ฉบับที่ 22 วันที่ 1 เม.ย. – 15 พ.ค. 2548.


89<br />

วิธีการคือ การขอความชวยเหลือจากนานาประเทศ โดยเฉพาะอังกฤษ และ<br />

สหประชาชาติ ทําการกดดันรัฐบาลพมา โดยอาศัยการที่รัฐบาลพมา ปลอยปละละเลยใหมีการ<br />

ละเมิดสิทธิมนุษยชน ขมเหงรังแกชาวไทยใหญในรัฐฉาน และการไมปฏิบัติตามสัญญาปางโหลง<br />

ซึ่งเชื่อวาจะตองเห็นผลเปนรูปธรรม<br />

นอกจากนี้ พ.อ.เจายอดศึก ยังเห็นดวยอยางยิ่งกับผูนํารัฐบาลไทย จะวางตัวเปนกลาง<br />

และประสานงานระหวางพมากับชนกลุมตางๆ เพื่อใหมีการเจรจาสันติภาพ แมขณะนี้จะยังไมมี<br />

ความชัดเจน แตในความคิดของชาวไทใหญทุกคน ก็อยากใหเกิดสันติภาพ ทวาที่ผานมาไมเคย<br />

ประสบความสําเร็จ เนื่องจากพมาขาดความจริงใจในการแกไขปญหา<br />

ภาพที่ 4.9 พันเอกเจายอดศึกและกรรมาธิการสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS)<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

แผนการเจรจาสันติภาพที่จัดขึ้นโดยรัฐบาลพมาแตละครั้ง จะมีเงื่อนไขวา ชนกลุมตางๆ<br />

ที่จะเขารวมตองวางอาวุธ ยอมจํานนกอนเทานั้น จึงจะมีการเจรจากัน ซึ่งถือวาไมเปนธรรมกับ<br />

ชนกลุมตางๆ รวมทั้งไทใหญ เพราะหากยอมวางอาวุธ ก็เทากับเปนการทรยศตอประชาชน<br />

ชาวไทใหญที่ใหการสนับสนุนกองทัพมาตลอด และหวังพึ่งพิงทหารใหชวยกอบกูบานเมือง


90<br />

ปลดออกจากรัฐบาลทหารพมา ที่มองเห็นไทใหญเปนเยี่ยงทาสไมใชเพื่อนมนุษยที่อยูรวมสังคม<br />

เดียวกัน<br />

ในสวนของกองกําลังนั้น พ.อ.เจายอดศึก เลาวา เดิมมีการเกณฑทหารจากชายไทใหญ<br />

ที่มีอายุ 18 ปขึ้นไป แตในชวง 3 ปที่ผานมา นับตั้งแตมีการสรางฐานที่มั่นดอยไตแลง ก็ไดผอนปรน<br />

ขึ้นมาก โดยถาพบวาใครอยากเรียนหนังสือ ก็จะสนับสนุนใหเลาเรียนตามขีดความสามารถจนถึง<br />

ชั้นสูงสุด เชน ระดับปริญญาตรี หรือปริญญาโท ในตางประเทศ เพื่อจะไดกลับมาเปนมันสมอง<br />

ใหกับชาวไทยใหญ ชวยกันวางแผนยุทธศาสตรดานการรบ และพัฒนาบานเมืองใหเจริญกาวหนา<br />

ยิ่งขึ้น ซึ่ง พ.อ.เจายอดศึก ไดกลาววา<br />

"ในอดีตเรามุงพัฒนาแคกองกําลัง จึงเนนการเกณฑทหาร<br />

คอนขางมาก แตปจจุบันสถานการณโลกเปลี่ยนแปลงไป การรบตองควบคู<br />

ไปกับการเมืองอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได ฉะนั้น การศึกษาจึงเปนสิ่งสําคัญที่<br />

จะพัฒนาชนชาติไทใหญใหทัดเทียมกับอารยประเทศ ทําใหสามารถคิดและ<br />

วางแผน เพื่อสูเปาหมายชัยชนะอันยาวไกลได" 11<br />

อยางไรก็ตาม ตองยอมรับวา คนที่จะเขามาเปนทหาร ตองมีใจรักชาติบานเมืองอยาง<br />

แทจริง พรอมที่จะเสียสละความสุขสวนตัว เพราะมีเงินเดือนใหแค 200 บาทเทานั้น ในชวงปแรก<br />

จะฝกคอนขางหนัก ทําใหทหารเหลานี้มีครอบครัวในชวง 2-3 ปแรกไมได ตองผานพน 3 ปไปแลว<br />

ถึงจะแตงงานกัน ซ้ํายังยายพื้นที่ประจําการไปเรื่อยๆ ปลอยใหครอบครัวรอคอยดวยใจระทึกอยู<br />

เบื้องหลัง<br />

ดวยเหตุผลเหลานี้ ทําใหชวงปที่ผานๆมา มีคนสมัครใจเขามาเปนทหาร รวมทั้งที่ถูก<br />

เกณฑ ประมาณ 1,500 คน แตในปนี้มีจํานวนไมถึง 1,000 คน หางจากเปาหมายที่ตั้งไวประมาณ<br />

50,000 คนคอนขางมาก ทางกองกําลังกูชาติไทยใหญ จึงไดแกปญหาดวยการดึงพันธมิตร อาทิ<br />

กะเหรี่ยงคริสต (KNU) กะเหรี่ยงคะยา (KNPP) ยะไข (ALP) ชิน (CNF) เขารวมซอมรบดวย เพื่อให<br />

เกิดความสามัคคีและเปนปกแผนยิ่งขึ้น<br />

ทางดาน ร.ท.ปายเมือง ลายใส อายุ 66 ป อดีตทหารที่จับปนตอสูกับทหารพมามาเปน<br />

เวลานานกวา 30 ป ซึ่งเปนที่ปรึกษาประธานสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน กลาวถึงรูปแบบของการ<br />

ตอสูของกองกําลังรัฐฉานวา ประสบปญหาหลายประการ เชน ไมสามารถอานแผนที่ทางทหาร<br />

จึงทําใหกําหนดพื้นที่การโจมตีทหารพมาไมชัดเจน ซ้ําการติดตอสื่อสารไมดี ทั้งกับทหารแนวหนา<br />

11 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks: 2550, หนา 99.


91<br />

และกองบัญชาการ สงผลใหการแจงขาวสาร การปรับเปลี่ยนทิศทางการสูรบทําไดคอนขางชา<br />

ขณะเดียวกัน การหาขาวจากกองทัพพมาก็ไมบรรลุผลสําเร็จ จึงไมทราบวากองทัพพมาจะ<br />

เคลื่อนกําลังเวลาไหน ทิศทางใด เมื่อเกิดการตอสูขึ้น จึงถูกกองทัพพมาบดขยี้จนตองถอยรนมา<br />

อยูติดแนวชายแดนไทย-พมา<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวานอกจากการพัฒนาทางดานกองกําลังที่มีความเขมแข็งมากขึ้น<br />

ซึ่งจะเห็นไดจากจํานวนของทหารและประชาชนที่มีอุดมการณดานการกูชาติบานเมืองที่มีจํานวน<br />

มากขึ้นแลว ทางดานสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆของทางกองกําลังฯ ก็ไดรับ<br />

การพัฒนาเพื่อรองรับการใหบริการแกกลุมคนเหลานั้น ในขณะที่ปญหาและอุปสรรคของการทหาร<br />

ก็ยังมีปญหาในดานของการใชเทคนิคและการพัฒนาศักยภาพของกองกําลังใหมีประสิทธิภาพมาก<br />

ขึ้น ทําใหกองกําลังตองพยายามสรางรูปแบบและพัฒนาขีดความสามารถในการตอรองกับ<br />

กองทัพทหารพมาอยูตลอดเวลา<br />

ที่นี่เชนกันไดมีการวางโครงสรางของกลุมที่มาทําหนาที่บริหารทั้งดานการเมือง<br />

การทหาร และการดูแลทุกขสุขของประชาชนไทใหญทั้งหมดที่อยูภายใตการดูแลของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ ซึ่งเปนการจัดตั้งกลุมทีมีบทบาทสําคัญอยางมากในปจจุบันที่ใชชื่อวา<br />

สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan State) บนผืนแผนดินพลัดถิ่น<br />

แหงนี้<br />

ภายหลังจากที่กองกําลังกูชาติไทใหญไดมาตั้งถิ่นฐานเพื่อใชเปนกองบัญชาการสูงสุดที่<br />

ดอยไตแลงแหงนี้ ก็ไดจัดตั้งสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan<br />

State) เพื่อเปนกลุมในการบริหารดานการเมือง การทหาร และประชาชนไทใหญทั้งหมดที่อยู<br />

ภายใตการดูแลของกองกําลังฯ โดยมีพันโทเจายอดศึก เปนประธานสภาฯ ซึ่งสภาฯ นี้ไดจัดตั้ง<br />

อยางเปนทางการเมื่อวันที่ 2 เดือนตุลาคม ป พ.ศ. 2542 มีการใชสัญลักษณเปนดวงอาทิตยทอแสง<br />

ตรงกลาง และไดใหความหมายดังนี้<br />

1. หากไมมีความสวางจากแสงอาทิตยก็คงอยูบนโลกนี้ไมได<br />

2. เปนสัญลักษณของความสวางรุงเรือง<br />

3. เปนพลังที่รอนแรงทําใหจิตใจกลาหาญ<br />

12<br />

4. เปนแสงสวางสองนําทางใหคนไทใหญ<br />

12 http://www.taifreedom.com/Thai/sarmluangfa.com/ssa/rcss.%20ssa.htm


92<br />

ภาพที่ 4.10 ตราสัญลักษณสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan<br />

State)<br />

ที่มารูปภาพ: http://www.taifreedom.com/Thai/sarmluangfa.com/index.htm<br />

สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan State)<br />

เปนโครงสรางที่ครอบคลุมการดูแลในดานตาง 13 หนวยงาน ซึ่งกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA)<br />

ก็อยูภายใตโครงสรางนี้เมื่อ มีการประชุมประจําปของกองทัพครั้งที่ 4 ระหวางวันที่ 23-27 เดือน<br />

พฤษภาคม พ.ศ. 2543 รวมถึงการประชุมในครั้งนี้ก็ไดมีมติใหมีการเปลี่ยนแปลงหลักนําขอที่ 2<br />

ใน 6 ขอ ใหเปลี่ยนเปนเอกราช แทนน้ําใจปางโหลง ซึ่งไดยึดถือมาจนถึงในปจจุบัน<br />

โครงสรางของสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan<br />

State) 13 ประกอบไปดวยหนวยงานตางดังนี้ ซึ่งเปรียบไดกับการบริหารจัดการกระทรวงตางๆ ของ<br />

ประเทศไทย<br />

13 จากเอกสาร ydlifc.wfbz.wfjnkyfGydlifbz.if;irf;c.ifbc.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/rcss_admini_structure/StructureOfRCSS_2008.pdf วันที่ 27<br />

กันยายน 2550.


93<br />

ภาพที่ 4.11 สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan State)<br />

คณะกรรมการราง<br />

รัฐธรรมนูญแหงรัฐฉาน<br />

สภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน(RCSS)<br />

ประธาน RCSS<br />

ที่ปรึกษา<br />

ฝายวิทยุการสื่อสาร<br />

ฝายสวัสดิการ<br />

ฝายปกครอง<br />

สํานักงาน ฝายการศึกษา RCSS<br />

ฝายขาวกรอง<br />

ฝายชาติพันธ<br />

ฝายสัมพันธ<br />

ฝายปองกัน<br />

ฝายตางประเทศ<br />

ฝายสขภาพ<br />

ฝายประสานงานNGOs<br />

กองบัญชาการ การศึกษาและอบรม ฝายการเงิน<br />

จากโครงสรางของสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (RCSS=Restoration Council of the Shan<br />

State) จะทําใหเห็นถึงการวางระบบการทํางานที่ชัดเจน ซึ่งในแตละแผนกจะทําหนาที่แตกตางกัน<br />

ไปตามขอบเขตและอํานาจของแผนกที่เกี่ยวของ ซึ่งทําใหแตละแผนกมีภาระที่จะตองพัฒนาแผนก<br />

ของตนเองใหสอดรับกับนโยบายหลักทางดานของการดูแลประชาชนไทใหญใหมีเอกราชเปนของ<br />

ตนเอง<br />

4.4 สรุปผล<br />

ในบทนี้แสดงใหเห็นวาบนเสนทางพลัดถิ่นของกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA)<br />

มีประวัติศาสตรของการลุกขึ้นจับอาวุธเพื่อตอสูกับความเปนเอกภาพของกลุมตนเองมาอยาง<br />

ยาวนาน จนกระทั้งเปนที่มาของกองกําลังตางๆ เกิดขึ้นเพื่อเปนรากฐานอันสําคัญของกองกําลังใน<br />

ปจจุบัน จากการสั่งสมประวัติศาสตรของการตอสูดังกลาว ที่เริ่มตนตั้งแตหลังการไมปฏิบัติตาม


94<br />

กติกาของรัฐบาลทหารพมากับขอสัญญาของสัญญาปางโหลงที่ใหไวกับชนชาติตางๆ เรื่อยมาจนถึง<br />

การเกิดขึ้นของกองกําลังกูชาติกลุมตางๆ ของไทใหญ<br />

จากประวัติศาสตรดังกลาวก็ไดแบงเปน 3 ชวงสําคัญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญที่แสดงใหเห็นในขางตน ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้ คือ ในชวงของการเกิดขึ้น<br />

ของการผนึกกองกําลังที่นําโดยเจานอยซอหยั่นตะ ภายหลังของการครบรอบ 10 ปของ<br />

สัญญาปางโหลง ตอมาในชวงเปลี่ยนผานของกองกําลังกูชาติไทใหญภายใตชื่อของ<br />

“กองทัพเมิงไต” หรือ MTA ที่มีขุนสา เปนผูนําในขณะนั้น ซึ่งยกใหตนเปนผูนําภายหลังจากที่<br />

กองกําลังกูชาติของเจากอนเจิงในชื่อของ SURA ไดสิ้นสุดบทบาทลงเมื่อเจากอนเจิงไดเสียชีวิตลง<br />

ซึ่งในยุคของการนําของขุนสาในชวงนี้เอง ก็เปนเหตุใหกองกําลังกูชาติไทใหญไดมาถึงจุดที่ตกต่ํา<br />

ที่สุด นอกจากนี้ยังเปนเหตุใหชื่อเสียงของกองกําลังกูชาติไทใหญไดไปพัวพันกับการคายาเสพติด<br />

ที่ทําใหชาวโลกไดรูจักกองกําลังกูชาติไทใหญในฐานะของราชายาเสพติด และในยุคสุดทายที่ใน<br />

บทนี้ไดกลาวถึง ซึ่งเปนยุคปจจุบันของกองกําลังกูชาติไทใหญ ภายใตการนําของเจายอดศึก<br />

ผูนําสูงสุด ที่ไดนําพากองกําลังกูชาติไทใหญ ภายหลังจากที่ไมยอมวางอาวุธไปพรอมกับขุนสา<br />

ผูนํากองทัพเมิงไต<br />

ในชวงนี้เองที่ทําใหดอยไตแลง ในฐานะของผืนแผนดินรอยตอของชายแดนไทย-พมา<br />

ในบริเวณตรงขามกับอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอนไดกลายเปนพื้นที่พลัดถิ่นของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญที่ใชเปนฐานปฏิบัติการทางการกอบกูเอกราชจากประเทศพมาที่ใหญที่สุด<br />

ในขณะนี้ ซึ่งตอมาทางกองกําลังกูชาติไทใหญก็ไดพัฒนากองกําลังของตนเองใหมีความโดนเดน<br />

และมีการพัฒนาโครงสรางตางๆ ทั้งกายภาพ และศักยภาพ ใหสามารถตอรองกับการรุกรานของ<br />

กองทัพทหารประเทศพมา<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาการพัฒนาตางๆที่เกิดขึ้นสงผลตอการวางรากฐานบุคลากรทั้งในสวน<br />

ของกองกําลังทหาร และประชาชนไทใหญที่อยูภายใตการดูแลของกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่จัดตั้ง<br />

ใหสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน(RCSS=Restoration Council of the Shan State) ดูแลและวาง<br />

ระบบในแตละแผนกที่เกี่ยวของกับการบริหารดานการเมือง การทหาร และการปกครองประชาชน<br />

ทั่วไปใหมีแนวทางในการปฏิบัติ และใหอยูในกรอบของความคาดหวังที่มีตอกลุมคนตาง ซึ่งเปน<br />

ทรัพยากรที่สําคัญตอการนําพาเอาเชื้อชาติ แผนดิน บานเมือง และประชาชนที่เปนของรัฐฉานได<br />

กาวไปสูอุดมการณที่ยิ่งใหญของคนพลัดถิ่นเหลานี้ได


บทที่ 5<br />

“โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”: การศึกษาเพื่อการสรางชาติ<br />

ในบทนี้จะกลาวถึงพัฒนาการของการจัดการศึกษาของโรงเรียนดอยไตแลง เพื่อทําให<br />

เห็นถึงพัฒนาการ และรูปแบบของการจัดการศึกษาที่มีผลตอถายทอดอุดมการณชาตินิยมไทใหญ<br />

ของผูที่มีบทบาทสําคัญในการกอตั้งและคณะกรรมการทางดานการจัดการศึกษา รวมถึงผูที่มี<br />

บทบาทที่เกี่ยวของในแตละยุคของโรงเรียน ซึ่งการศึกษานับไดวามีความสําคัญอยางยิ่ง<br />

ในการพัฒนาคนในชาติใหมีความรู ความสามารถ และศักยภาพในดานตางๆ เพื่อที่จะเปนแรงกําลัง<br />

ของคนในชาติในรุนตอไป ดังนั้นการศึกษาจึงเปนความจําเปนขั้นพื้นฐานในการที่จะตองจัดใหมี<br />

ใหกับคนในชาติ<br />

การจัดการศึกษาสําหรับโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงเปนการจัดระบบของการศึกษา<br />

ตามรูปแบบของการศึกษาในประเทศพมา เนื่องจากการวางระบบรากฐานการศึกษาของประเทศ<br />

อังกฤษเมื่อครั้งที่ประเทศพมาตกเปนอาณานิคม จึงทําใหรัฐฉานในฐานะหนึ่งในมณฑลที่เปนรัฐใน<br />

อารักขารับเอาระบบของการศึกษาดังกลาวมาเปนระบบของการศึกษาตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน<br />

การวางระบบของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงใชระบบการศึกษา 10 ชั้น 1 ดังนี้<br />

1. ชั้นออน 2 เทียบเทาการศึกษาในระดับศูนยพัฒนาเด็กเล็ก<br />

2. ชั้นเหงา 3 เทียบเทาการศึกษาในชั้นอนุบาล<br />

3. ชั้น 1-4 เทียบเทาการศึกษาในระดับประถมศึกษา<br />

4. ชั้น 5-7 เทียบเทาการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนตน<br />

5. ชั้น 8-10 เทียบเทาการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 4<br />

ดังนั้นในสวนของพัฒนาการของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง จึงไดถูกพัฒนาและวาง<br />

รูปแบบของการศึกษาที่แตกตางกันตามแตละชวงของผูที่มีบทบาทที่รับผิดชอบในสวนของ<br />

การศึกษาในขณะนั้น จากพัฒนาการดังกลาวจะทําใหเห็นถึงการทําหนาที่ของโรงเรียนในฐานะ<br />

1 ระบบการศึกษาศึกษาแบบ 10 ป นั้นจะไมไดหมายรวมถึงชั้นออน และชั้นเหงา ที่เทียบเทาศูนยพัฒนาเด็กเล็ก และชั้นอนุบาล<br />

2 ชั้นออน เปนภาษาไทใหญ แปลวาชั้นเรียนสําหรับเด็กเล็ก<br />

3 ชั้นเหงา เปนภาษาไทใหญ แปลวาชั้นเรียนสําหรับเด็กกอนวัยเรียน<br />

4 สัมภาษณครูโองมหาน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551


96<br />

ของการองคกรแหงการถายทอดอุดมการณของรัฐที่เปนการปลุกจิตสํานึกในการรักชาติตามทฤษฎี<br />

ของชาตินิยมที่แตกตางกันไป ในขณะที่ในบางชวงนั้นโรงเรียนมีความชัดเจนอยางมากกับ<br />

การทําหนาที่ในฐานะของการใหการศึกษาเปนเครื่องมือในการกูชาติ<br />

5.1 กอนจะเปน “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”<br />

“โฮงเฮนเจอจาด” 5 หรือในความหมายของภาษาไทยวา “โรงเรียนแหงเชื้อชาติ” ซึ่งเปน<br />

ชื่อของโรงเรียนที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ที่ผูศึกษาไดเรียกวาเปน “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” 6 ในที่นี้<br />

หมายถึง “โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง” ซึ่งเปนของกองกําลังกูชาติไทใหญ ณ ฐานกองบัญชาการ<br />

สูงสุดดอยไตแลง โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีที่มาและพัฒนาการของการกอตั้งภายหลังจากที่<br />

การยายฐานกองกําลังกูชาติไทใหญครั้งสําคัญของเจายอดศึก ผูนําสูงสุดของกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

หลังจากที่ไมยอมวางอาวุธ เมื่อกองทัพเมิงไตภายใตการนําของขุนสาที่ฐานบัญชาการสูงสุดที่บาน<br />

ใหมในเขตพรมแดนไทยพมา ตรงขามบานหลักแตง ตําบลเปยงหลวง อําเภอเวียงแหง<br />

จังหวัดเชียงใหมไดแตกลง<br />

5.1.1 ครอบครัวตางชาติในบทบาทของผูอุปถัมภเด็กกําพรา<br />

กอนที่จะมีการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ณ ฐานที่มั่น<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญในปจจุบันนั้น ก็ไดมีการจัดการศึกษาใหกับเด็กที่ทาง<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญไดรับผิดชอบอยู ซึ่งประมาณในชวงกลางป พ.ศ. 2542 ทางกองกําลังกูชาติ<br />

ไทใหญไดสงนักเรียนซึ่งเปนนักเรียนชายลวนที่อยูในความดูแลของตนเอง จํานวน 33 คน<br />

สวนใหญจะเปนเด็กที่มาจากเขตตอนในของรัฐฉาน แตบางสวนก็เปนเด็กที่อยูในเขตรอยตอของ<br />

รัฐฉานกับไทย โดยใหไปเรียนกับครอบครัวของฝรั่งชาวอเมริกัน ที่ทําการเปดบานพักตึกแถว<br />

ในบริเวณในเมืองอําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม เพื่อทําการเรียนการสอนใหกับเด็กๆ ของกองกําลังฯ<br />

ที่มาอยูที่นี่ในรูปแบบของโรงเรียนพักนอนที่ใหเด็กไดเรียนหนังสือและมีอาหารใหกินครบทั้ง 3 มื้อ<br />

สาเหตุที่ทางกองกําลังกูชาตินําเด็กนักเรียนมาฝากไวกับครอบครัวดังกลาว ก็เนื่องจากวา<br />

ในขณะนั้นทางกองกําลังฯ ยังไมมีความพรอมทางดานการจัดการดูแล และใหการศึกษากับเด็ก<br />

นักเรียนเหลานั้นได เพราะเปนชวงที่มีการยายฐานบัญชาการใหญจากบานปางใหมสูง เขตติดตอกับ<br />

5 ออกเสียงตามภาษาไทใหญ ซึ่งหมายถึงโรงเรียนเชื้อชาติ<br />

6 ในที่นี้จะหมายถึงโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง หรือ สถานที่สอนเด็กกําพรา หรือโฮงเฮนเจอจาด


97<br />

บานหลักแตง ตําบลเปยงหลวง อําเภอเวียงแหง ในเขตประเทศไทย ไปยังฐานที่ตั้งกองบัญชาการ<br />

ดอยไตแลง ซึ่งอยูบริเวณเขตชายแดนไทย-พมา ตรงขามกับอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน<br />

นอกจากนี้ทางครอบครัวชาวอเมริกันก็ไดเสนอใหความชวยเหลือเพื่อใหการศึกษากับเด็กที่กลัววา<br />

จะไมไดรับการศึกษาอยางตอเนื่อง และไมมีความปลอดภัย ซึ่งทั้งนี้ไดมีการชวยเหลือระหวาง<br />

ทั้งสองฝาย ที่ผูศึกษาคิดวาเปนเงื่อนไขของพันธะสัญญาทางการเมือง<br />

สวนการจัดการเรียนการสอนที่นี่จะใหเด็กไดเรียนทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาไทใหญ และคณิตศาสตร เปนหลัก โดยเด็กที่มาอยูที่นี่จะตองมีกิจวัตรประจําวันตามตารางที่<br />

จัดไวของครูชาวอเมริกันที่ลักษณะเหมือนกันเปนประจําดังนี้<br />

1. ทุกวันเด็กตองตื่นนอนตอนประมาณตี 5<br />

2. ใหทานอาหารเชาตอน 6 โมงเชา และมีอาหารวาง<br />

3. ในตอนเย็นจะมีกิจกรรมเสริมตางๆ เชน วันจันทรและศุกรเลนเกม วันพุธใหดูทีวี<br />

สวนวันอังคารและพุธจะใหพักผอน 7<br />

ภาพที่ 5.1 เด็กนักเรียนกับครอบครัวชาวอเมริกัน<br />

ที่มาภาพ: จายหนุมเคอ ปหยา<br />

สวนใหญการเรียนการสอนที่นี่จะใชระบบการเรียนที่เปนภาษาอังกฤษเปนหลัก<br />

จึงทําใหเด็กที่นี่ไดใชภาษาอังกฤษสื่อสารกับครูชาวอเมริกัน ไปพรอมๆกับการใชภาษาไทใหญ<br />

7 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา( อดีต)นักเรียนรุนแรกที่เคยเรียนในสถานที่แหงนี้ วันที่ 9 เมษายน 2551.


98<br />

สื่อสารระหวางกลุมเพื่อนกันเอง จายหนุม ซึ่งเปนหนึ่งในนักเรียนที่เคยเรียนกับครอบครัวนี้เลาให<br />

ฟงวา<br />

“ตอนแรกๆที่พวกเรายายมาอยูที่นี่ ก็ตองปรับตัวกันมาก<br />

เหมือนกัน เพราะวาพวกเราสื่อสารภาษาอังกฤษไมไดเลย” 8<br />

ตอมาเมื่อเด็กเหลานี้อยูกับครอบครัวของชาวอเมริกันมาสักระยะหนึ่งก็ทําทําใหปรับตัว<br />

ได และไดเรียนอยางเปนระบบมากขึ้น จากการสัมภาษณทําใหรูวาเด็กกลุมนี้เมื่อมาอยูที่นี่คอนขาง<br />

ที่จะไดรับการดูแลเปนอยางดี ทั้งในเรื่องของการเรียน และความเปนอยูที่ไดรับการดูแลอยางเต็มที่<br />

จายหนุมเลาใหฟงวา<br />

“ที่นี่พวกเราไดกินอาหารครบ 3 มื้อ และพวกเราแตละคนกิน<br />

ขาวกันเยอะมาก เพราะตอนที่เราอยูในฝงนูน เราไมคอยมีอาหารกินอยาง<br />

เพียงพอ และอรอยเหมือนที่นี่” 9<br />

ซึ่งจากที่คําบอกเลามาทําใหรูสึกถึงคุณภาพชีวิตของเด็กกลุมนี้ไดอยางชัดเจนถึง<br />

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และความรูสึกที่ดีขึ้นของเด็กๆ กลุมนี้ หลังจากนั้นเมื่อเด็กเหลานี้ไดอยู<br />

กับครอบครัวของชาวอเมริกันได 1 เดือน ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทําใหเด็กๆกลุมนี้<br />

ตองเผชิญกับความไมแนนอนกับชีวิตของพวกเขาอีกครั้ง โดยที่พวกเขาไมรูถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะ<br />

เกิดขึ้นกับตนเอง<br />

ตอมาจึงรูวาพวกตนตองยายออกจากสถานศึกษาแหงนี้ที่เปนการดูแลของครอบครัว<br />

ชาวอเมริกัน โดยที่ไมรูถึงสาเหตุที่แทจริง ซึ่งอาจจะมาจากเงื่อนไขทางดานการเมือง ที่ผูที่มีอํานาจ<br />

ในการตัดสินใจในชวงนั้นไดเลือกที่จะยายเด็กกลุมนี้ไปยังอีกครอบครัวหนึ่ง ซึ่งทําใหพวกเด็กๆ<br />

ตองยายออกมาจากหองแถวที่เปนโรงเรียน และที่พักของชาวอเมริกัน แตพวกเขารูแตเพียงอยาง<br />

เดียววาทางผูใหญใหไปอยูกับครอบครัวของฝรั่งอีกครอบครัวหนึ่ง ซึ่งมารูภายหลังวาเปนครอบครัว<br />

ฝรั่งชาวนอรเว<br />

จากการบอกเลาของจายหนุมไดบอกถึงสาเหตุที่ตองยายมาที่นี่จากที่เขารูมาก็คือ<br />

ครอบครัวชาวนอรเวมาขอไปอยูดวยในบานพักแถวๆนอกเมืองของอําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม<br />

8 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว<br />

9 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


99<br />

ซึ่งก็เปดบานเพื่อเปดสอนหนังสือใหกับเด็กๆเชนเดียวกับครอบครัวชาวอเมริกันแตอยูหางจากที่เดิม<br />

ที่ตั้งอยูในบริเวณของตัวเมือง ของอําเภอฝาง<br />

สําหรับความเปนอยูของที่นี่คอนขางแตกตางจากที่เดิมอยางสิ้นเชิง ในขณะที่กอนจะ<br />

ยายมาที่นี้ทางครอบครัวนี้ก็ไดรับรองถึงสภาพของการดูแล และความเปนอยูที่จะใหกับเด็กๆกลุมนี้<br />

อยางดี ซึ่งจายหนุมก็เลาใหฟงวา<br />

“ที่นี่คอนขางแยกวาที่พักกับครอบครัวของชาวอเมริกันที่ไปอยู<br />

ดวย เพราะที่นี่ยังสรางไมเสร็จเลยขณะที่พวกเรายายเขาไปอยูดวย มีแค<br />

ที่นอน และพื้นก็เปนไมฟาก ก็มีหลายคนที่ไมอยากมาที่นี่และก็รองไห<br />

ทุกวันเลย” 10<br />

นอกจากนี้ยังอธิบายถึงความเปนอยูของที่นี่ ซึ่งในวันแรกๆที่เด็กๆมาอยูที่นี่ก็ไมได<br />

กินอาหารที่เพียงพอ ในบางวันชวงเชาตองถึงกับอดอาหาร จะไดกินอีกทีก็ประมาณชวงบาย 2 โมง<br />

ตอมาการกินอาหารของเด็กๆก็ถูกจํากัดดวยปริมาณของขาวที่มีอยูอยางจํากัด เด็กๆ ไดโควตา<br />

การกินอาหารคนละ 1 ถวยตวง<br />

ความเปนอยูของเด็กที่อยูกับครอบครัวของชาวตางชาตินั้น ตองอยูแบบลับๆ เพราะ<br />

เปนการชวยเหลือระหวางประเทศที่ยังไมถูกกฎหมาย เพื่อใหเด็กไดรับการศึกษาและมีคุณภาพชีวิต<br />

ที่ดีตามหลักมนุษยธรรม และสิทธิเด็ก ดังนั้นเวลาจะไปไหน หรือทําอะไรก็ตองไมสราง<br />

ความแตกตางหรือโดดเดน ประกอบกับเด็กๆ สวนใหญไมคอยไดออกไปไน นอกจากอยูใน<br />

สวนของโรงเรียนของครอบครัวชาวตางชาติเทานั้น<br />

ตอมาเด็กๆ ก็อยูที่นี่ไมถึงป สวนหนึ่งก็มาจากสาเหตุขางตน ประกอบกับวัสดุอุปกรณ<br />

การเรียนการสอนก็ไมพรอม มีหองเรียน 3 หอง และมีการสอนถึงแคระดับชั้น 4 เทานั้น รวมถึง<br />

การจัดการสอนไมเหมือนกับครอบครัวอเมริกันที่อยูมากอนหนานั้น แตในขณะเดียวกันก็มีปญหา<br />

ทางดานการจัดการเรื่องงบประมาณภายใน จึงทําใหเกิดความขัดแยงระหวางผูที่รับผิดชอบ<br />

ทางดานการจัดการ และระหวางนักเรียนกันเอง ซึ่งทั้งหมดเลานี้จึงเปนสาเหตุสําคัญที่เจายอดศึกขอ<br />

ยายเด็กมาดูแลเองที่ดอยไตแลง<br />

10<br />

สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


100<br />

5.1.2 จากครอบครัวฝรั่งสูฝงดอยไตแลง<br />

การเปลี่ยนแปลงสําหรับเด็กๆ เหลานี้ยังเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งภายหลังจากการที่เกิด<br />

ความขัดแยงภายใน และความเดือดรอนของเด็กๆ ทําใหทางกองกําลังฯ พยายามหาทางแกไขดวย<br />

การพาเด็กทั้งหมดมายังฐานกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่ดอยไตแลงเพื่อเปนการแกไขปญหาเบื้องตน<br />

ถึงแมวาทางกองกําลังฯ เอง จะยังไมมีความพรอม แตก็อยากใหเด็กไดรับความสบายใจ และ<br />

มีคุณภาพของชีวิตและการศึกษาที่ดีขึ้น แตในขณะที่ในสวนของฐานกองกําลังก็ยังไมเขาที่เขาทาง<br />

เพราะเพิ่งจะยายมาที่นี่ใหม ทําใหทางกองกําลังตองรับภาระหนักทั้งในสวนของกองกําลัง และ<br />

ในสวนของการดูแลเด็กที่รับมาจากครอบครัวของชาวนอรเวย<br />

ทางดานของเด็กๆ เอง ก็ตองเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอีกครั้งกับการที่จะตองโยกยาย<br />

และปรับตัวกับสถานที่แหงใหม ซึ่งมีความแตกตางอยางสิ้นเชิงอีกครั้ง กับสภาพของการอาศัยอยู<br />

ภายใตการดูแลของกองกําลังกูชาติไทใหญ ซึ่งตั้งอยูบนสันเขาในปาที่ไมมีสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

ใดๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงเรื่องของอาหารการกิน และที่อยูที่พัก ที่เราจะตองดูแลและจัดการใหกับ<br />

เด็กๆ เหลานี้ ซึ่งสาเหตุที่ยายเด็กที่เรียนในอําเภอฝางมาเรียนที่นี่ เจามอนแสงไดใหเหตุผลวา<br />

“ที่เมืองฝางเปนครูฝรั่งที่สอนเด็ก และนับถือศาสนาคริสต แตเด็กของ<br />

เรานับถือศาสนาพุทธ ทําใหเด็กอยากออกมา” 11<br />

ผลจากความเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีสวนทําใหความหวังของการศึกษาดูเหมือนวาจะเกิด<br />

ความไมตอเนื่อง ตั้งแตสถานที่ทําการเรียนการสอน ผูที่มาใหความรู และวัสดุอุปกรณตางๆที่จําเปน<br />

ตอการศึกษาก็ไมมีใหกับเด็กกลุมนี้ ดังนั้นการยายมายังฐานกองกําลังกูชาติที่นี่ เด็กเหลานี้<br />

แทบจะตองเปนผูบุกเบิกรวมกับกองกําลังกูชาติ ทําใหเด็กเหลานี้ตองชวยกันดูแลซึ่งกันและกัน<br />

เพื่อใหไดรับการศึกษาเหมือนกับที่ตั้งความหวังไว<br />

ตอมาเมื่อทุกอยางเริ่มเขาที่เขาทาง ดูเหมือนวาการศึกษาที่จะเกิดขึ้นบนดินแดนแหงนี้จะ<br />

มีความหวัง และมีแนวโนมที่ดีขึ้น จากการเห็นถึงความสําคัญของอนาคตของชาติบานเมืองที่จะเปน<br />

กําลังสําคัญของการกูชาติใหกับชนชาติไทใหญที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินนี้ ทําให “โฮงเฮนเจอจาด”<br />

หรือโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ไดกลายมาเปนโรงเรียนของคนพลัดถิ่นที่มีความหวังแหง<br />

การกอบกูชาติบานเมืองอยางชาๆ ขึ้นมาจึงทําใหโรงเรียนแหงนี้ไดมีพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ตามยุคสมัยตางๆดังที่จะกลาวในหัวขอลําดับตอไป<br />

11 สัมภาษณเจามอนแสง (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543 วันที่ 11 เมษายน 2551.


101<br />

5.2 “โฮงเฮนเจื้อจาด” : โรงเรียนของคนพลัดถิ่น<br />

“โฮงเฮนเจอจาด” เปนโรงเรียนของคนพลัดถิ่นที่รูจักในฐานะที่เปนโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลงของกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่ในป พ.ศ. 2543 หลังจากที่เด็กๆ ไดเรียนที่อําเภอฝาง<br />

ถูกยายมาที่ “ดอยไตแลง” เขตรอยตอรัฐฉานกับไทยตรงบริเวณตรงขามกับอําเภอปางมะผา<br />

จังหวัดแมฮองสอนนั้น ซึ่งเปนที่ตั้งของฐานกองกําลังกูชาติไทใหญที่เพิ่งยายฐานกองกําลัง<br />

จากบริเวณชายแดนรัฐฉานกับตําบลเปยงหลวง อําเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหมมาเมื่อตนป<br />

เดียวกัน<br />

ในขณะที่ในชวงแรกนั้นทางกองกําลังฯ ก็ยังไมมีแผนการดูแลเด็กเหลานี้ แตในขณะที่<br />

เด็กเหลานั้นก็จําเปนที่จะตองไดรับการศึกษาอยางตอเนื่องจึงทําใหตองมาเริ่มพัฒนาและจัดระบบ<br />

การเรียนการสอนไปพรอมๆกับผูใหญที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรง<br />

ณ ดอยไตแลง เจายอดศึก ผูนําสูงสุดไดมอบหมายให เจามอนแสงเปนผูรับผิดชอบใน<br />

การจัดเตรียมสําหรับการเรียนการสอนใหกับเด็กที่รับมาจากอําเภอฝางทั้งหมด ตั้งแตสถานที่ และ<br />

เนื้อหาตางๆที่จําเปนตอการจัดการสอนใหกับเด็กๆ ดังนั้นในชวงแรกๆเด็กๆจึงตองไปอยูที่วัดกอน<br />

เพื่อใชเปนสถานที่เตรียมสําหรับจัดการสอน<br />

หากจะทําใหเห็นถึงพัฒนาการของโรงเรียนดอยไตแลงตั้งแตเริ่มกอตั้งในป<br />

พ.ศ. 2543 -2551 ไดนั้น ผูเขียนจึงแบงออกเปน 3 ชวง เพื่อใหเห็นพัฒนาการของโรงเรียนทั้ง 3 ชวง<br />

ในมิติ ของผูที่มีบทบาท นโยบาย แนวคิดในการจัดทําหลักสูตร ลักษณะทั่วไปของโรงเรียน<br />

รูปแบบและการจัดการสอนในแตละชวง ซึ่งมีความแตกตางกันไปอยางสิ้นเชิง ตามความพรอม<br />

สถานการณ และศักยภาพของทั้งตัวบุคคล และองคกรที่เปนตัวแปรสําคัญในชวงนั้นๆ ดังที่จะกลาว<br />

ตอไปนี้<br />

5.2.1 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543 -44<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงนี้เมื่อกลาวถึงการจัดการศึกษาแลวนับไดวาเปน<br />

ชวงของรอยตอระหวางของการโยกยายฐานกองบัญชาการใหญ ภายหลังของการไมยอมวางอาวุธ<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญที่นําโดยพันโทเจายอดศึกที่นํากองกําลังบางสวนยายมายังดอยไตแลง<br />

ซึ่งนอกจากนี้ยังตองหมายรวมถึงภาระของการที่ตองดูแลประชาชนไทใหญที่เขารวมกับการกูชาติ<br />

ตามแนวชายแดนไทยพมาตลอดฝงที่ติดกับจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย


102<br />

ในสวนที่สําคัญอีกสวนหนึ่งของกองกําลังฯ ก็คือภาระที่ตองรับผิดชอบเด็กทั้งหมดที่<br />

ทางกองกําลังฯ ไดใหความชวยเหลือทางดานของการศึกษา ซึ่งขาดความตอเนื่องระหวางของยาย<br />

ฐานทัพฯ ทําใหทางกองทัพตองรับภาระในสวนนี้อยางกะทันหัน ไปพรอมๆกับการพัฒนาฐานทัพ<br />

ที่ดอยไตแลง<br />

ก) เจามอนแสง : ผูบุกเบิกการศึกษา<br />

เจามอนแสงเปนคนแรกที่ไดรับมอบหมายจากเจายอดศึก ผูนําสูงสุดของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ ที่ตองดูแลและจัดระบบการศึกษาของโรงเรียนแหงนี้<br />

ซึ่งเจามอนแสงเองก็ไดพูดถึงในชวงแรกของการที่ไดรับมอบหมายใหดูแลเรื่อง<br />

การศึกษาของเด็กๆ ที่รับมาจากเมืองฝาง ซึ่งเจามอนแสงเองก็ไมไดมีความรูอะไร<br />

มากมายสําหรับที่จะจัดการศึกษาใหกับเด็กๆเหลานี้ แตในเมื่อรับเด็กมาอยูที่นี่แลวก็ตอง<br />

จําเปนที่จะตองมีที่เรียนและครูในการสอนใหกับเด็กเหลานั้น ซึ่งเจามอนแสงก็ไดเลาถึง<br />

ในชวงแรกๆวา<br />

“กองกําลังทหารไทใหญไดยายกองทัพมาตั้งอยูที่ดอยไต<br />

แลงเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ป พ.ศ. 2543 ตอมาเมื่อวันที่ 27 มีนาคม จึง<br />

ไปรับตัวเด็กนักเรียนกลุมแรกที่อยูอําเภอฝางจํานวน 27 คน และมา<br />

จากเชียงใหมอีก 6 คน รวมเปน 33 คน” 12<br />

ตอมาในเดือนชวงปลายเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ก็ไดไปรับเด็กที่อยู<br />

ในเขตรัฐฉานเขามาเรียนเพิ่มเติม ซึ่งเมื่อมีเด็กที่มาเรียนมากขึ้นทําใหทางกองกําลังฯ<br />

ตองจัดระบบการดูแลเด็กที่นี้ใหไดรับความรู และการดูแลในเรื่องตางๆ รวมถึงเงื่อนไข<br />

ของการเขามาอยูภายใตของการดูแลของกองกําลังอยางชัดเจน เจามอนแสงจึงตอง<br />

แบงการดูแลเด็กออกเปน 2 แบบเพื่องายตอการดูแลใหความชวยเหลือ และ<br />

มีความชัดเจนตอการจัดการตามเงื่อนไขในระยะตอไป ทั้งนี้เพื่อใหตอการดูแล<br />

ในทุกๆ ดานตั้งแตการศึกษา สถานที่ รวมถึงการใชชีวิต จึงแบงเด็กออกเปนสัดสวน 2<br />

แบบ ดังนี้<br />

12 สัมภาษณเจามอนแสง (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543 วันที่ 11 เมษายน 2551


103<br />

1. เด็กระบบ 75 % หมายถึงเด็กที่ทางกองกําลังฯ ใหการดูแลในเรื่องของ<br />

การศึกษา และการดูแลเรื่องความเปนอยูบางสวน ซึ่งสวนใหญจะเปนลูก<br />

ของทหารและชาวบานที่ยังคงสามารถใหการดูแลลูกตนเองไดอยางเต็มที่<br />

2. เด็กระบบ 100 % หมายถึงเด็กที่ทางกองกําลังฯ ใหการดูแลในเรื่องของ<br />

การศึกษา และการดูแลเรื่องความเปนอยูทั้งหมด ซึ่งสวนใหญจะเปนลูก<br />

ของชาวบานที่เสียชีวิตจากสงคราม และการทํารายของทหารพมา รวมถึง<br />

ครอบครัวที่ยากจน โดยสวนใหญจะเปนเด็กที่ตองพลัดพรากจากครอบครัว<br />

หรือเปนเด็กกําพรา<br />

การศึกษาในชวงนี้ นับไดวายังไมเปนระบบที่ชัดเจน ดังนั้นจึงทําให<br />

การจัดการศึกษาในชวงของเจามอนแสงนั้นจึงเปนการตอบสนองแคใหเด็กไดรับ<br />

การศึกษาตอเนื่องจากที่เดิม และมีความเปนอยูที่ดี และเหมาะสมตามสภาพเทานั้นเอง<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา<br />

หลักการสําคัญของการจัดการศึกษาในชวงนี้สวนใหญจะเนนหนักไปทาง<br />

ดานของการจัดระบบตางๆ ใหเขาที่เขาทาง รวมถึงจัดหาสถานที่ใหเด็กไดมีที่เรียนและ<br />

ที่อยูอยางเหมาะสม ซึ่งจากการสัมภาษณเจามอนแสง ไดพูดอยางชัดเจนอยางหนึ่ง<br />

เกี่ยวกับการศึกษาของโรงเรียนวา “ใหเด็กไดเรียนตอเนื่อง” ดังนั้นเจามอนแสงจึงตอง<br />

ใหความสําคัญกับสถานที่ใชในการทําการเรียนการสอน รวมถึงสรรหาครูซึ่งจะตอง<br />

ทําหนาที่ในการสอนใหกับเด็กเหลานี้ไดมีการศึกษาอยางไมขาดตอน<br />

ในขณะที่บุคลากรที่จะตองมาสอนใหกับเด็กในชวงนั้นก็ไมมี เพราะเนื่องจาก<br />

สวนใหญก็เปนทหารและชาวบานเปนสวนใหญที่มาอยูในการดูแลของกองกําลังฯ<br />

ทําใหจําเปนตองอาศัยการคนหาบุคคลที่อยูในบริเวณนั้นมาอาสาที่จะใหความรูกับเด็ก<br />

ไปพรอมๆกับพัฒนากองกําลังฯ<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน<br />

ในชวงแรกเด็กก็ไดเรียนในวัด ซึ่งเปดประมาณชวงเดือนมิถุนายน พรอมๆ<br />

กับการมีกิจกรรมเสริมเพื่อเปนการทําใหมีอาหารรับประทานที่เพียงพอ เชน การเลี้ยงไก


104<br />

หมู และการปลูกผักตางๆ เด็กๆไดอยูที่นี่ประมาณ 3 เดือน เจามอนแสงก็ไดเลาใหฟง<br />

ถึงความยากลําบากในการหาครูมาชวยสอนในชวงของการเริ่มตนเปดสอนหนังสือ<br />

ที่บนดอยไตแลงวา<br />

“...ในขณะนั้นมีแมครูเมี๊ยะจิ่งใหมาเปนครูใหญ ที่มาจาก<br />

เมืองฝาง สวนครูคนอื่นๆ ก็อาศัยไปหาที่ตลาดเกา บริเวณที่เปน<br />

รอยตอระหวางเขตแดนไทยกับไทใหญ ดวยการเดินเขาไปสอบถาม<br />

ถึงคนที่มีความรูและพอที่จะสอนใหความรูกับเด็กกอนในชวงนั้น<br />

ซึ่งก็ไดพบกับครูนน ซึ่งมีการศึกษาในระดับชั้น 4 จากประเทศพมา<br />

และก็ไดพบกับครูคนอื่นๆอีก เชนครูซื้อ ซึ่งจบในระดับชั้น 7...” 13<br />

ซึ่งตอมาก็ไดสรางอาคารชั่วคราว แลวก็ไดเปดทําการอยางเปนทางการ<br />

เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ในปเดียวกัน ลักษณะโดยทั่วไปของอาคารที่ไดจัดทํา<br />

การสรางใหกับนักเรียนที่นี่ ซึ่งใชพื้นที่ในบริเวณวัดในปจจุบันเปนสถานที่สรางอาคาร<br />

โดยมีการจัดการสอนตั้งแตระดับชั้น อนุบาลจนถึงชั้น 4 มีลักษณะเปนอาคารชั้นเดียว<br />

แตแบงออกเปน 4 หองเรียน ซึ่งในแตละชั้นก็ไมไดมีการแบงกั้นอยางชัดเจน<br />

ดังภาพตัวอยาง<br />

13 สัมภาษณเจามอนแสง อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543 วันที่ 11 เมษายน 2551.


105<br />

ภาพที่ 5.2 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2543 14<br />

ชั้น 4 ชั้น 3 ชั้น 2<br />

ชั้น 1 ชั้นอนุบาล<br />

ตอมาเมื่อวันที่ 29 เดือนกันยายน ปเดียวกันโรงเรียนก็ไดยายจากอาคารชั่วคราว<br />

ที่วัดมาอยูในที่ปจจุบัน แลวไดมีการสรางอาคารเรียนที่มีโครงสรางที่มั่นคงขึ้น ในขณะ<br />

ที่อาคารเดิมที่เปนอาคารชั่วคราวก็ไดมอบหมายใหนางญิงแสงหมวยดูแลเด็กที่อยู<br />

ในระดับชั้นกอนวัยเรียนเปดเปนศูนยพัฒนาเด็กเล็กแทน<br />

พอปลายป พ.ศ. 2544 ทางโรงเรียนก็ไดงบประมาณในการจัดสรางโรงเรียน<br />

ที่เปนอาคารของตนเองขึ้นมา ทําใหจากที่เคยมีเด็กประมาณ 84 คนในชวงแรกๆที่ทํา<br />

การเปดโรงเรียน จนมีเด็กใน ณ ขณะนั้นมีเด็กเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 123 คน ซึ่งอยูใน<br />

ระหวางชวงตนเทอมที่ 2 ของภาคการศึกษา ป 2543<br />

ตอมาจํานวนเด็กก็ไดมีการเพิ่มเติมเรื่อยๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีเริ่มมีการเปด<br />

ในระดับชั้นที่สูงขึ้น จึงทําใหนักเรียนเพิ่มขึ้นตามชั้นป จากจํานวนของเด็กนักเรียน<br />

ชุดแรกที่มาเรียนที่นี่ และขณะเดียวกันในป พ.ศ. 2543 โรงเรียนก็ไดขยับเปดชั้นเรียน<br />

เพิ่มตามปการศึกษาของเด็กที่จะตองเลื่อนชั้น จนในขณะนั้นจึงไดถึงระดับชั้น 5<br />

สวนรูปแบบของอาคารเรียนนั้นมีลักษณะของตัวพยัญชนะ E ตามรูปแบบที่เจา<br />

มอนแสงไดออกแบบ ดังภาพตัวอยาง<br />

14 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 8 เมษายน 2551.


106<br />

ภาพที่ 5.3 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2544 15<br />

ชั้น 5<br />

ลักษณะอาคารที่ใชทําการเรียนการสอนในชวงป พ.ศ. 2544<br />

ชั้น 4 ชั้น 2 ชั้นอนุบาล<br />

ชั้น 3<br />

ชั้นอนุบาล<br />

ชั้น 1<br />

โดยสภาพทั่วไปของลักษณะของอาคารจะเปนอาคารไมโดยใชชื่อวา<br />

“โรงเรียนเชื้อชาติดอยไตแลงหมายเลข 1” ภายในมีโตะและเกาอี้ที่ทํามาจากไมไผ<br />

หลังจากนั้นตอมาเมื่อมีเด็กเขามาเรียนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในชั้นตนๆ เชน อนุบาล และ<br />

ชั้น 1, 2 จึงตองใหมีการปรับเปลี่ยนและเพิ่มหองเรียนใหเหมาะสมกับจํานวนเด็กมาก<br />

ขึ้น สงผลใหบางหองตองขยับขยายและยายหองตามความเหมาะสม<br />

15 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 8 เมษายน 2551.


107<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา<br />

ในชวงของการดูแลของเจามอนแสงนั้น ก็ยังไมมีหลักสูตรในการจัดการศึกษา<br />

อยางชัดเจน ซึ่งเจามอนแสงก็ไดมีการจัดซื้อหนังสือตําราตางๆ ที่เปนแบบเรียน<br />

แบบสําเร็จจากที่ตางๆ มาใชในการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหเด็กนักเรียนไดเรียน<br />

และมีความรูตามสภาพของการจัดการศึกษาในขณะนั้น<br />

หลักสูตรของการศึกษาในขณะนั้นจะเนนเพียงใหเด็กไดเรียนวิชาหลักๆ เชน<br />

ภาษาไทใหญ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร โดยในชวงแรกนั้นไดใชวิธีการสอนเพียงใหครู<br />

ที่ขออาสาใหมาชวยสอนตามความรูพื้นฐานของครู และการตอยอดของพื้นฐาน<br />

การเรียนของเด็กที่ไดเรียนผานมาแลว<br />

ดังนั้นการเรียนสอนในชวงแรกจึงยังไมมีหลักสูตรที่ชัดเจน เพราะยัง<br />

เปนในชวงของการจัดระบบใหเขาที่เขาทาง และเนนสอนตอเนื่องใหกับเด็กที่ยายมา<br />

จากอําเภอฝางมากกวา ประกอบกับในชวงนั้นทั้งสถานที่ และบุคลากรก็ยังไมพรอม<br />

ดวย ทําใหเด็กไดเรียนแบบปรับพื้นฐานใหมอีกรอบ เชนภาษาอังกฤษก็ตองเริ่มสอน<br />

ตั้งแตการอาน เขียนพยัญชนะ และคณิตศาสตรก็สอนการบวก ลบ คูณ หาร เบื้องตน<br />

เปนตน แตในสวนของภาษาไทใหญก็สอนตอเนื่องจากชั้นระดับชั้น 4 เปนระดับชั้น 5<br />

ซึ่งเนื่องจากเปนวิชาที่ครูผูสอนในขณะนั้นมีความพรอมในการสอนมากที่สุด<br />

จ) รูปแบบของการเรียนการสอน<br />

รูปแบบในการเรียนการสอนก็เปนแบบเรียนรวมกัน ซึ่งในขณะนั้นเด็กตอง<br />

เรียนในระดับชั้น 4 ซึ่งตอเนื่องจากที่เคยเรียนมา ทําใหการเรียนจึงเปนไปแบบไมเปน<br />

ทางการโดยใหครูผูสอนเปนเหมือนพี่เลี้ยงคอยสอน โดยใชรูปแบบของการบรรยายและ<br />

ใหทําแบบฝกหัดในหองรวมกัน ซึ่งจายหนุม อดีตนักเรียนในขณะนั้นเลาใหฟงวา<br />

“ในตอนนั้นครูที่มาสอนก็ไมไดสอนอะไรมากมาย<br />

สวนใหญจะสอนแบบพื้นฐานทั่วไป เพราะตอนที่เราเรียนจาก<br />

ครอบครัวฝรั่งเราไดเรียนมาเยอะแลว ทําใหพอมาเรียนที่นี้จึงเปน<br />

อะไรที่เราเคยเรียนมาแลว เชน วิชาคณิตศาสตรก็เรียนแค บวก ลบ


108<br />

คูณ หาร ธรรมดา สวนภาษาอังกฤษก็ตองเริ่มตนเรียนพยัญชนะใหม<br />

ทําใหเด็กที่เคยเรียนจากฝรั่งรูสึกเบื่อ” 16<br />

พื้นที่ที่ใชในการสอนนั้นมีการเปลี่ยนแปลงหลายแบบ ซึ่งในชวงแรกจะอยูใน<br />

บริเวณของวัด ซึ่งตอมาก็ไดขยับขยายออกมาสรางอาคารเรียนของตนเอง ทําใหเด็กใน<br />

ภาคการศึกษานั้นจึงเปนสวนหนึ่งกลุมคนที่มีบทบาทตอการวางรากฐาน โครงสราง<br />

และพื้นที่ในการเรียนการสอนที่มีพัฒนาการมาจนถึงปจจุบัน<br />

ในชวงนี้จึงทําใหเห็นถึงบรรยากาศที่ยังไมมีความพรอมของระบบการศึกษาที่<br />

ยังไมลงตัว ทําใหเด็กที่ยายมาจากฝางบางคนเลิกที่จะเรียนตอ แตในขณะที่ก็ไดเด็กคน<br />

อื่นๆ ไดยายเขามาเรียนที่นี่เพิ่มมากขึ้น เพราะไดรูวาที่นี่มีการเรียนการสอนหนังสือ<br />

ดังนั้นจึงไดพากันเขามายังโรงเรียนแหงนี้ ทําใหทางกองกําลังฯ ตองรับภาระในการดูแล<br />

และจัดการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น<br />

ฉ) โครงสรางของบุคลากร<br />

เมื่อการจัดการศึกษาที่โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงลงตัวมากขึ้น ในชวงของ<br />

ของเจามอนแสงที่ทําหนาที่ของกรรมาธิการแหงการศึกษา ทางโรงเรียนจึงมีรูปแบบ<br />

และโครงสรางการของการบริหาร และบทบาทหนาที่ที่ชัดเจนดังนี้<br />

16 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 8 เมษายน 2551.


109<br />

ภาพที่ 5.4 โครงสรางของบุคลากรในชวงป พ.ศ. 2543-44 17<br />

เจามอนแสง<br />

กรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

แมครูเมี๊ยะจิ่ง<br />

ครูใหญโรงเรียน<br />

ครูผูสอน ครูผูสอน ครูผูสอน<br />

ในปตอมาก็ไดมีจํานวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้น จากภาคสวนตางๆ ของเขตรัฐฉาน<br />

ตอนในที่ไดขาววาที่ดอยไตแลงไดมีการเปดโรงเรียนสอนใหกับเด็กตางๆ รวมถึงก็มีครู<br />

เพิ่มมาดวยจากที่ตาง ๆ ที่มีใจอยากจะมาเปนครูเพื่อสอนใหกับเด็กที่นี่ ทําใหโรงเรียน<br />

แหงชาติดอยไตแลงไดเปนที่รูจักในแวดวงของคนไทใหญในสวนตางๆ มากขึ้น<br />

เมื่อทุกอยางเริ่มมีความลงตัว ทําใหเจามอนแสงไดมอบหมายใหกับครูรุนใหมๆ<br />

ที่เขามาอยูกับกองกําลังไดพัฒนาการศึกษาไดเต็มกําลังมากขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งก็จะไดให<br />

ผูที่มีความรูความสามารถที่ตรงกับการจัดการศึกษาไดมีสวนในการวางรูปแบบ และ<br />

นโยบายที่สอดคลองที่จะใหโรงเรียนแหงนี้ไดทําหนาที่ของการเปนองคกรที่พัฒนาให<br />

คนในชาติไดมีความรักชาติ ที่เปนแรงกําลังใหกับทางกองกําลัง และในฐานะของการ<br />

เปนพลเมืองของรัฐฉานที่จําเปนตองมีความรู และความสามารถเปนรากฐานสําคัญใน<br />

การกอบกูเอกราชบานเมืองตอไป<br />

17 สัมภาษณเจามอนแสง (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543 วันที่ 11 เมษายน 2551.


110<br />

5.2.2 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวง พ.ศ. 2544 – 50<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงชวงนี้เปนชวงที่มีพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงสูงมาก<br />

ซึ่งนอกจากจะเปนชวงที่มีการพัฒนาไดเขาที่เขาทางแลว ในชวงนี้ยังมีผูที่ดํารงตําแหนงทางดาน<br />

ของฝายกรรมาธิการฝายการศึกษาที่มีความพรอมทั้งทางดานของวัยวุฒิ คุณวุฒิทางการศึกษาที่<br />

เหมาะสม จึงทําใหในชวงนี้มีการพัฒนาของโรงเรียนเขาสูระบบของทางกองกําลังฯ มากขึ้น<br />

ภายหลังของการวางรากฐานทางการศึกษาของเจามอนแสงไดพักหนึ่ง ก็ไดมีจํานวน<br />

นักเรียนและครูที่อาสาเขามาจัดการเรียนการสอนสําหรับโรงเรียนที่นี่ ในขณะที่ครูเคอแสนหนึ่งใน<br />

ครูผูสอนก็ไดรับความไววางใจจากเจายอดศึก ผูนําสูงสุดใหรับตําแหนงของเลขาธิการแหง<br />

“สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) 18 ซึ่งเปนหนวยงานที่<br />

ดําเนินงานทางดานการเมืองและการทหารที่เปรียบเสมือนฝายกูชาติไทใหญ<br />

พรอมกันนั้นครูเคอแสนก็ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมาธิการฝายการศึกษาดวย ซึ่งถือ<br />

ไดวาในชวงของการเขามาดูแลทางดานการศึกษาของครูเคอแสนนั้นมีบทบาทในการวางรากฐาน<br />

สําคัญใหกับโรงเรียนอยางมากจนถึงปจจุบัน<br />

ก) ครูเคอแสน : ผูหญิงที่วางรากฐานการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

ครูเคอแสน 19 ครูหญิง อดีตผูนํานักศึกษาไทใหญที่เคยติดคุกตั้งแตยังเปนสาว<br />

รุนอายุ 18 ป ซึ่งจบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศพมาในยุคแรกๆ และ<br />

ทํางานดานการศึกษาใหกับคนไทใหญมาหลายสิบป และที่นี่ครูเคอแสนก็ไดเขารวมกับ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญในฐานะเลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS<br />

(Restoration Council of Shan State) และกรรมาธิการฝายการศึกษา ครูเคอแสนเปน<br />

หนึ่งในผูที่มีบทบาทของการศึกษาในโรงเรียนดอยไตแลงเปนอยางมากอีกทานหนึ่ง<br />

18 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว บรรณาธิการ.บันทึกจากสนามรบ. สํานักพิมพศยาม,2548: น. 60.<br />

19 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks: 2550, หนา 97.


111<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา<br />

สําหรับการจัดการศึกษาที่โรงเรียนในชวงนี้ ซึ่งครูเคอแสนมีความชัดเจน<br />

ทางดานจัดการศึกษาใหกับเด็กที่มาเรียน ณ โรงเรียนแหงนี้ ครูเคอแสนเริ่มตน<br />

ดวยการถามเจายอดศึก ในฐานะของการเปนผูนําสูงสุดของกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

ถึงความคาดหวังหรือทิศทางที่ทางทานผูนําอยากใหเด็กนักเรียนที่นี่ไดเปนภายหลังจาก<br />

ที่ไดรับการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ครูเคอแสนเลาใหฟงวา<br />

“เราถามเจา วาเจาอยากใหเด็กที่นี่เปนอยางไร<br />

เจาตอบวาเรื่องของการศึกษาใหทางครูเคอแสนจัดการเลย เราจึง<br />

ถามตอไปอีกวาในฐานะที่ทานเปนผูนําทานอยากเห็นเด็กของ<br />

ทานเปนอยางไร เจายอดศึกก็ตอบอีกวาอยากใหเด็กมีความรัก<br />

ชาติบานเมือง” 20<br />

จากบทสนทนาดังกลาวนี้เองครูเคอแสนจึงไดแนวทางสําคัญใน<br />

การจัดการศึกษาใหกับเด็กที่โรงเรียนนี้ จึงไดนําเสนอนโยบายซึ่งถือไดวาเปนหัวใจ<br />

สําคัญของการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบของหลักสูตร หลักปฏิบัติ รวมถึง<br />

การเขียนตําราตางๆ ที่จะออกมาใหกับครูคนอื่นๆ ใชในการจัดการเรียนการสอนใหกับ<br />

เด็กตอไป สําหรับการจัดการศึกษาที่นี่ครูเคอแสนไดมีนโยบาย 4 ขอสําคัญที่เสนอ<br />

ใหกับเจายอดศึกคือ<br />

- การใหเด็กทุกเชื้อชาติที่อยูบนผืนแผนดินของรัฐฉานไดเขาถึงการศึกษา<br />

และสามารถอานออกเขียนได<br />

- การใหเด็กที่เขาถึงการศึกษาทุกคนมีความรักชาติบานเมือง<br />

- การใหรัฐฉานเปนประเทศแหงเกษตรกรรม<br />

- เมื่อรัฐฉานเปนประเทศแหงเกษตรกรรมไดแลวก็ใหกาวไปสูประเทศ<br />

อุตสาหกรรมตอไป 21<br />

20 สัมภาษณครูเคอแสน (อดีต)เลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) อดีต<br />

ผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร วันที่ 8 เมษายน 2551.<br />

21 สัมภาษณคนเดียวกัน,อางแลว.


112<br />

นโยบายสําคัญของครูเคอแสนในขณะนั้นจึงเปนการพยามใหการศึกษา<br />

เปนรากฐานสําคัญของการกูชาติ สวนที่เหลือเพื่อใหไดมีความรูและนําไปใชได<br />

อยางเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเอง และรากเหงาทางวัฒนธรรม และการเมือง<br />

จากนโยบายที่สําคัญดังกลาวทําใหครูเคอแสนจัดการเรียนการสอนที่เปนหลักสูตร<br />

เรงรัด เพื่อใหเด็กไดเรียนรูและนําไปใชไดอยางเร็วที่สุด<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน<br />

ในขณะที่ระดับชั้นของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงไดเพิ่มระดับชั้นขึ้นเรื่อยๆ<br />

ซึ่งในป พ.ศ. 2545 นักเรียนที่อยูระดับชั้น 5 ก็ขึ้นระดับชั้น 6 ทําใหจําเปนตองมีการปรับ<br />

หองเรียนเพื่อใชขยายขึ้นสําหรับชั้นที่เปดเพิ่มขึ้นอีก และในปนี้ก็ทําใหมีเด็กเพิ่มขึ้นจาก<br />

เดิมเปน 500 กวาคน ในสวนของอาคารก็เริ่มเปนอาคารแบบแข็งแรงมากขึ้น แทนที่<br />

อาคารที่เปนไม ซึ่งอยูทางดานขวามือของอาคารหลังเดิม และคอยๆตอเติมใหเปน<br />

อาคารปูนซีเมนตมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้ยังมีการสรางหอพักชายอยูบริเวณหนาอาคาร<br />

เรียนทางดานขวามือเชนกัน<br />

ภาพที่ 5.5 แผนผังอาคารเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงป พ.ศ. 2545<br />

ชั้น 3<br />

ชั้น 4<br />

ชั้น 5<br />

ชั้น 2 (หอง 1) ชั้น 2 (หอง 2)<br />

ชั้น 1<br />

ชั้นอนุบาล


113<br />

ตอมาในป พ.ศ. 2546 ชั้น 7 ก็เริ่มเปดสอนเพิ่มเติม สวนจํานวนเด็กในปนี้<br />

ก็มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 600 คน และอาคารเรียนก็สรางดวยปูนซีเมนตครบทั้งสองฟาก<br />

ในปนี้เอง ทางดานของหอพักชายก็ไดยายจากขางหนาโรงเรียนมาเปนตรงบริเวณตลาด<br />

เกาของเจาเคอเงินที่ไดสรางตรงบริเวณดานลางทางดานขวามือของโรงเรียน ในขณะที่<br />

หอพักของนักเรียนหญิงก็ยังคงตั้งอยูที่เดิม คือบริเวณศาลเจาเมือง ตั้งแตในป พ.ศ. 2544<br />

ในปเดียวกันโรงเรียนก็ไดมีชั้น 8 โดยที่จํานวนของเด็กที่เรียนถึงชั้นระดับสูงๆ<br />

ก็มีจํานวนลดลงเรื่อยๆ ซึ่งสวนหนึ่งก็มาจากความสนใจและความตอเนื่องของเด็กที่<br />

ตองการเรียนในระดับชั้นสูงๆ ลดลงดวย กลาวคือ จากในปแรกๆ ของกลุมเด็กที่เปน<br />

รุนแรกที่มาเรียนที่นี้มีประมาณ 33 คน ตอจากนั้นมาก็ลดนอยลงเรื่อยๆ เชน ในป<br />

พ.ศ. 2547 ก็เหลือเด็กที่เรียนในชั้น 8 แค 8 คน เปนตน<br />

ทั้งนี้เนื่องมากจาการเรียนในระดับสูงขึ้นนั้นมีความยากมากขึ้น ประกอบกับ<br />

สถานการณที่ไมมีความมั่นคงนั้น จึงทําใหนักเรียนบางสวนตองเลิกเรียน แตก็ไมได<br />

หมายความวาจะหมดสภาพของการเปนคนที่จะตองอยูในความดูแลของกองกําลังฯ<br />

ซึ่งบางสวนก็ตองไปทํางานชวยของสภากอบกูเพื่อเอกราชรัฐฉาย (RCSS) ตามเงื่อนไข<br />

ของการดูแลของกองกําลังที่ผานมา โดยการทํางานในสวนตางๆ ของสภาฯ นั้นจะ<br />

ขึ้นอยูกับความถนัดและความสนใจของเด็กคนนั้นๆ รวมถึงความเหมาะสมที่จะไดรับ<br />

มอบหมาย ยกเวนการทํางานในสวนของการเปนทหาร ซึ่งหากอายุไมถึง 18 ปขึ้นไปนั้น<br />

จะยังไมอนุญาตใหทํางานในสวนนี้<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา<br />

กอนจะเปนหลักสูตรที่เดนชัดเจนนั้น นโยบายหลัก 4 ขอดังกลาวก็ ถือไดวา<br />

เปนจุดเปลี่ยนแปลงของการศึกษาที่นี่อยางมาก ซึ่งในเวลาตอมาครูเคอแสนก็ไดมี<br />

การแบงเนื้อหลักสําคัญสําหรับการจัดการเรียนการสอนสําหรับเด็กในแตละชั้น<br />

โดยครูเคอแสนไดเลาใหฟงถึงความยากลําบากของการออกแบบหลักสูตรที่ใชในการ<br />

เรียนการสอนในชวงนั้นวา<br />

“กอนที่จะไดหลักสูตร และเนื้อหาสําหรับการสอน<br />

ในโรงเรียนแหงนี้ แมครูตองศึกษาเอกสารตําราเรียนจาก


114<br />

หลากหลายแหง เชน สิงคโปร พมา ฟลิปปนส อินเดีย นอรเว และ<br />

อื่นๆ อีกหลายที่รวมทั้งของไทยเอง ซึ่งในแตละที่ก็มีจุดออนจุดแข็ง<br />

แตกตางกันไป แตแมครูก็ไดเลือกเนื้อหาและรูปแบบที่เปนสากลมา<br />

ใชสอนสําหรับเด็กที่นี่” 22<br />

ขอสรุปสําคัญที่เปนปจจัยสําคัญของความเหมาะสมระหวางพื้นที่และตัวผูเรียน<br />

ที่ครูเคอแสนไดใหรายละเอียดไวดังนี้<br />

- ดอยไตแลงเปนฐานทัพของกองกําลังกูชาติไทใหญที่เพิ่งยายมาอยูที่นี้ ทําให<br />

สถานการณของความไมแนนอนกับพื้นที่ที่มีผลตอการอพยพโยกโยกยายอยู<br />

ตลอดเวลา<br />

- สําหรับเด็กที่นี่ไมมีเวลามากมายสําหรับที่จะใหเขาไดเรียนหรือศึกษาในระดับ<br />

กวางมากนัก ทําใหตองคัดเลือกเนื้อหาที่จําเปนตอการศึกษาที่เหมาะสมเปน<br />

อยางมาก<br />

- เด็กที่มาเรียนที่นี่มีความหลากหลายทั้งทางดานชวงอายุ สถานภาพ และชวง<br />

ชั้น ดังนั้นสงผลทําใหเกิดความยากในการจัดการศึกษาที่เหมาะสมตามความ<br />

หลากหลายดังกลาว<br />

- หลักของการสอนในรูปแบบของหลักสูตรที่มีความเรงรัดที่ใหเหมาะสมกับ<br />

พื้นที่และสถานการณความไมมั่นคงของสิ่งตางๆรอบตัว จึงจําเปนจะตองจัด<br />

การศึกษาใหกับเด็กไดเรียนรูจักสิ่งที่กวาง และเนื้อหาที่ใหญไกลตัวกอนแลว<br />

คอยเจาะเขามาในสวนเรื่องในหนวยที่เล็กลง และมีความละเอียดมากขึ้น<br />

ที่เหมาะสม ใกลตัว และสามารถถนําไปใชไดจริง 23<br />

จากหลักการวิเคราะหกลุมเปาหมายของพื้นที่ และตัวผูเรียนดังกลาวทําให<br />

ครูเคอแสนตองวางโครงสรางหลักสูตรในรูปแบบที่ใหเด็กในระดับชั้นเริ่มตนไดศึกษา<br />

วิชาตางๆ ในรูปแบบของเนื้อหาแบบกวางๆ จากตัวและมีเนื้อหาบางสวนบางตอน<br />

เทานั้น ซึ่งไมจําเปนตองลงรายละเอียดมาก แตในสวนของเด็กที่มีลําดับชั้นที่สูงๆ<br />

22 สัมภาษณครูเคอแสน (อดีต)เลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) อดีต<br />

ผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร ที่ 8 เมษายน 2551.<br />

23 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว.


115<br />

ขึ้นไปคอยใสรายละเอียดเนื้อหาที่แคบลง แตตองมีความลึกลงไปในรายละเอียดใหมาก<br />

ที่สุด<br />

ตอมาไดเขียนตําราที่เปนหนังสือแบบเรียนภาษาไทใหญหลากหลายวิชา เชน<br />

ภูมิศาสตร คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เปนตน สําหรับการจัดการเรียนการสอนที่นี่<br />

ครูเคอแสนไดเขียนแบบเรียนใหกับเด็กในแตละชั้นที่เนนเนื้อหาที่คอนขางจะแตกตาง<br />

จากแบบเรียนและเนื้อหาที่เด็กเคยไดเรียนผานมา ซึ่งแมครูไดใหเหตุผลสําหรับ<br />

การจัดหลักสูตรแบบนี้วา<br />

“สําหรับเด็กที่นี่ เราไมมีเวลามากสําหรับที่จะมาจัดการ<br />

เรียนการสอนแบบคอยเปนคอยไป เพราะเด็กที่นี่มีความจําเปนที่<br />

จะตองเรียนแบบเรงรัด เนื้อหาที่เรียนตองเรียนจากระบบที่ใหญมาสู<br />

ในระบบที่เล็กและใกลตัว เมื่อถึงระดับชั้นที่โตขึ้น ดังนั้นเนื้อหา<br />

ตองเลือกใหเหมาะสมกับเรื่องใกลตัวที่เด็กตองเรียนรู แตในสวน<br />

ของเนื้อหาประกอบอื่นๆ ไมจําเปนตองไปจําและเรียนรูมาก” 24<br />

ภาพที่ 5.6 ภาพตัวอยางหนังสือที่ครูเคอแสนไดเขียน<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

24 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


116<br />

จ) รูปแบบของการเรียนการสอน<br />

ในสวนของรูปแบบและบรรยากาศในการเรียนก็จะเนนใหครูที่สอน ในขณะ<br />

นั้น ไดทําการสอนแบบไมจําเปนตองใชหนังสือเรียนตลอดเวลา เนนใหครูผูสอน<br />

ไดมีความรูในการสอนกอนอยางเขาใจ แลวคอยไปทําการสอนใหกับเด็ก<br />

สวนกระบวนการสอนก็มีทั้งในภาคของการบรรยายและใหเด็กไดเรียนตามแบบฝกหัด<br />

ที่ครูผูสอนไดมอบหมาย<br />

แตก็มีเด็กสวนใหญ และครูบางทานที่มีความคิดแตกตางจากทาน จึงไดแสดง<br />

ความคิดเห็นวาเนื้อหาที่ครูเคอแสนไดจัดใหกับเด็กในแตละชวงชั้นนั้นมีความยาก<br />

เกินไป และในบางเรื่องยังเปนเรื่องที่เหนือความเปนจริง ซึ่งมักจะมีความคิดเห็นโตแยง<br />

วาเนื้อหาดังกลาวเปนการแตงเรื่องขึ้นมาที่นอกเหนือจากความเปนจริง ทั้งๆที่ในเรื่อง<br />

ดังกลาวเปนหลักของวิทยาศาสตรตามหลักสากล เชน ตัวอยางการโตแยงในกรณีที่<br />

ครูเคอแสนนําเสนอตําราสอนวิชาภูมิศาสตรเกี่ยวกับโลกที่มีลักษณะกลม แตเกิด<br />

ขอถกเถียงจากฝายที่ไมเขาใจหลักวิทยาศาสตรวาเปนการที่พูดเกินความจริง เปนตน<br />

ผลงานสําคัญของครูเคอแสน ก็คือการที่ไดเขียนตําราเรียนสี่ภาษาใหเด็ก<br />

ไทใหญเรียนกันทั้งภาษาพมาภาษาไทย ภาษาไทใหญ ภาษาอังกฤษ ชั่วเวลาสองป<br />

ครูเคอแสนเพียงคนเดียวสามารถเขียนตําราเสร็จ ตีพิมพเรียบรอยถึงรวมยี่สิบเลม เปน<br />

ตําราประวัติศาสตรไทใหญ ภูมิศาสตร คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษวิทยาศาสตรธรรมชาติ<br />

มีกระทั่ง Picture Dictionary เทียบคําภาษาไทใหญกับภาษาอังกฤษ มีรูปประกอบงดงาม<br />

รวมทั้งสอนเรื่องโลกจักรวาล พรอมกับสอนใหเด็กไทใหญดูดาวบนฟา แถมมี<br />

ภาพประกอบสีสันสดสวย ครูเคอแสน วาดลงสี ทั้งหมดดวยฝมือตัวเอง<br />

ในป พ.ศ. 2550 ครูเคอแสนก็ไดยุติบทบาทของการทําหนาที่ทางดานการศึกษา<br />

ใหกับโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง และเลิกเขียนตําราเรียนสงใหกับทางโรงเรียน<br />

เนื่องจากเกิดความขัดแยงภายใน ซึ่งสวนหนึ่งมาจากระบบความคิดที่แตกตางกัน ทําให<br />

การอุดมการณไมตรงกัน จึงทําใหครูเคอแสนถอนตัวออกมาจากการทํางานดังกลาว<br />

สงผลใหในปจจุบันหลายวิชาไดไดขาดความตอเนื่องในรูปแบบของตําราเรียน เชน<br />

วิชาหลักๆในชั้นที่ 7, 8, 9, จึงทําใหการเรียนการสอนในวิชาเหลานั้นบนดอยไตแลง<br />

ตองแปลเอกสารจากหลากหลายตํารา เชน พมา และตางประเทศเปนตน


117<br />

ฉ) โครงสรางของบุคลากร<br />

ในชวงของการดูแลของครูเคอแสนที่ดํารงตําแหนงกรรมาธิการฝายการศึกษามี<br />

บุคลากรที่อยูในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น โดยมีครูกอนแลงเปนผูอํานวยการโรงเรียน แตก็มี<br />

บุคลากรที่เปลี่ยนแปลงอยูบอยครั้ง ทั้งนี้ก็เนื่องมาจาดสภาพความเปนอยูที่คอนขาง<br />

ลําบาก ซึ่งในบางครั้งการทํางานในดานการศึกษาก็ตองอาศัยความอดทนอยางมากที่จะ<br />

ทําใหเด็กเรียนรูและเขาใจ และอีกดานหนึ่งคือการทํางานทางความคิดแกบุคคลากร<br />

ตางๆ ที่สวนใหญจะเปนระบบสังคมแบบทหาร จึงทําใหความอิสระทางความคิด<br />

บางอยางอาจจะไมสามารถแสดงออกมาไดทั้งหมด ซึ่งครูเคอแสนไดเลาถึงการทุมเท<br />

ในการสรรหาครูมาชวยสอนที่โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงวา<br />

“สมัยนั้นเราตองไปชวนเพื่อนๆ และครูที่อยูในเขตรัฐฉาน<br />

มาชวยสอนที่นี่ เราตองไปรับเขาถึงในรัฐฉานเพื่อใหมาที่นี่<br />

เงินเดือนก็นอยแตครูเขาก็มา เพราะอยากจะมากูชาติดวยกัน<br />

ตอนนั้นที่โรงเรียนจึงมีครูเยอะมาก” 25<br />

ภาพที่ 5.7 โครงสรางบุคลากรในชวงป 2544-50 26<br />

ครูเคอแสน<br />

กรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

ครูกอนแลง<br />

ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

ครูผูสอน ครูผูสอน ครูผูสอน<br />

25 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว.<br />

26 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว.


118<br />

การจัดระเบียบครูในตอนนั้น ครูเคอแสนคอนขางจะเขมงวดกับการทํางาน<br />

ของครู โดยใหมีระบบตรวจสอบการทํางานของครูอยางเขมงวด เชน ใหครู<br />

เขียนรายงานการเรียนการสอนทุกวัน ในขณะที่ก็ใหนักเรียนสามารถเขียนผลสะทอน<br />

การเรียนการสอนสงใหกับครูเคอแสนไดโดยตรง ซึ่งการจัดระบบแบบนี้ทําใหครูและ<br />

นักเรียนอยูในระบบมากขึ้น ถึงแมวาครูเคอแสนจะไมไดอยูประจําโรงเรียนทุกวัน<br />

แตก็ไมทําใหระบบการทํางานขาดประสิทธิภาพ<br />

5.2.3 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2550 – 51 27<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในขณะนี้อยูในชวงที่ 3 ซึ่งหลังจากมีการพัฒนามาหลาย<br />

ชวงที่ผานมา ทําใหโรงเรียนมีทิศทางในการบริหารจัดการอยางเต็มรูปแบบมากขึ้น และที่สําคัญ<br />

ทิศทางของโรงเรียนกับการถายทอดของอุดมการณชาตินิยมไทใหญไดมีรูปแบบที่ชัดเจนขึ้นดวย<br />

ซึ่งในรายละเอียดของพัฒนาการ และรูปแบบของจัดการศึกษาของโรงเรียนจะลงในรายละเอียดมาก<br />

ขึ้น เพื่อใหเห็นถึง “โฮงเฮนเจอจาด” ในบทบาทของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ที่เปนพื้นที่ของ<br />

คนพลัดถิ่นในการจัดการศึกษาเพื่อการกอบกูชาติบานเมือง ที่อยูในระบบของการศึกษา โดยผูศึกษา<br />

จะเนนรายละเอียดของการจัดการศึกษาในชวงนี้ เพื่อใหเห็นถึงรายละเอียดของการจัดการศึกษาใน<br />

การถายทอดอุดมการณชาตินิยมในระบบโรงเรียน ทั้งนี้ผูศึกษาจะแบงในสวนของเนื้อหา และ<br />

กระบวนการถายทอดอุดมการณชาตินิยมแยกออกมาในอีกประเด็นหนึ่ง ซึ่งจะกลาวในรายละเอียด<br />

ตอไป<br />

พัฒนาการของโรงเรียนในชวงนี้จะเริ่มตนตอจากที่ครูเคอแสนไดยุติบทบาท<br />

ในการรับผิดชอบของการเปนเลขาธิการแหง “สภากอบกูเอกราชรัฐฉาน” และในฐานะของการ<br />

เปนผูรับผิดชอบทางดานการศึกษาลงนั้น ครูเมืองหอบก็ไดเขามารับผิดชอบฝายการศึกษาแทน<br />

ภายใตของสถานการณ และบริบทตางๆ ไดเปลี่ยนไป รวมถึงแนวความคิด และการวางนโยบาย<br />

ตางไดปรับประยุกตตามวาระและโอกาสที่เปลี่ยนไป<br />

27 ผูศึกษาจะทําการศึกษาวิเคราะหการจัดระบบการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงถึงเพียงชวงป พ.ศ. 2551 เพราะเปนชวง<br />

สุดทายของผูที่มีบทบาทของการจัดการศึกษาในยุคที่ 3 ซึ่งจะกลาวในรายละเอียดตอไป


119<br />

ก) ครูเมิงหอบ : การศึกษาเพื่อสรางชาติ<br />

ครูเมืองหอบ ในอดีตเปนชาวเมืองทา ในเขตรัฐฉาน ซึ่งเคยเปนอาจารยสอนอยู<br />

เมืองกึ๋ง ในป พ.ศ. 2526-2531 หลังเกิดเหตุการณเรียกรองประชาธิปไตยในพมา เขาได<br />

กลับมาอยูที่เมืองทา และรวมขบวนการกูชาติไทใหญ ตอมาป พ.ศ. 2539 เมื่อขุนสาวาง<br />

อาวุธ ทหารพมามาอยูเต็มเมือง ตนเองจึงรูสึกไมปลอดภัย ตอมาก็ไดยายมาอยูเมืองไทย<br />

ไดสักพัก ในป พ.ศ. 2545 ก็กลับเขามารวมขบวนการกูชาติกับเจายอดศึก มาจนถึง<br />

28<br />

ปจจุบันนี้<br />

ข) หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา<br />

นโยบายสําคัญของการเขามารับตําแหนงดังกลาวของครูเมืองหอบ ก็คือ<br />

การวางรากฐานทางการศึกษาของโรงเรียนดอยไตแลงใหม โดยไดวางแนวทางใน<br />

การจัดการการศึกษา และรูปแบบ โครงสรางของการดูแลเด็กในโรงเรียนที่พยายามให<br />

อยูในระบบเดียวกันหมดในจํานวนของโรงเรียนที่สังกัดภายใตสภากอบกูเอกราช<br />

รัฐฉาน เพื่อใหเปนมาตรฐานของการจัดการศึกษาของโรงเรียนภายใตการดูแลของ<br />

สภาฯ ซึ่งหลักการสําคัญของการจัดการศึกษาของสภาฯ คือ<br />

“เด็กวันนี้คือผูใหญในวันหนา หรือเด็กวันนี้คือพลังของ<br />

ชาติบานเมือง เพราะฉะนั้น การเรียนการสอนตองมีระเบียบ ใหเด็ก<br />

อยูในระเบียบวินัย เพื่อใหมีนิสัยดี คือเปนผูที่เขากับระเบียบไดดี<br />

ถาโรงเรียนสอนใหเด็กอยูในระเบียบ เคารพกฎในวัยเด็ก ถาโตมาก็<br />

จะเปนพลเมืองดี อยูภายใตระเบียบของบานเมืองได และผลดีตอมา<br />

ก็จะนําไปสูความรูความกาวหนาพัฒนา” 29<br />

28 บทสัมภาษณครูเมิงหอบ จากเวบไซต http://www.prachatai.com/05web/th/home/13090<br />

วันที่ 27 สิงหาคม 2551<br />

29 ขอความจากเอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf<br />

วันที่ 27 กันยายน 2550


120<br />

ค) สภาพทั่วไปของโรงเรียน<br />

เมื่อป พ.ศ. 2548 ที่ผานมา โรงเรียนก็ไดเปดถึงชั้นที่ 9 ซึ่งถือไดวาเปนชั้นที่<br />

เกือบถึงชั้นสูงสุดของโรงเรียนดอยไตแลงที่ตองการเปดถึงระดับชั้น 10 ที่ถือไดวาเปน<br />

ชั้นที่สูงสุดของหลักสูตรของการศึกษาที่ไดพัฒนามาจากพมา แตในขณะเดียวกัน<br />

จํานวนของเด็กก็ลดลงเรื่อยๆ จนเหลือเด็กในชั้นนี้เพียง 3 คน ซึ่งสาเหตุสวนหนึ่ง ทําให<br />

เด็กในบางสวนเกิดความไมมั่นใจ และความไมมั่นคงของโรงเรียน จึงทําใหนักเรียนได<br />

ทยอยออกไปเรียน และทํางานขางนอกมากขึ้น แตที่เหลือสวนหนึ่งก็หันไปชวยงานของ<br />

กองทัพฯ ในสวนตางๆ มากขึ้น<br />

ทางดานของสถานที่ของการจัดสอนหนังสือของโรงเรียนก็ตองขยายสําหรับ<br />

การรับเด็กในชั้นตนๆมากขึ้น ทําใหในปเดียวกันนี้ ไดยายนักเรียนในระดับชั้น 4, 5 และ<br />

6 ลงไปสอนในบริเวณหอพักชาย ทําใหตรงบริเวณของโรงเรียนทําการสอนเฉพาะเด็ก<br />

ชั้นที่ 1-6 เทานั้น สวนปายชื่อของโรงเรียนก็ไดเปลี่ยนจาก “โรงเรียนเชื้อชาติดอยไต<br />

แลง” เปน “โรงเรียนเด็กกําพราดอยไตแลง” 30 ซึ่งที่มาของชื่อโรงเรียนนั้น ก็เพื่อเปน<br />

การทําใหแขกที่มาเยือนนั้นไดรูถึงสถานภาพของเด็กที่เรียนในนี้สวนใหญ จะเปน<br />

เด็กกําพรา<br />

ภาพที่ 5.8 โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง หรือ โฮงเฮนเจอจาด หรือ สถานที่สอนหนังสือเด็กกําพรา<br />

30 สัมภาษณครูโองมหาน( อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.


121<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

ในขณะที่เมื่อโรงเรียนไดเปดถึงในระดับชั้นที่ 9 นั้น เหลือเด็กที่เรียนถึง<br />

ในระดับนี้เพียงแค 4 คนเทานั้น แตทางกองทัพฯ ก็ไดสนับสนุนใหเด็กนักเรียนไดเรียน<br />

ในระดับที่สูงขึ้นไปอีก โดยที่สงนักเรียนจํานวน 2 คนไปเรียนที่โรงเรียน SSSNY 31 จึง<br />

ทําใหในป พ.ศ. 2550 จําเปนตองรวมเด็กนักเรียนที่เหลือจากระดับชั้น 9 ซึ่งมีเพียง 2 คน<br />

ใหยุบเรียนซ้ําชั้นเดิมกับเด็กนักเรียนที่เลื่อนระดับชั้นจากชั้นที่ 8 ขึ้นระดับชั้นที่ 9 อีก<br />

รอบหนึ่ง แทนการเปดสอนในระดับชั้นที่ 10 ทั้งนี้เนื่องจากจํานวนนักเรียน และ<br />

31<br />

โรงเรียน SSSNY หรือที่มีชื่อยางเปนทางการวา “School for Shan State Nationalities Youth” ซึ่งเปนโรงเรียนสําหรับเยาวชนที่<br />

อาศัยอยูในรัฐฉานทุกเชื้อชาติ โรงเรียนแหงนี้เริ่มทําการเปดเมื่อป 2001 โดยมีจามตอง ซึ่งเปนหนึ่งในผูกอตั้งที่เปนนักตอสูทางดาน<br />

สิทธิมนุษยชนในพมาที่เปนคนไทใหญที่มีชื่อเสียงมาจากการเปนผูกอตั้งองค SWAN


122<br />

บุคลากรที่จะตองทําการสอน รวมถึงทางดานขององคความรูและวัสดุอุปกรณก็ยังไม<br />

พรอมที่จะทําการเปดสอนในระดับชั้นที่ 10 ได ซึ่งถือไดวาเปนชั้นสูงสุด 32<br />

ตอมาภายหลังเมื่อเด็กนักเรียนกลุมนี้ไดเรียนจบชั้นในระดับชั้นที่ 9 คือ<br />

ในปการศึกษา 2550 ทางโรงเรียนและกองทัพฯ ก็มีนโยบายใหเด็กนักเรียนจํานวน 5 คน<br />

ที่จบในระดับชั้นดังกลาวนั้น ไดเขาศึกษาตอยังโรงเรียน SSSNY แทนการเปดสอน<br />

ในระดับชั้นที่ 10 ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ซึ่งโรงเรียนแหงนี้มีที่ทําการสอน<br />

แหงหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม<br />

สวนในป พ.ศ. 2551 ทางโรงเรียนก็ไดสงเด็กนักเรียนอีกจํานวน 4 คน ไปศึกษา<br />

ตอยังโรงเรียน SSSNY ดวยเชนกัน ทั้งนี้การสงไปเรียนยังดังโรงเรียนดังกลาวนั้น<br />

จะตองผานการคัดเลือกจากโรงเรียน SSSNY กอนจึงจะสามารถไปเรียนได ซึ่งภายหลัง<br />

ของการจบจากโรงเรียนนี้แลว นักเรียนหลายคนก็ตองกลับมาทํางานใหกับสภาเพื่อ<br />

การกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ที่ผานมาก็มีเด็กนักเรียนที่เรียนจบแลวกลับมาเปนครู<br />

หมอ ทหาร และในสวนงานสํานักงานของสภาฯ รวมถึงในสวนงานอื่นๆดวย<br />

ง) หลักสูตรของการศึกษา<br />

หลักสูตรของโรงเรียนในชวงนี้จะมีความชัดเจนทางดานของการจัดการศึกษา<br />

ใหกับนักเรียนเพื่อเปนการจัดการศึกษาเพื่อการกูชาติอยางชัดเจน ตามปณิธานของ<br />

ครูเมืองหอบ ซึ่งเปนผูที่รับผิดชอบทางดานการศึกษาของสภาฯ ไดเลาใหฟงวา<br />

“เมื่อเขามาบนดอยไตแลง ผมก็มาชวยเหลืองานกูชาติ<br />

ดานการศึกษา ดังนั้นการจัดการศึกษาคืออีกแนวทางหนึ่งของการกู<br />

ชาติ ซึ่งจะตองพยายามใหครูในโรงเรียนที่รักบานเมืองของตน<br />

ไดหาโอกาสสอนลูกหลานชาวไทใหญใหรูจักภาษาไทใหญ<br />

วัฒนธรรมไทใหญ และประวัติศาสตรไทใหญ ใหเด็กรูจัก<br />

วัฒนธรรมไทใหญ ภาษาไทยใหญ แลวสักวันหนึ่งเขาจะมีโอกาส<br />

เอาบานเอาเมืองคืนไดเอง" 33<br />

32 สัมภาษณครูโองมหาน (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.<br />

33 บทสัมภาษณครูเมิงหอบ จากเวบไซต http://www.prachatai.com/05web/th/home/13090<br />

วันที่ 27 สิงหาคม 2551.


123<br />

ครูเมืองหอบ ยังพยายามเนนย้ําใหคนไทใหญทั้งบนดอยไตแลง รวมไปถึง<br />

พี่นองไทใหญที่อยูตามแนวชายแดน หรือที่อาศัยอยูในเมืองไทย วาจําเปนอยางยิ่งที่เรา<br />

จะตองปลูกฝงใหเด็กๆ รูจักประเทศที่เขาเกิด เชื้อชาติที่เขาเปน ภาษาที่เขาพูด แผนดินที่<br />

เขามีชีวิตอยู ศาสนาที่เขานับถือ ถาไมทําแบบนี้ เขาก็จะไมรูวา ในอนาคตของเขาจะเปน<br />

อยางไร<br />

โรงเรียนไดมีการวางเนื้อหาของวิชาตางๆ ที่เด็กในแตละชวงชั้นจะไดเรียนนั้น<br />

ตามความเหมาะสมของเด็ก รวมถึงมีการวางเนื้อหาใหกับเด็กไดซึมซับทั้งวิชาความรู<br />

และการปลุกจิตสํานักความรักชาติ ที่แฝงอยูในลายละเอียดของเนื้อหาวิชาที่สอดแทรก<br />

อยู ดังนั้นสามารถแยกไดดังนี้<br />

- สอนภาษาไทใหญ จะสอนตั้งแตชั้นอนุบาลถึงชั้น 6<br />

- สอนภาษาไทย จะสอนตามหลักสูตรถึงระดับถึง ชั้น 10<br />

- สอบภาษาอังกฤษจะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

- สอนภาษาพมาจะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

- ประวัติศาสตรไทใหญ “หยาจาวาง” หมายความวา ประวัติของผูปกครอง ซึ่ง<br />

เปนตระกุลเจา หรือเจาฟา กษัตริย จะสอนเฉพาะชวงชั้น 4<br />

- สอนการเขาแถว จะสอนตั้งแตชวงชั้นที่1-4<br />

- สอนพื้นฐานการเก็บขอมูลขาวสาร จะสอนตั้งแตชวงชั้น 5-10<br />

- สอน “สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน” จะสอนตั้งแตชวงชั้น 4-5<br />

- สอนรองเพลงเคารพธงชาติ และเพลงสาบานของทหาร จะสอนตั้งแตชวงชั้น<br />

อนุบาลถึงชั้น 10<br />

- สอนใหทําวัตร รับศีลของฆราวาส จะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

- สอนการทํางานในสํานักงาน และ คอมพิวเตอร จะสอนตั้งแตชวงชั้น 8-10<br />

- สอนวาดรูป และออกแบบ จะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

- สอนระบบการปกครองของRCSS จะสอนตั้งแตชวงชั้น 7-10<br />

- สอนยุทธวิธีการรบ จะสอนตั้งแตชวงชั้น 7-10<br />

- สอนการเกษตร และเลี้ยงสัตว จะสอนตั้งแตชวงชั้น 5-10


124<br />

- สอนเรื่องการเปนผูนํา และ ความรูวาดวยการใชปญญา (หนังสือเลมนี้ แต<br />

กอนจะใชในโรงเรียนนายทหาร เรียบเรียงโดยครูทหาร) 34<br />

จ) รูปแบบการศึกษา<br />

ในชวงนี้จึงมีการวางโครงสรางและระบบของการศึกษาของโรงเรียนเปนระบบ<br />

โครงสรางมากขึ้น มีการวางโครงสรางของการจัดการบริหารโรงเรียนอยูภายใต<br />

โครงสรางของสภากอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ในขณะที่กอนหนานี้โครงสรางของ<br />

โรงเรียนอยูภายใตการดูแลและบริหารจากกองทัพโดยตรง<br />

ในปจจุบันโรงเรียนแหงนี้อยูภายใตการกํากับดูแลของโครงสรางสภาการกอบ<br />

กูเอกราชของรัฐฉาน(Restoration Council of Shan State) 35<br />

โครงสรางสภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน(Restoration Council of Shan State)<br />

คณะกรรมการราง<br />

รัฐธรรมนูญแหงรัฐฉาน<br />

สภาการกอบกูเอกราชของรัฐฉาน(RCSS)<br />

ที่ปรึกษา<br />

ประธาน RCSS<br />

ฝายวิทยุการสื่อสาร<br />

สํานักงาน RCSS<br />

ฝายสวัสดิการ<br />

ฝายปกครอง<br />

ฝายการศึกษา<br />

ฝายขาวกรอง ฝายชาติพันธุ<br />

ฝายสัมพันธ<br />

ฝายประสานงานNGOs<br />

ฝายปองกัน<br />

ฝายตางประเทศ<br />

ฝายสุขภาพ<br />

34 จากเอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). กองบัญชาการ จายหนุมเคอ ปหยา แปล. การศึกษาและอบรม ฝายการเงิน<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550<br />

35 จากเอกสาร<br />

ydlifc.wfbz.wfjnkyfGydlifbz.if;irf;c.ifbc.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S<br />

.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล http://www.taifreedom.com/Taifreedom/rcss_admini_structure/StructureOfRCSS_2008.pdf<br />

วันที่ 27 กันยายน 2550.


125<br />

คณะกรรมการ ที่ปรึกษา<br />

สํานักงาน<br />

โรงเรียน<br />

ใน<br />

รัฐฉาน<br />

ในจังหวัด<br />

ลายขา เกซี<br />

เมืองกึง<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐ<br />

ฉาน<br />

ในพื้นที่<br />

กองกําลัง<br />

365<br />

หมอก<br />

ใหม<br />

กั่นตูออน<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐ<br />

ฉานใน<br />

พื้นที่ กอง<br />

กําลัง 364<br />

เมืองนาย<br />

น้ําจาง<br />

โรงเรียน<br />

ในรัฐฉาน<br />

ในพื้นที่<br />

กองกําลัง<br />

363 เกียงลม<br />

เกียงตอง<br />

โรงเรียนในรัฐฉาน<br />

ในพื้นที่ กองกําลัง<br />

361กั่นตุหลง<br />

โรงเรียน Secondary<br />

ดอยไตแลง<br />

การเกษตร<br />

การเลี้ยงสัตว<br />

หอพักนักเรียน<br />

โรงเรียน Primary<br />

โรงเรียน<br />

ดอยกอ<br />

วัน<br />

โรงเรียน<br />

ดอยหลํา<br />

คณะกรรม<br />

การโรงเรียน<br />

คณะกรรมการ<br />

จากการวางโครงสรางของโรงเรียนอยูภายใตโครงสรางของสภาฯ นั้นทําให<br />

มีการวางกฎเกณฑสําหรับบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการศึกษาธิการที่อยูภายใต<br />

โครงสรางนี้อยางชัดเจน ทั้งในแงของการออกแบบหลักสูตร การปกครอง การดูแลเด็ก<br />

ในระบบของการเปนเด็กที่ทางสภาฯ ตองรับผิดชอบออกเปน 2 แบบ คือ เด็กที่อยูใน<br />

ระบบของหอพัก ซึ่งเปนเด็กในความดูแลของสภาฯ 100 % และเด็กที่อยูบาน ซึ่งอยูใน<br />

ความดูแลของสภาฯ แบบไมเต็มรูปแบบ โดยใหการสนับสนุนทางดานการศึกษา<br />

อยางเดียวไมรวมถึงการดูแลที่นอกเหนือจากที่เด็กที่อยูในระบบหอพักไดรับ จึงจัดให<br />

เด็กกลุมนี้อยูในระบบ 75 %<br />

ฉ) บทหนาที่ของฝายศึกษาธิการ ของ RCSS<br />

บทบาทสําคัญในการทําหนาที่ของฝายการศึกษา นั้นประกอบไปดวย


126<br />

- ใหการปกครองดูแลโรงเรียนทุกแหงที่อยูในพื้นที่ และไดรับการสนับสนุนจาก<br />

กองกําลังฯ และ ปกครองดูแลโรงเรียนในเขตกองบัญชาการใหญ โรงเรียน<br />

ดอยไตแลง<br />

- การจัดหาหนังสือใหครู<br />

- การจัดทําหลักสูตร<br />

- การบริหาร จัดการงบ<br />

- การปกครองครู<br />

- การจัดมาตรฐานความรูของครู ใหการอบรมเพิ่มพูนความรูของครู<br />

- การออกกฎตองหาม (Curfew) ตามสถานการณ<br />

- การคัดเลือกผูที่จะมาเปนครู (อยางนอยใหจบชั้นสิบของพมา หรือ ม.6 ของ<br />

ไทย)<br />

- การเชิญผูปกครองเด็กและครู มาเพื่อรับการเรียนเรื่องตางๆ ในตอนเปดเทอม<br />

และตอนปดเทอม<br />

- การตักเตือน พิจารณาความผิดของครู ในกรณีกระทําผิดกฎระเบียบของ<br />

การศึกษา และกฎระเบียบครู<br />

- การทํารายงาย และรายวัน (ขาวประจําวัน) สงที่สํานักงานใหญของ<br />

กองบัญชาการ 36<br />

ช) การจัดระบบการศึกษาของโรงเรียน<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีการเรียนการสอนของโรงเรียน โดยแบงภาค<br />

เรียน 1 ป เปน 2 ภาคเรียน ดังนี้<br />

- ภาคเรียน ที่ 1 ตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนกันยายน<br />

- ภาคเรียน ที่ 2 ตั้งแตเดือนตุลาคม ถึง เดือนมีนาคม<br />

ซ) วันหยุดของโรงเรียน<br />

36 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550


127<br />

วันหยุดของโรงเรียนใน 1 สัปดาห จะหยุด 2 วัน คือ วันเสาร-วันอาทิตย แตถา<br />

เปนในชวงของเดือนที่อยูในชวงเขาพรรษจะหยุดวันอาทิตย และวันพระ ซึ่งทําใหเห็น<br />

ถึงการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับประเพณีวัฒนธรรมของคนไทใหญที่ยึดถือ<br />

พุทธศาสนาอยางเครงครัด ซึ่งสามารถแบงวันหยุดของโรงเรียนเพื่อใหเห็นภาพชัดเจน<br />

ไดดังนี้<br />

1. ในชวงเดือนที่เขาพรรษา จะมีวันหยุดดังนี้<br />

- ขึ้น 8 ค่ําของทุกเดือน จะหยุดทั้งวัน<br />

- ขึ้น 14 ค่ําของทุกเดือน จะเรียนครึ่งวัน<br />

- วันเพ็ญ จะหยุดทั้งวัน<br />

- แรม 8 ค่ํา จะหยุดทั้งวัน<br />

- แรม 14 ค่ํา จะเรียนครึ่งวัน<br />

- วันแรม 15 จะหยุดทั้งวัน<br />

2. ในชวงเดือนที่ออกกพรรษา จะหยุดวันเสาร-อาทิตย<br />

3. วันปใหมไต จะหยุด 2 วัน<br />

4. วันแหงชาติไทใหญ จะหยุด 2 วัน<br />

5. วันแหงกองทัพ จะหยุด 2 วัน<br />

6. วันมาฆบูชา (วันเพ็ญเดือนสาม) จะหยุด 1 วัน<br />

7. วันทอดกฐิน เดือนสิบสอง จะหยุด 1 วัน<br />

8. วันพอ จะหยุด 1วัน<br />

9. วันแม จะหยุด 1วัน<br />

10. วันเด็ก จะหยุด 1วัน<br />

11. วันเพ็ญเดือนสี่-วันเพ็ญเดือนหก เปนเวลาปดเทอม<br />

12. แรม 1 ค่ํา เดือน 6 จะเริ่มเปดเรียนทุกๆ โรงเรียน<br />

จากวันหยุดสวนใหญจะเห็นไดวาโรงเรียนใชระบบของวันตามจันทรคติ ควบคู<br />

กับวันที่เปนตามสุริยคติ รวมถึงการใหความสําคัญกับวันสําคัญตางๆ ของเชื้อชาติ


128<br />

กองกําลัง และวันสําคัญที่สอดคลองกับวันสําคัญของประเทศไทย เชนวันพอ วันแม<br />

37<br />

และวันเด็กแหงชาติ<br />

ฌ) จํานวนนักเรียน<br />

นักเรียนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีความเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด<br />

ตั้งแตเมื่อครั้งเริ่มกอตั้งในป พ.ศ. 2543 ที่มีจํานวนเด็กเพียง 33 คน และมีจํานวนเด็ก<br />

เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในทุกๆ ป ซึ่งสวนหนึ่งเปนเพราะมีเด็กจํานวนมากทีอยูในเขตรัฐฉาน<br />

ตอนในไมไดเรียนหนังสือ ทําใหเมื่อรูวาที่โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงเปดสอนก็ทําให<br />

เด็กที่อยากเรียนหนังสือหลั่งไหลมาอยูที่นี่ และสวนหนึ่งก็มาจากพอแมผูปกครองที่<br />

อยากใหลูกหลุดพนจากการทําราย และการเอาไปเปนแรงงานของทหารพมา จึงสงให<br />

มาอยูภายใตการดูแลของกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

เด็กนักเรียนที่นี่จึงมีความหลากหลาย ทั้งที่เปนเด็กกําพรา เด็กที่เปนลูกของ<br />

ชาวบานทั่วไป และเด็กที่เปนลูกหลานของทหารไทใหญที่อยูที่นี้ดวย ซึ่งในปจจุบันมี<br />

เด็กประมาณทั้งหมด 858 คน ที่เรียนอยูในลําดับชั้นแตกตางกันไป จากจํานวนดังกลาว<br />

สามารถแยกตามชั้นเรียน และจํานวนเด็กชาย และเด็กหญิงไดดังนี้<br />

ตารางที่ 5.1 ตารางแสดงจํานวนนักเรียนโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงประจําป 2551 38<br />

ระดับชั้น จํานวน ชาย (คน) หญิง (คน) หมายเหตุ<br />

กอนวัยเรียน 90 เทียบเทาระดับศูนยพัฒนาเด็กเล็ก<br />

ชั้นเหงา 154 78 76 เทียบเทาระดับอนุบาล<br />

ชั้น 1 163 89 74<br />

ชั้น 2 101 55 46<br />

ชั้น 3 103 60 53<br />

เทียบเทาระดับประถมศึกษา<br />

37 สัมภาษณครูโองมหาน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.<br />

38 สัมภาษณครูโองมหาน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.


129<br />

ชั้น 4 74 48 26<br />

ชั้น 5 65 34 31<br />

ชั้น 6 53 41 12<br />

ชั้น 7 37 17 20<br />

ชั้น 8 12 9 3<br />

ชั้น 9 6 6 -<br />

ชั้น 10 - - -<br />

เทียบเทาระดับมัธยมศึกษา<br />

ตอนตน<br />

เทียบเทาระดับมัธยมศึกษาตอน<br />

ปลาย<br />

ปจจุบันยังไมมีการเปดสอนในระดับชั้นที่ 10 เพราะวายังไมมีความพรอมทั้ง<br />

ทางดานบุคลากรที่จะสอน และวัสดุอุปกรณ จะเห็นไดวาที่ผานมาทางโรงเรียนใช<br />

วิธีการสงตอตัวเด็กใหไปเรียนศึกษาตอภายนอกเชน โรงเรียน SSSNY หรือที่มีชื่ออยาง<br />

เปนทางการวา “School for Shan State Nationalities Youth” ซึ่งเปนโรงเรียนสําหรับ<br />

เยาวชนที่อาศัยอยูในรัฐฉานทุกเชื้อชาติ แทนการเปดชั้น 10 และในบางสวนก็ใหทํางาน<br />

ชวยกองกําลังกูชาติเลย ในตําแหนงตางๆ ที่เด็กนักเรียนมีความสนใจ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับ<br />

เงือนไขทางการศึกษาของกองกําลังฯที่ดูจากสถานภาพของนักเรียนแบบ 75 % หรือ<br />

เด็กนักเรียนแบบ 100 % ที่มีภาระในการทํางานชวยทางกองกําลังฯ ในระยะเวลา 5 ป<br />

หรือในระยะเวลาตลอดชีวิต<br />

นอกจากทางโรงเรียนจะสงไปเรียนตอที่ SSSNY และชวยงานในกองกําลังแลว<br />

ในปจจุบันยังใหเด็กที่อยูในระดับชั้น 7-9 ใหมาคัดเลือกสอบเขากับโรงเรียนตามแนว<br />

ชายแดนของประเทศไทย ใหมาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ใหม ทั้งนี้เพื่อเปนการ<br />

ตอยอดทางการศึกษาใหเขาระบบกับการศึกษาของประเทศไทย และใหอิสระกับเด็กที่<br />

ตองการเรียนตอในระดับสูงสุดเทาที่เด็กตองการศึกษา ซึ่งหลังจากนั้นก็จะตองกลับมา<br />

รับใชประเทศในฐานะเปนบุคคลากรที่มีความรูความสามารถเพื่อใหทําประโยชนตอ<br />

กองกําลัง และสภากอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ตอไป<br />

ญ) การแตงกายของนักเรียน<br />

- สําหรับนักเรียนหญิง เสื้อสีขาว กระโปรงสีฟา รองเทาผาใบสีดํา ถุงเทาสีขาว<br />

พรอมยามไทใหญสีดํามีธงไทใหญ


130<br />

- สําหรับนักเรียนชาย กางเกงสีเทา รองเทาสีดํา ถุงเทาสีขาว/ดํา พรอมยามไท<br />

ใหญสีดํามีธงไทใหญ<br />

- นักเรียนหญิง ที่เรียนชวงชั้น 5-10 ตองไวผมยาว แตหามไวผมหยิก<br />

- นักเรียนชาย ตองตัดผมทรงสั้น (ทรงนักเรียน)<br />

- ชุดนักเรียน ไมควรสวมใสอยูที่บาน หรือในหมูบาน 39<br />

ภาพที่ 5.9 ตัวอยางชุดแตงกายของนักเรียนที่ถูกระเบียบ 40<br />

ที่มาภาพ:<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/rcss_admini_structure/StructureOfRCSS_2008.pdf<br />

ฎ) โครงสรางของนักเรียน<br />

39 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550<br />

40 เรื่องเดียวกัน,อางแลว


131<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีการวางระบบของนักเรียนแบงออกเปน 2 ระบบ<br />

คือ ในระบบของนักเรียนในโรงเรียน และในระบบของนักเรียนที่อยูในหอพัก ซึ่งใน<br />

ระบบของนักเรียนทั้งหมดที่อยูในโรงเรียนจะตองมีประธานนักเรียน เพื่อทําหนาที่<br />

ควบคุมดูแลนักเรียนทั้งหมดในการทํากิจกรรมของโรงเรียน และระบบการปกครอง<br />

ของโรงเรียน ซึ่งนักเรียนในสวนนี้จะแบงการปกครองเปนระดับชั้นเรียนอีก โดยมี<br />

หัวหนาชั้นเรียนดูแลสมาชิกของตนเองในชั้นเรียน และทํางานใหบรรลุเปาหมายตาม<br />

ภาระงานที่ไดรับมอบหมายจากประธานนักเรียน ในชวงที่มีกิจกรรมของโรงเรียน<br />

สวนเด็กที่อยูในระบบหอพักก็จะมีประธานนักเรียนหอพัก และประธานของ<br />

แตละหอพักที่แบงออกเปน 2 สวน คือ หอพักชาย และหอพักหญิง และในแตละหอพัก<br />

ก็จะแบงใหหัวหนาแตละหอพักยอยที่เรียกวาหัวหนาหมูดูแลอีกที ซึ่งก็จะแบงยอยลงไป<br />

อีกในระดับแถวของแตละหอพัก โดยใหหัวหนาแถวเปนคนดูแล ควบคุมความมี<br />

ระเบียบวินัย และทําภารกิจของกลุมตนเองที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ<br />

ภาพที่ 5.10 โครงสรางนักเรียนในโรงเรียนและหอพัก 41<br />

41 สัมภาษณครูโองมหาน (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551


132<br />

โครงสรางของนักเรียน<br />

โรงเรียน<br />

หอหัก<br />

ประธานนักเรียน<br />

ประธาน<br />

รองประธานนักเรียน<br />

เลขา<br />

รองประธาน<br />

เลขา<br />

หัวหนาชั้นเรียน<br />

หัวหนาหมู<br />

หัวหนาแถว<br />

** หอพักชายมี 3 หมู<br />

** หอพักหญิงมี 1 หมู<br />

ฏ) กฎระเบียบในเวลาเรียน และเวลาเลิกเรียน 42<br />

42 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


133<br />

สําหรับเด็กนักเรียนทั้งหมดและครูผูสอน จะตองมีกิจวัตรประจําวันที่จะตองทํา<br />

ใหตรงกับกฎระเบียบของโรงเรียนที่เหมือนกัน เพื่อใหเกิดความมีระเบียบวินัย และเปน<br />

แบบอยางที่ดีดังนี้<br />

- เวลา 08.00 น. ตองเขาแถว รองเพลงเคารพธงชาติ และกลาวคําปฏิญาณตน 4<br />

ขอ พรอมกัน<br />

- เขาหองเรียนแลว นักเรียนทุกคนทําความเคารพครู (ยกมือไหว พรอมกลาว<br />

“สวัสดีครับคุณครู” )<br />

- เวลาเรียน ตองตั้งใจและอยูในความสงบ ไมควรเลนกันเด็ดขาด<br />

- ในสมุดของนักเรียนเรียน นอกจากสิ่งที่สอนในโรงเรียน ไมควรเขียนสิ่งอื่นลง<br />

- ครูทุกทานไมควรมาสาย ถาสายควรไดรับโทษ<br />

- ครูทุกทานไมควรดื่มเหลา สูบบุหรี่ในเวลาสอน<br />

- เวลา 15.30 คือเวลาเลิกเรียน ตองทําวัตรสวดมนต กราบอาราธนาศีลหากอน<br />

จึงกลับจากโรงเรียน<br />

- ตอนเดินกลับบาน นักเรียนคนเดินชิดซาย ไมควรเดินตรงกลางถนน<br />

- กลับถึงบานแลว ตองยกมือกราบสวัสดีพอแมกอน จึงเก็บกระเปา เปลี่ยนเสื้อผา<br />

ชวยงานบาน<br />

- บทเรียนสําหรับวันพรุง ที่ครูใหอาน ตองอานกอนนอน การบาน หรือ<br />

แบบฝกหัดที่ครูให ไมควรมาทําที่โรงเรียน ถึงโรงเรียนเขาหอง ตองสงครูทันที<br />

ฐ) การดูแลในระบบหอพัก<br />

ปจจุบันโรงเรียนดอยไตแลงมีหอพักใหสําหรับเด็กนักเรียนที่มาเรียนที่นี่<br />

โดยแบงหอพักออกเปน 2 สวน คือ หอพักสําหรับเด็กชาย และหอพักสําหรับเด็กหญิง<br />

ซึ่งทั้ง 2 หอพักจะแยกการอยูและมีครูดูแลรับผิดชอบแยกสวนกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งหอพัก<br />

ชายจะอยูในสวนดานในของเขตกองทัพทหาร หลังจากที่ไดมีการโยกยายใหเหมาะสม<br />

หลายครั้ง สวนหอพักเด็กหญิงหลังจากที่โยกยายมาหลายแหงเหมือนกัน ทําใหปจจุบัน<br />

ตั้งอยูบริเวณดานขางของโรงเรียนซึ่งเปนเขตรอตอระหวางประเทศไทยกับเขตรัฐฉาน<br />

ภาพที่ 5.11 หอพักนักเรียนชายและนักเรียนหญิง


134<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

เด็กนักเรียนที่อยูในหอพักทั้งหมด เปนเด็กนักเรียนในระบบ 100 % ดังนั้นทาง<br />

โรงเรียนจึงตองใหการดูแลชวยเหลือทั้งหมด เชน อาหาร เสื้อผา ที่พัก อุปกรณการเรียน<br />

เปนตน ตามเงื่อนไขของสภาฯ ที่ไดกําหนดไว รวมถึงการที่จะตองทํางานใหกับ<br />

กองทัพฯ ภายหลังที่เด็กไดจบการศึกษาขั้นสูงสุด ซึ่งเปนหนึ่งในเงื่อนไขที่สําคัญ<br />

ของเด็กแบบ 100 % ทั้งนี้ก็เพื่อจะทําใหการดูแลและใหความชวยเหลือเด็กนักเรียนที่นี่<br />

ไดเปนระบบระเบียบมากขึ้น อีกทั้งยังเปนการปองกันที่ความปลอดปลอดภัยใหกับเด็ก<br />

และที่สําคัญเด็กนักเรียนจะไดฝกการจัดการตัวเองใหมีความรับผิดชอบตอตัวเองใน<br />

เบื้องตน


135<br />

โดยการจัดการของหอพักที่นี่จะใชระบบการดูแลใหมีครูผูรับผิดชอบดูแล<br />

ในดานตางๆ ใหกับเด็กนักเรียนซึ่งเปนเวรแบบประจํา ไมมีการผลัดเปลี่ยน เพราะอยาก<br />

ใหครูผูรับผิดชอบไดดูแลเด็กอยางเต็มที่ และมีแนวทางหรือระบบดูแลที่ชัดเจน 43<br />

โดยในแตละหอพักจะมีครูดูแลอยางนอย 3 คนหลัก นอกจากนี้ในแตละหอพักก็จะตอง<br />

แตงตั้งหัวหนาประจํากลุมหอพักเพื่อดูแลเรื่องของกิจกรรมตางที่เด็กในหอพักจะตอง<br />

รับผิดชอบตามกลุมของตนเอง เชน การทําอาหาร การตักน้ํา การหาฟน เปนตน<br />

โดยกิจกรรมเหลานี้จะตองทําแยกกันไปตามหอพัก ซึ่งมีตารางการทํากิจกรรมที่<br />

คลายๆกันดังนี้<br />

- ออกกําลังกายตอนประมาณเวลา 04.30 น.<br />

- ทํากิจกรรมสวนตัว ทําเวรประจํากลุม เชนทําอาหาร ตักน้ํา<br />

ทําความสะอาดเปนตนประมาณเวลา 05.30 น.<br />

- ทานอาหารเชาประมาณเวลา 07.00 น.<br />

- ไปโรงเรียนประมาณเวลา 07.30 น. 44<br />

ฑ) กฎระเบียบในการรับนักเรียน 45<br />

ในการศึกษาในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงจําเปนจะตองมีกฎระเบียบในการ<br />

รับนักเรียนเขามาในโรงเรียนแหงนี้ เนื่องจากโรงเรียนถูกจัดตั้งขึ้นภายใตของสภาเพื่อ<br />

การกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ซึ่งตองเปนผูที่ตองรับผิดชอบนักเรียนทั้งหมดที่มา<br />

เรียนในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ดังนั้นทางโรงเรียนจะตองปฏิบัติดังนี้<br />

- อธิบายใหผูปกครองไดเขาใจโรงเรียน<br />

- ควรถามวาจะฝากลูกเปนนักเรียน 100% หรือ 75% ใหชัดเจน<br />

- นักเรียน 75% ตองปฏิบัติงาน 5 ป หลังจากเรียนจบ กอนจะสามารถไปทํางาน<br />

สวนตัว<br />

43<br />

สัมภาษณครูโองมหาน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.<br />

44 สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน นักเรียนในระดับชั้นที่ 4 ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 12 เมษายน 2551.<br />

45 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


136<br />

- นักเรียน 100% คือนักเรียนขององคกร จบมาก็ตองทํางาน เปนแกนกลางของ<br />

องคกร ผูปกครองไมสามารถพาไปที่อื่นได และไมควรชวนเด็กใหอยากลาออก<br />

และถาตองการเรียนตอก็องคกรจะรับผิดชอบ สงเรียนเอง ถาพอแมแอบพาหนี<br />

ไป หรือพาเด็กไปโดยไมไดรับอนุญาต พอแมจะมีความผิด และถูกลงโทษ<br />

- นักเรียนที่อยูบาน ซึ่งเวลามาเรียนนั้น ผูปกครองตองอบรมใหตั้งใจเรียน<br />

และพามาเรียนใหทันตามเวลาปกติของโรงเรียน และอบรม ใหความอบอุน ให<br />

กําลังใจใหขยันเรียน ใหอานหนังสือ สังเกตเด็กอานหนังสือ<br />

ฒ) โครงสรางการบริหาร<br />

ในปจจุบันโครงสรางของการบริหารโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีจํานวน<br />

บุคคลกรทั้งสิ้น 24 คน ซึ่งมีครูเมืองหอบ ทําหนาที่ฝากรรมาธิการฝายการศึกษา และมี<br />

ครูโองมหานเปนผูอํานวยการโรงเรียน และมีครูผูชวยสอนอีก 21 คน 46 ที่รับผิดชอบใน<br />

การเรียนการสอนตามรายวิชาตาง นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการของสถานศึกษาที่เปน<br />

บุคคลในฝายของผูปกครองในระบบการปกครองของหมูบาน และผูปกครองนักเรียน<br />

ใหเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน และการทํากิจกรรมที่เปนสวนรวมของ<br />

โรงเรียน<br />

โดยแตละตําแหนงก็จะมีหนาที่ความรับผิดชอบที่แตกตางกันไป เพื่อใหเกิด<br />

การบริหารจัดการทั้งการเรียนการสอน การบริหารงบประมาณ และการดูเด็กนักเรียน<br />

ใหอยูในระบบไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสามารถแสดงแผนภูมิโครงสรางได<br />

ดังนี้<br />

ภาพที่5.12 โครงสรางของบุคลากรในโรงเรียนและกรรมการของสถานศึกษา 47<br />

ฝายการศึกษา<br />

โครงสรางของโรงเรียน<br />

โครงสรางของ<br />

46 สัมภาษณครูโองมหาน (อดีต)ผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 คณะกรรมการโรงเรียน เมษายน 2551.<br />

47 คนเดียวกัน, อางแลว<br />

ผูอํานวยการ<br />

เจาอองเมิง เจาเคือสาง จายซอหาน<br />

รองผูอํานวยการ เลขา


137<br />

บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของบุคลากรฝายโรงเรียน 48 สามารถแบงได<br />

ออกเปน 2 สวน คือ คณะกรรมาธิการของฝายการศึกษา และคณะกรรมการโรงเรียน<br />

ซึ่งในสวนของคณะกรรมาธิการของฝายการศึกษานั้น จะมีหนาที่ความรับผิดชอบ<br />

โดยตรง ที่แบงตามแตละตําแหนงดังนี้<br />

- กรรมาธิการฝายการศึกษาของ RCSS<br />

• ปกครองคณะกรรมการการศึกษา<br />

• ดูแลงบของ ฝายการศึกษา<br />

• ปกครองครูทุกๆ โรงเรียนใหทําตามระเบียบของโรงเรียน และระเบียบครู<br />

• จัดการอบรมเพิ่มพูนความรูของครู<br />

• ติดตอประสานงาน รายงานทีสํานักงานกองบัญชาการใหญ<br />

- ผูอํานวยการ หรือรองกรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

• ตรวจสอบบัญชีเงินเขา/ออก/เหลือ<br />

• ชวยกรรมาธิการตรวจสอบงาน และรายงานตอกรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

• รับคําแนะนําจากกรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

- เลขา<br />

48 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550


138<br />

• ดูแลงานในสํานักงานของฝายการศึกษาทุกอยาง<br />

• ฝายบัญชีเงินเขา/ออก และขาวของ ทางฝายการศึกษา<br />

• ทํารายงายสงกรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

- ผูชวยเลขา<br />

• ทํางานในสํานักงาน และชวยเลขาในงานตางๆ<br />

• ถาเลขาไมอยู จะตองรักษาการณแทนเลขา<br />

• จะตองรับผิดชอบงานทุกอยางของเลขา<br />

- กรรมการ<br />

• แนะนํา ใหคําปรึกษากรรมาธิการฝายการศึกษา<br />

• ชวยตรวจสอบงาน และนําเสนอในคณะกรรมการ ในที่ประชุม<br />

- ผูใชงบประมาณ ควรมี 2 ทาน<br />

• คณะกรรมการโรงเรียน 1 ทาน<br />

• คณะกรรมการครู 1 ทาน รับเงินไปจากผูจัดการไปใชตองมีบิล และ<br />

ใหบัญชีที่ซื้อแกเลขาทุกอยาง<br />

• กรรมาธิการฝายการศึกษาไมมีหนาที่ไปจายตลาด มีหนาที่ดูแลงบ และ<br />

สั่งซื้องบประมาณ และขาวของที่ไดจากการบริจาค ตองสงใหสํานักงาน<br />

ใหญ และเบิกใชพรอมบัญชีที่โปรงใส<br />

สวนบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการโรงเรียนนั้น<br />

จะมีหนาที่ความรับผิดชอบในการดูแลโรงเรียนในดานตางๆ ดังนี้<br />

- ดูแลในเรื่องตางๆของ โรงเรียนทั้งหมดทั้งทางดานดี และดานเสีย<br />

- ทําการสรางโรงเรียนใหม หรือทําการซอมแซม<br />

- กําชับผูปกครอง ใหเด็กไดมาเรียนในเวลาปกติของโรงเรียน<br />

- พิจารณา และแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นระหวางครูกับนักเรียน ชวยสอดสอง<br />

ใหครูและนักเรียนอยูรวมกันดวยดี<br />

- พิจารณา และแกไข ปญหาระหวางครูและผูปกครอง<br />

- พิจารณา งบประมาณ ที่ฝายสํานักงานใหญของการศึกษาและ ครูใชไมถูกตอง<br />

คือใชงบผิดกับกฎระเบียบ<br />

นอกจากนี้ครูผูสอนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้น ก็จะตองมีบทบาท<br />

หนาที่สําคัญในดานของการจัดการศึกษาตามบทบาทหนาที่ในโครงสรางของ<br />

การบริหารของโรงเรียนดังนี้


139<br />

- ครูมีหนาที่สอนนักเรียน ตามเวลาที่กําหนดให มิควรขาด<br />

- ครูมีหนาที่ดูแลเด็กในเวลาเรียน และเวลาอยูที่โรงเรียน<br />

- ครูควรรักนักเรียน เปรียบเสมือนนอง ลูก หลานของตน และซื่อสัตย<br />

- ครูที่ประจําการอยูโรงเรียน (โรงเรียนในเขดกองบัญชาการสูงสุด) มีหนาที่<br />

ดูแลเด็กที่อยูที่หอพัก (นักเรียน 100 %) ในเรืองกินอยู การดูแลตัวเอง<br />

การแตงกาย ใหมีความประพฤติดี และทํารายงาน รายวัน(ขาวประจําวัน)<br />

สงสํานักงานการศึกษาธิการ 49<br />

สําหรับครูผูสอนก็จําเปนตองมีกฎระเบียบใหปฏิบัติ เพื่อใหเปนแบบอยางที่ดี<br />

ตอเด็กในโรงเรียน ซึ่งครูผูสอนจะตองปฏิบัติตนดังนี้<br />

- ในเวลาสอน ครูทุกคนตองแตงตัวใหเรียบรอย<br />

- ครูไมควรดื่มเหลา สูบบุหรี่ในเวลาสอนเด็ดขาด<br />

- ครูไมควรมาสาย<br />

- ในเวลาเรียน ครูไมควรเลนกับนักเรียน หรือเยาะเยยนักเรียน<br />

- ครูตองตรวจสอบนักเรียน นักเรียนทําตามการบานที่สั่งหรือไม<br />

- ครูควรสังเกต ถามนักเรียน นักเรียนชวยพอแมทํางานบานหรือไม<br />

- ตรวจการแตงกายของนักเรียน<br />

- ตรวจเล็บมือ/เทา ผมของนักเรียน สัปดาหละครั้ง<br />

- ในเวลาทานอาหารใหดูแล ใหรักความสะอาด และลางจานใหสะอาด<br />

สวนการคัดเลือกครูที่จะมาทําการสอนที่โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง จะตอง<br />

มีคุณสมบัติ หรือเกณฑในการคัดเลือกดังนี้<br />

- ตองจบชั้น10 ของพมา เทียบเทา ม.6 ของไทย จึงจะรับเปนครู<br />

- ไมใชบุคคลที่เสพยา หรือเลิกยา<br />

- ไมใชบุคคลที่กระทําผิดที่อื่นมา มีคดีที่อื่น<br />

- ไมใชบุคคลติดเหลา<br />

- ตองรูจักครอบครัว ญาติพี่นองของบุคคลคนนั้น<br />

- พิจารณาประวัติการทํางานที่เคยทํา<br />

- ตองเปนผูที่สนใจในการศึกษา<br />

- ตองเปนผูที่รักอาชีพครู และรักนักเรียน<br />

49 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


140<br />

- ใหทําความเขาใจเกี่ยวกับ นโยบายขององคกร และหลักการของโรงเรียน<br />

- ถาตัดสินใจเขารับหนาที่เปนครู ควรทําหนาที่ 5 ป จึงจะลาออกได<br />

- ไมควรเอาโรงเรียนเปนขออางในการประกอบธุรกิจสวนตัว 50<br />

ณ) กฎระเบียบของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง 51<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ในฐานะของการเปนโรงเรียนที่อยูภายใต<br />

การดูแลของสภาฟนฟูกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) จึงมีกฎระเบียบตางที่ทาง<br />

คณะกรรมการของสภาฯ ไดออกกฎไว เพื่อเปนแนวทางที่ใหเปนมาตรฐานของการ<br />

จะพัฒนา และมีรูปแบบในการจัดการเรียนการสอน และการดูแลเด็กใหอยูในระบบ<br />

เดียวกันดังนี้<br />

- โรงเรียนที่กองบัญชาการนี้ จะมีโครงการ เชน การเกษตร การเลี้ยงสัตว การเย็บ<br />

ผา ใหเด็กไดเรียนรู และนําไปใชในชีวิตได เหตุที่อยากใหมีโครงการเชนนี้<br />

เพราะองคกรมีจุดประสงควา เด็กที่มาเรียนที่กองบัญชาการสูงสุด ตอง<br />

มีความสามารถที่จะชวยพัฒนาชาติ ใหกาวหนาไปสูความเจริญ และในเมื่อจบ<br />

จากโรงเรียนแลว ใหชวยตัวเองใหอยูรอด และไมวาความรูดานการทหาร<br />

การเมือง การทํางานในสํานักงาน ใหไดเรียน และมีความรูเหลานี้พรอมที่จะ<br />

เปนผูนํา ผูพาชาติใหกาวหนา<br />

- เด็กกําพรา หรือเด็กที่ญาตินํามาฝากใหองคกร กําหนดเปนนักเรียน100%<br />

ฉะนั้นองคกรจําตองดูแลในทุกๆอยาง ตั้งแตการอยูกิน เสื้อผา ขาวของเครื่องใช<br />

และฝกใหเขาดูแลตัวเองได สอนใหมีความรู ความสามารถ และเปนคนฉลาด<br />

และโตมาก็จะไดรับหนาที่ทํางานในองคกร และเปนกําลังสําคัญขององคกร<br />

ฉะนั้นใหปฏิบัติตามหลักสูตรที่กําหนดเอาไวอยางเขมงด<br />

- เด็กนักเรียนที่มีผูปกครอง เปนทหาร หรือ เปนชาวบาน คือเด็กนักเรียนที่อยู<br />

ที่บาน มาเรียน อธิบายใหผูปกครองไดเขาใจตอนรับสมัครนักเรียนวา จะฝาก<br />

เด็กใหเปน นักเรียน100% หรือ 75% ใหชัดเจน ถาเปนนักเรียน75% โรงเรียน<br />

50 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.<br />

51 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


141<br />

จะสนับสนุนสมุด ปากกา เรื่องเสื้อผา อาหารผูปกครองตองรับผิดชอบเอง<br />

ถาเรียนจบแลวตองรับหนาทีปฏิบัติงานชวยองคกร 5 ปกอน จึงจะสามารถไป<br />

ทํางานสวนตัวชวยครอบครัวได<br />

- เด็กนักเรียนที่ยายที่อื่นมาเรียนที่โรงเรียนดอยไตแลง ตองพิจารณาวา เด็กเคย<br />

นั้นเรียนที่ไหนมา ใชโรงเรียนที่ ฝายการศึกษาธิการสงใหหรือไม ถาใช<br />

เด็กจบ ชั้น 4 มาก็สามารถตอชั้น 5 ไดเลย ถาไมใชหลักสูตรที่กองบัญชาการสง<br />

ใหก็ถึงแมวาจบชั้น 4 จะตองอยูในขั้นตอนการพิจารณาวาเด็กจะมีความรูเทียบ<br />

ไดไม ถาเทียบไดก็จะไดเรียนตอชั้น 5 แตถาไมก็จะตองเรียนตอ ชั้น 4 อีกครั้ง<br />

หนึ่ง ตอไปตองตรวจผลการสอบที่โรงเรียนที่เด็กเคยเรียนมา ถาครูที่นั้นจัดสง<br />

ใหแฟมประวัติ หรือหนังสือสงตัวมายิ่งดี<br />

- เด็กนักเรียนที่ยายจากที่อื ่นมา ตองใหผูปกครอง พิจารณาดีๆ วา จะสงลูกตนให<br />

องคกรดูแล หรือไม ถาใหองคกรดูแล ตองเขาเปนนักเรียน100% และ<br />

ใหผูปกครองไดเขาใจรายละเอียดดีๆ ถาฝากลูกใหเขาเปน นักเรียน 75% ก็ตอง<br />

เขาใจรายละเอียดนั้นใหดี เพื่อไมใหมีปญหาตอไป<br />

- เด็กนักเรียนที่ผูปกครองมาฝากใหโรงเรียนที่กองบัญชาการสูงสุดดูแล<br />

โดยเฉพาะเด็กที่มาอยูหอพักนั้น ไมวาจะเปนนักเรียน100% หรือ 75% ก็ตาม<br />

ตองอยูตามระเบียบเหมือนเด็กทุกคน คาอาหารที่ผูปกครองออกใหตองเอาไป<br />

รวมในกองทุนอาหาร คาเสื้อผาตองฝากไวที่ครู และใหผูปกครองเชื่อถือได<br />

- การเกษตร การเลี้ยงสัตว การเย็บผา สิ่งที่โรงเรียนไดจัดทําโครงการใหนั้น<br />

ตองทําใหมีระเบียบ และใชใหมีระเบียบ และเก็บอุประปกรณอยางมีระเบียบ<br />

สิ่งประดิษฐที่ขายได ใหเก็บเงินเปนกองทุน และทําใหหมุนเวียนขยายตัวเพิ่ม<br />

มากขึ้น ไมควรเอาไปเปนประโยชนสวนตัว<br />

- กฎระเบียบในการดูแลอุปกรณและเงินนั้น ตองตั้งคณะกรรมการ อยางนอยให<br />

มีคณะกรรมการหาทานดังนี้<br />

• ผูจัดการ มีหนาที่ดูแลเงิน<br />

• รองผูจัดการ มีหนาที่ตรวจสอบ<br />

• เลขา มีหนาที่ทําบัญชี<br />

• กรรมการ มีหนาที่รับเงินจากผูจัดการได<br />

• กรรมการ มีหนารูเห็นในการใชจายเงิน


142<br />

จากการนําเสนอในสวนนี้จะเห็นวาการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

นั้นมีการเปลี่ยนผานมาหลายชวง ซึ่งในแตละชวงนั้นก็มีความแตกตางกันในรายละเอียดของผูที่มี<br />

บทบาทสําคัญนั้นๆ เริ่มตั้งแตในชวงที่เปนการกอตั้งโรงเรียน จนถึงปจจุบันที่ถือไดวาโรงเรียน<br />

คอนขางที่จะมีระบบของการบริหารจัดการที่ดีในระดับหนึ่ง แตในบางสวนของการบริหารจัดการก็<br />

ยังทําไดไมเต็มที่ ทั้งนี้ก็มีหลากหลายเหตุปจจัยที่เขามามีผลตอการบริหารจัดการ<br />

ในสวนของการวิเคราะหถึงกระบวนการจัดการการศึกษา และรูปแบบ ที่มีผลตอการ<br />

ถายทอดอุดมการณชาตินิยมไทใหญนั้นจะอยูในลําดับตอไป เพื่อทําใหเห็นถึงกระบวนการ ขั้นตอน<br />

และรูปแบบที่ชัดเจน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการทําหนาที่ของโรงเรียนในฐานะของการถายทอด<br />

อุดมการณแหงรัฐ<br />

5.3 “โฮงเฮนเจอจาด”: โรงเรียน อุดมการณ และชาตินิยมในระบบการศึกษา<br />

สําหรับในหัวขอนี้ผูศึกษาจะแสดงใหเห็นถึงการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไทใหญใน<br />

ระบบของการศึกษา โดยจะเปนการวิเคราะหที่สอดคลองกับกรอบ และแนวคิดของการศึกษา ซึ่งที่<br />

ผูศึกษาจะเรียงลําดับของเนื้อหาในหัวขอดังกลาว ตามสถานการณ หรือกิจกรรมของการจัดการ<br />

เรียนการสอนในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง เพื่อสะทอนใหเห็นถึงการถายทอดอุดมการณ<br />

ชาตินิยมในแตละกิจกรรมที่นักเรียนจะตองไดปฏิบัติเปนประจําอยางตอเนื่องทั้งภายในหองเรียน<br />

และนอกหองเรียน<br />

5.3.1 เขาแถว เคารพธงชาติ: เชื้อชาติและระเบียบวินัย<br />

“เด็กวันนี้คือผูใหญในวันหนา หรือเด็กวันนี้คือพลังของชาติ<br />

บานเมือง เพราะฉะนั้น การเรียนการสอนตองมีระเบียบ ใหเด็กอยูใน<br />

ระเบียบวินัย เพื่อใหมีนิสัยดี คือเปนผูที่เขากับระเบียบไดดี ถาโรงเรียนสอน<br />

ใหเด็กอยูในระเบียบ เคารพกฎในวัยเด็ก ถาโตมาก็จะเปนพลเมืองดี<br />

อยูภายใตระเบียบของบานเมืองได และผลดีตอมาก็จะนําไปสูความรู<br />

ความกาวหนาพัฒนา” คํานําของสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน 52<br />

52 เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล. http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


143<br />

ทันทีที่เสียงระฆังดัง นั่นเปนเวลาที่นักเรียนทุกคนรูโดยอัตโนมัติวาเปนสัญญานของ<br />

การที่ทุกคนจะตองไปรวมกัน ณ สถานที่เปนศูนยกลางของโรงเรียน ซึ่งมีเสาธงชาติตั้งเดนเปน<br />

สัญลักษณถึงความเปนชาติไทใหญ เมื่อทุกอยางเงียบลง พรอมๆ กับแถวของนักเรียนที่เปนเสนตรง<br />

แบงแยกระหวางแถวของเด็กผูชาย และเด็กผูหญิงตรงเหยียดจากหนาเสาธงมายังปลายแถว โดยมี<br />

ลําดับความสูงของคนในแถวจากเตี้ยไปหาสูง ทําใหเห็นถึงลําดับขั้นของเด็กตามลําดับชั้นของการ<br />

เรียน<br />

เมื่อทุกอยางเขาประจําที่ ประธานนักเรียนก็พรอมที่จะสั่งใหเด็กนักเรียนทุกคนอยูในทา<br />

เตรียมพรอมสําหรับการเคารพธงประจําชาติ อันเปนสัญลักษณของความเปนชนชาติไทใหญ ซึ่ง<br />

ภายใตผืนผาสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดความยาว 5 ฟุต กวาง 3 ฟุต และวงเดือนจุดเสนผานศูนยกลาง 9<br />

นิ้ว ที่มีแถบสี 3 สี ประกอบไปดวย สีเหลือง สีเขียว สีแดง และวงกลมสีขาวตรงกลาง ที่ถูก<br />

กําหนดใหเปนธงประจําชาติไทใหญเมื่อวันที่ 7 เดือนกุมภาพันธ ป พ.ศ. 2490 เปนตนมา โดยเจาฟา<br />

และกลุมปลดปลอยรัฐฉาน 53 เพลงชาติ<br />

เคอ ไต เคอ รา ชา<br />

จอม ปว ซ่ํา จั๋น ตา<br />

เลือน คํา เจา จาก จา<br />

จาด เฮา มี เต จะ<br />

พอม เปง ใจ หวา จา<br />

สู เจา เฮา เปน พู มี ใจ สัจ จา<br />

แตงโดย ดร.ปะญาณ เมื่อป 1947<br />

คําแปล<br />

ชาวเครือไตเปนเชื้อชาติพงษราชา<br />

ดวงจันทราประทับธงยุติธรรม<br />

53 ไมปรากฏนามผูแตง, หนังสือ x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj , 2542: 48


144<br />

ชาติเรามีเดชแกรงกลาสุดเลิศล้ํา<br />

ตางนอมนําใจสมัครสามัคคี<br />

ชาติไตเรามีสัจจะไมผันแปร 54<br />

เมื่อธงชาติขึ้นสูยอดเสา ประธานนักเรียนก็จะสั่งใหนักเรียนทุกคนทําความเคารพ<br />

ดวยการยืนตรงแลวโคงคํานับคางไวประมาณ 5 วินาที เปนจํานวน 3 ครั้ง ซึ่งเด็กนักเรียนจะตองมี<br />

กิจวัตรหนาเสาธงทุกวันที่โรงเรียนมีการทําการเรียนการสอน<br />

ภายใตกิจกรรมของการเขาแถวเคารพธงชาติที่เด็กนักเรียนไดทําอยูทุกวันนั้น มีเนื้อหาที่<br />

สําคัญที่สอดแทรกเพื่อตอกย้ําถึงความเปนคนไทใหญที่มีธงชาติเปนของตนเอง ซึ่งในความหมาย<br />

ของธงชาตินั้นก็จะแสดงถึงทั้งตัวตนของคนไทใหญทั้งดานเชื้อชาติ ประเพณี วัฒนธรรม และความ<br />

สมบูรณทางทรัพยากร รวมถึงที่สําคัญที่สุด คือ จิตใจ ที่แสดงถึงการเปนบุคคลที่มีพุทธศาสนา และ<br />

การเปนบุคคลที่มีสัจจะวาจา ทั้งนี้ยังเปนการตอกย้ําถึงภารกิจครั้งสําคัญของบรรพชนคนไทใหญที่<br />

ไดสรางหลักฐานชิ้นสําคัญไวเมื่อ 50 ปที่แลว นั่นก็คือ “สัญญาปางโหลง” จนกอกําเนิดธงชาติสี<br />

เหลืองเขียวแดง และขาว ไดโบกสะบัดมาไดจนถึงทุกวันนี้<br />

ภาพที่ 5.13 ธงชาติไทใหญ<br />

ที่มาภาพ: http://taiyai.net/index.html<br />

สีเหลือง หมายถึง ชนชาติไทใหญเปนคนเชื้อชาติตระกูลมองโกลอย มีผิวเหลืองและ<br />

พระพุทธศาสนาที่ชนชาติรัฐฉานนับถือ<br />

54 http://taiyai.net/index.html


145<br />

สีเขียว หมายถึง ผืนแผนดินมาตุภูมิแหงไทยใหญมีความอุดมสมบูรดวย ภูเขา ปาไม<br />

มีทรัพยากรธรรมชาติมากมายทั้งในดินและบนดินและหมายถึงชนชาติรัฐฉาน<br />

เปนชนชาติที่รักสงบไมรุกรานใคร<br />

สีแดง หมายถึง ความรักชาติ ความกลาหาญของชนชาติรัฐฉาน<br />

วงจันทร หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความยุติธรรม ความมีสัจจะของชนชาติรัฐฉาน 55<br />

เมื่อธงชาติเปนสิ่งสําคัญยิ่งของความเปนเชื้อชาติ และประเทศแลว ดังนั้นการทําความ<br />

เคารพของคนในชาติก็จะตองประกอบไปดวยการแสดงออกถึงความเคารพ ในรูปแบบของการ<br />

มีระเบียบวินัย ใหเกียรติ์ แกธงชาติอันหมายถึงสัญลักษณของคนไทใหญ ซึ่งการเขาแถวอยางพรอม<br />

เพรียงกัน และเงียบสงบ แลวโคงคํานับอยางสุภาพนั้น หมายถึงการยอมรับ และยกใหธงชาตินั้น<br />

อยูเหนือศีรษะ ที่ไมสามารถใหใครมาเหยียบย่ํา หรือทําลาย สัญลักษณแหงเชื้อชาติได<br />

ถึงแมวากิจวัตรนี้จะใชเวลาในการปฏิบัติเพียงไมกี่นาที แตสิ่งเหลานี้ไดรับการตอกย้ํา<br />

และใหนักเรียนพึงสังวรวาตนเองเปนชนชาติที่มีความยิ่งใหญ มีประวัติศาสตร มีภาษา มีวัฒนธรรม<br />

และผืนแผนดินของตนที่อุดมสมบูรณ รวมถึงการเปนคนที่มีจิตใจที่ดีงาม ผานเพลงชาติที่ดังกึกกอง<br />

ในโรงเรียนแหงนี้ จากหนึ่งเสียงเปนรองเสียงที่ประสานกัน เพื่อบงบอกถึงความรักของคนในชาติ<br />

ที่มีตอผืนแผนดินไทใหญตั้งแตอดีตมาจนถึงในปจจุบัน<br />

5.3.2 “ทอดแมดสี่เยิ่ง” 56 : 4 สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ของคนไทใหญ<br />

“ทอดแมดสี่เยิ่ง” (x.wfrswfjoDb,ldifj) หรือสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน<br />

นั้น คนไทใหญทุกคนตางรูจักกันดี และยกใหสถาบันทั้ง 4 นี้ อยูเหนือศีรษะของตนเอง หากจะแปล<br />

ตามความหมายที่ เขี ยนไว ในหนั งสื อ “ท อดแม ดสี่ เยิ่ งแลหลั๊ กนํ าห กข อ ”<br />

(x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj) ของกองกําลังกูชาติไทใหญที่เจา<br />

ยอดศึก ในฐานะของการเปนผูนําสูงสุด และประธานสภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน (Restoration<br />

Council of Shan State) ไดเขียนในคํานําของหนังสือเลมนี้เอาไววา<br />

“เพื่อที่จะใหประชาชนทุกชนชาติในผืนแผนดินไทใหญ<br />

มีแนวทางระเบียบกฎเกณฑในการที่จะคิดและนําไปปฏิบัติใหชาติบานเมือง<br />

55 http://taiyai.net/index.html<br />

56 เปนการออกเสียงตามภาษาไทใหญ แปลวาสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน


146<br />

ไดรับประโยชนสูงสุดนั้น จึงไดเขียนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และ<br />

หลักนํา 6 ขอ ขึ้นมา ... เพื่อเปนหนังสือคูมือสําหรับผูที่รักชาติทั้งหลาย...” 57<br />

สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน ที่ไดเขียนไวในหนังสือเลมนี้ประกอบไปดวยสถาบัน<br />

สําคัญ 4 สถาบันดังที่จะกลาวตอไปนี้<br />

1. ชาติ<br />

2. บานเมือง (ประเทศ)<br />

3. ภาษา (หมายรวมถึงวัฒนธรรม)<br />

4. ศาสนา<br />

ภาพที่ 5.14 หนังสือ หนังสือ “ทอดแมดสี่เยิ่งแลหลั๊กนําหกขอ” (x.wfrswfjoDb,ldifj<br />

tvj vuf;erf;[luf;acMj)<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

57 ไมปรากฏนามผูแตง, หนังสือ x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj , 2542: 32.


147<br />

สถาบันทั้ง 4 สถาบันนี้ถูกเปรียบเปนเหมือนกับโครงสรางหลักที่ใหพันธุไมเลื้อยให<br />

สามารถเกาะไต เจริญงอกงาม ผลิตดอก ออกผล ไดฉันใด มนุษยชาติก็ยอมที่จะตองมีโครงหลัก<br />

เพื่อปกปองสิทธิประโยชน ความเจริญรุงเรือง รมรื่นเย็น และเสรี ฉันนั้น ประกอบกับสถาบันทั้ง 4<br />

นี้ถูกทําใหเปนแนวทาง ระเบียบ และกฎเกณฑ ที่เจายอดศึกไดเขียนไวในขางตนที่กลาวมาแลว<br />

ดังนั้น เพื่อเปนการทําใหเห็นการทําหนาที่ที่ชัดเจนของทั้ง 4 สถาบันนี้ จึงจะใหคําอธิบายและ<br />

ความหมายของทั้ง 4 สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ ดังนี้<br />

ก) ชาติ<br />

ในที่นี้หมายถึง ชนชาติทุกเผาพันธุ ที่อาศัยอยูในผืนแผนดินเดียวกันที่รวมทุกข<br />

รวมสุข กันมาตั้งแตครั้งโบราณกาล ซึ่งประกอบไปดวย ไทใหญ ปะหลองหรือตอาง ปะ<br />

โอ วา คะฉิ่น ทนุ อางซา ลาหู อาขา โกกาง ปะตอง หรือคะยา ลีซอ ยางดํา ยางแดง ยาง<br />

ลาย ตองเลอ แขกหรือกรูขา รวมถึงชนชาติสวนนอย เชน แอน ขมุ ทะเนาะ ปะแล ซึ่ง<br />

ชนชาติเหลานี้ลวนอยูในผืนแผนดินรัฐฉานมาเปนเวลานับพันป ที่แสดงถึงการมี<br />

ประวัติศาสตร และแผนดินไมนอยหนาของชนชาติอื่นใดๆในโลกใบนี้ แตที่ผานมายัง<br />

ไมมีความสามัคคีกัน จึงทําใหการที่จะทําใหกอบกูเอกราชบานเมืองใหเปนอิสระไมได<br />

ดังนั้นจึงเปนการบงบอกถึงใหทุกเชื ้อชาติที่อยูในผืนแผนดินนี้ มีความเปนชาติเดียวกัน<br />

เพื่อสรางความสามัคคีใหเกิดขึ้น<br />

ข) บานเมือง<br />

ในที่นี้มีความหมายที่แตกตางจากชาติ ซึ่งไดกลาวไววา เมื่อมีชาติแลว หากไมมี<br />

แผนดินหรือบานเมืองที่เปนที่อยูอาศัย ชาติอื่นก็ไมไดใหความเคารพยําเกรง และ<br />

สามารถที่จะเขามาย่ํายี รุกราน กดขี่ ขมเหงได ดังนั้นบานเมืองจึงเปนสถาบันอัน<br />

ศักดิ์สิทธิ์ที่ยิ่งใหญและสําคัญมาก สําหรับมนุษยชาติทุกหมูเหลา ทําใหการให<br />

ความหมายของบานเมืองในที่นี้มีรายละเอียดดังนี้<br />

1. แผนดินไทใหญ ที่มีประวัติศาสตร กษัตริยปกครอง อิสระ และมีกองทัพ<br />

ปกปองมาโดยตลอด รวมถึงการรับรองการมีอาณาเขตของพื้นที่ทั้งหมด<br />

62,500 ไมล จากประเทศอังกฤษ จีน และไทย ในป พ.ศ. 2437


148<br />

2. แผนดินไทใหญเปนผืนแผนดินที่มีความอุดมสมบูรณทั้งในดานของพื้นที่<br />

และแรงงาน ที่ทําใหคนไทใหญไดมีอาชีที่หลากหลาย และมีผลผลิตใน<br />

ดานตางๆ มากมาย เชน การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว เปนตน<br />

3. แผนดินไทใหญมีระบบชลประทานที่ใชในการเกษตรใหกับประชาชนที่<br />

อาศัยอยูในผืนแผนดินนี้ประมาณ 18 แหง ที่แสดงถึงความสมบูรณของ<br />

ระบบชลประทาน<br />

4. แผนดินไทใหญมีแมน้ําสายสําคัญที่หลอเลี้ยงผูในในแผนดินนี้ ประมาณ<br />

13 สาย<br />

5. แผนดินไทใหญมีทรัพยากรปาไมที่มีความหลากหลายของพันธุไมที่สําคัญ<br />

อยางนอย 10 พันธุ<br />

6. แผนดินไทใหญมีทรัพยากรธรรมชาติใตดินที่มีคุณคา เชน พลอย บุษราคัม<br />

หยก เปนตน<br />

7. แผนดินไทใหญมีเมืองสําคัญตางๆ ที่เปนเมืองใหญ แบงออกเปน 3 ภาค คือ<br />

ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันตก และมีเมืองที่เปนศูนยกลางสําคัญตางๆ<br />

เชน ตองยี เชียงตุง ลาเสี้ยว ฯลฯ<br />

ดังที่กลาวมาจะเห็นไดวาในความหมายของบานเมืองในสถาบันนี้มีไมใชเพียง<br />

ที่อยูอาศัยเทานั้น แตยังหมายถึงผืนแผนดิน อาณาเขต ทรัพยากร และเมืองสําคัญตางๆ<br />

ที่อยูแผนดินรัฐฉาน และในสถาบันนี้ยังถูกกําหนดใหมีความสําคัญที่สุด อันหมายถึง<br />

ทําใหผูคนที่อยูในผืนแผนดินนี้ไดมีความรูสึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และรูสึกถึงความ<br />

เปนเจาของรวมกันที่เกี่ยวของโดยตรงตั้งแตในระดับของตัวบุคคลไปจนถึงในระดับ<br />

ของชาติ บานเมือง<br />

ค) ภาษา<br />

ก็เปนอีกสถาบันหนึ่งที่ไดรับการยกใหเปนหนึ่งในสี่ของสถาบันดังกลาวที่<br />

สําคัญ ซึ่งภาษาในที่นี้ไมไดหมายถึงเพียงการสื่อสารทั้งในรูปแบบของการพูดและการ


149<br />

เขียนเทานั้น แตยังหมายรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญอีกดวย ในขณะที่<br />

ภาษาที่เปนในรูปของอักษรเขียนนั้นก็ยังคงมีความหลากหลายที่ใชในแผนดินไทใหญ<br />

เชน ภาษาจีน พมา ไตขึน ปะหลอง ปะโอ วา ลาหู และภาษาอังกฤษ จึงทําใหไมมี<br />

ความเปนเอกภาพในการใชไดอยางอิสระ อันเนื่องมาจากการอยูภายใตการปกครอง<br />

ของชนชาติอื่น<br />

นอกจากนี้ยังหมายถึงวัฒนธรรมที่ประกอบไปดวย การพูด การแตงกาย<br />

ลักษณะทีอยูอาศัย เครือมือในการประกอบอาชีพ อาหาร และศิลปะการแสดงแขนง<br />

ตางๆ ซึ่งจากวัฒนธรรมนี้เอง ที่ไดกลาวเปรียบเทียบไววา “ภาษาวัฒนธรรมใคร<br />

เจริญรุงเรือง ชาตินั้นก็เจริญรุงเรือง ภาษาวัฒนธรรมใครตกต่ํา ชาตินั้นก็ตกต่ํา” ดังนั้น<br />

การยกใหภาษาและวัฒนธรรมเปนสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์อีกสถาบันหนึ่งก็เพื่อที่วาใหเปน<br />

การปลุกเราประชาชนคนรุนตอๆไปไดศึกษาเรื่องราวตางๆ ในการสืบสาน<br />

ประวัติศาสตร และใหเปนที่รูจักแพรหลายในนานาอารยประเทศ<br />

ง) ศาสนา<br />

เปนสิ่งที่มนุษยทุกคนพึงใหการพึ่งพา เคารพนับถือ ซึ่งสําหรับคนไทใหญแลว<br />

ศาสนานั้นเปนสิ่งสําคัญยิ่งกวาสิ่งไหน ในแผนดินไทใหญสวนใหญรอยละ 85 นั้น<br />

นับถือศาสนาพุทธ และที่เหลือจะเปนศาสนาคริสต ฮินดู และนับถือผีบาง ในขณะที่<br />

คนสวนใหญใหการนับถือศาสนาพุทธ ดังนั้นจึงมีอิทธิพลสูงมากสําหรับ<br />

พุทธศาสนิกชนที่นี่ ดังจะเห็นไดจากการปฏิบัติธรรม การกอสรางศาสนสถาน และการ<br />

นําหลักทางพุทธศาสนาเขามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมถึงการเชื่อมโยงให<br />

เหมาะสมกับสถานการณของบานเมืองอีกดวย 58<br />

ทั้งหมดที่กลาวมานี้เปนรายละเอียดที่สําคัญของสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4<br />

สถาบัน ที่เขามามีบทบาทสําคัญในการวางโครงสราง ระบบ ระเบียบ และวิถีทาง<br />

แหงการสรางความสํานึกของความเปนชนชาติไทใหญ ภายใตการนําของ<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ ซึ่งจะเห็นไดวานอกจากสถาบันทั้ง 4 นี้จะถูกเขียนขึ้นมาใหเปน<br />

หนังสือคูมือสําคัญของผูที่รักชาติแลว ในระบบของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

ดังที่ไดนําเสนอไวในบทที่ผานมานั้น<br />

58 ไมปรากฏนามผูแตง, หนังสือ x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj , 2542: 35-44.


150<br />

โดยการเรียนการสอนนั้นจะถูกบรรจุใหอยูในหลักสูตรของเด็กที่อยูใน<br />

ระดับชั้นที่ 4-5 ซึ่งจะเปนการใหรายละเอียดลงลึก นอกเหนือจากที่เด็กนักเรียนทุกคน<br />

และประชาชนจะตองมีความรูความเขาใจในเบื้องตนอยูแลว เพื่อใหเห็นภาพมากขึ้น<br />

จายหนุมอดีตนักเรียนที่เคยไดรับการศึกษาเกี่ยวกับสี่สถาบันนี้ไดกลาวถึงความสําคัญไว<br />

วา<br />

“ทอดแมดสี่เยิ่ง หรือสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน เขา<br />

เปรียบเทียบวา ชาติเปนเสมือน พอ บานเมืองเปรียบเสมือน แม<br />

ภาษาเปรียบเสมือนการสื่อการของคนที่ตองมีการพูดจา และศาสนา<br />

นั้นเปรียบหัวใจของคน ดังนั้น การที่คนๆ หนึ่งเกิดมาไดนั้นจําเปน<br />

จะตองมี 4 สิ่งนี้ คือ พอ แม การสื่อสาร และจิตใจ” 59<br />

จากตัวอยางนี้ทําใหเห็นถึงความสําคัญของสถาบันที่สี่นี้ วาทําไมตองเปน<br />

คูมือสําหรับคนรักชาติ และทําไมถึงตองมีการถายทอดใหกับเด็กนักเรียนที่จะเปน<br />

ความหวังทางดานประชากรของคนไทใหญในรุนตอไป<br />

5.3.3 หลักนํา 6 ขอ: หนทางสูเอกราช<br />

หลักนํา 6 ขอ “หลั๊กนําหกขอ” (vuf;erf;[luf;acMj) 60 เปนแนวทางในการปฏิบัติของ<br />

คนไทใหญที่จะกาวไปสูความเปนอิสระ และเกภาพแหงชนชาติของตน ซึ่งหลักนําทั้ง 6 ขอนี้ก็เปน<br />

อีกขอปฏิบัติของกองกําลังกูชาติไทใหญไดบัญญัติขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการนําพาเอาแผนดิน<br />

ไทใหญไดรับความสงบสุข และเปนเอกภาพ ซึ่งหลักนําทั้ง 6 ขอประกอบไปดวยหลักการสําคัญ<br />

ตางๆ ที่พอจะสรุปไดดังนี้<br />

1. ความเปนเอกภาพภายในชนชาติ ซึ่งถือไดวาเปนสิ่งสําคัญที่สุด ดังนั้นคนในชาติ<br />

จะตองแสดงออกทั้งกาย วาจา และใจ ภายใตความเชื่อมั่นที่มีตอสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์<br />

ทั้ง 4 สถาบัน เพื่อใหสถาบันมีความเจริญรุงเรือง ซึ่งจะตองอาศัยความรวมมือของคน<br />

59 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 8 เมษายน 2551.<br />

60 ออกเสียงตามภาษาไทใหญ แปลวาหลักนํา 6 ประการ


151<br />

ในชาติใหการสนับสนุน และรวมปฏิบัติภารกิจในดานบวกรวมกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ<br />

การมีการเปดใหมีการเรียนการสอนในสถานศึกษา โรงเรียน และวัด<br />

2. น้ําใจปางโหลง 1947 ในที่นี้ไมไดเกี่ยวของกับสนธิสัญญาปางโหลง เมื่อป พ.ศ. 2490<br />

แตเปนการยกยองของการเกิดขึ้นของธงชาติไทใหญ ที่เหลาบรรดาเจาฟาไดมีมติให<br />

กําหนดขึ้นภายหลังจากการประชุมทําสนธิสัญญาปางโหลง ซึ่งทําใหธงชาติทีมีสี<br />

เหลือง เขียว แดง และวงกลมสีขาวตรงกลางไดเกิดขึ้น ในวันที่ 7 เดือนกุมภาพันธ<br />

พ.ศ. 2590 อันหมายถึงความสามัคคีพรอมใจกัน ซึ่งเทียบเทากับวาไทใหญไดมีเอกราช<br />

แลว ซึ่งตอมาหลังจากที่มีการจัดตั้งสภาเพื่อกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS)<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญที่ดอยไตแลง ก็ไดมีการประชุมแลวลงมติใหมีการเปลี่ยน<br />

หลักนําขอนี้จาก น้ําใจปางโหลง มาเปนเอกราชแทน<br />

3. ประชาธิปไตย เปนระบอบที่สมควรใหมีการนํามาใชในการปกครองชนชาติตางๆ<br />

ในผืนแผนดินรัฐฉานเปนอยางยิ่ง เพราะระบอบประชาธิปไตยจะใหสิทธิ เสรีภาพอยาง<br />

เทาเทียมกัน ทั้งนี้จะตองไมกระทบกระเทือนถึงประเพณี วัฒนธรรม และกฎหมายการ<br />

ปกครองอยางเด็ดขาด ซึ่งจะตองมีขอบเขตของประชาธิปไตยเปนของตนเอง<br />

4. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เปนเปาหมายหลักสําคัญของการทํางานตอไปของ<br />

กองกําลังกูชาติ หากไดรับเอกราชและไดมีการจัดตั้งรัฐบาลเปนของตนเอง จะตองมี<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกชนชาติใหมีความเจริญกาวหนา มีสิทธิ<br />

เสรีภาพทัดเทียมกันตามความสามารถของแตละบุคคล<br />

5. การตอตาน และปราบปรามยาเสพติด ซึ่งที่ผานมานั้นประชาชนคนไทใหญไดรับ<br />

ประสบการณตางๆ ที่เลวราของผลกระทบที่มาจากยาเสพติด ซึ่งมีรากเหงามาจากการ<br />

ปลุกฝน ซึ่งเปนพืชที่ประเทศเจาอาณานิคมอังกฤษในสมัยนั้นนํามาใหคนไทใหญได<br />

ปลูก ตอมาจึงเกิดปญหาตางๆ ทางดานของยาเสพติดขึ้นมาอีกมากมาย ดวยเหตุนี้จึง<br />

จําเปนจะตองตอตานและปราบปรามยาเสพติดใหหมดไปจากแผนดินของไทใหญ<br />

โดยแกไขจากรากเหงาของปญหามากกวาแกปญหาที่ปลายเหตุที่เกิด<br />

6. ความรมเย็นสงบสุข ซึ่งในขอนี้ไดกลาวอางถึงความสงบรมเย็นของผืนแผนดินไทใหญ<br />

ตั้งแตครั้งที่เสือขานฟา และเจาสามหลวงฟา วีรบุรุษผูยิ่งใหญของคนไทใหญ เมื่อครั้งที่


152<br />

ยังมีชีวิตอยู และตอมาหลังจากนั้นก็ไมมีความสงบรมเย็นเลย ดังนั้นหากทุกคน<br />

อยากใหมีความสงบรมเย็นในผืนแผนดินไทใหญจึงจําเปนจะตองปฏิบัติตามหลักนํา<br />

ทั้ง 6 ขอ เพื่อที่จะไดมีความเปนเอกภาพในชาติที่จะนําพาไปสูเอกราช เสรีภาพ และ<br />

ความเจริญรุงเรือง ซึ่งความเปนเอกภาพจะสามารถปองกัน ปกปองบานเมือง และ<br />

สงเสริมใหเกิดการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แลวจึงจะสามารถพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิตของประชาชน ไปพรอมๆกับการปราบปรามยาเสพติด จึงจะเกิดความรมเย็นสงบ<br />

สุขตามมา 61<br />

จากหลักนําทั้ง 6 ขอ ที่กลาวมาแลวจะทําใหเห็นถึงเสนทางของการวางแผนเพื่อใหได<br />

เอกราชของการทํางานกูชาติของคนไทใหญ ที่มีผลตอการถายทอดอุดมการณทางดานของ<br />

การสรางความสามัคคีของคนในชาติใหมีทิศทางและความหวังรวมกัน ภายใตความเชื่อมั่นของ<br />

สถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และหลักนํา 6 ขอ ที่ไดบัญญัติไวเพื่อสรางคนในชาติใหมีอุดมการณ<br />

เดียวกัน และในโรงเรียนก็เชนการไดมีการถายทอดความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักนําทั้ง 6 ขอ<br />

ใหกับเด็กนักเรียนในระบบของการศึกษา โดยสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบันจะสอนตั้งแตชวงชั้น<br />

4-5 เพื่อที่จะเปนบุคลากรที่สําคัญในการรักษา และถายทอดใหกับคนรุนตอๆ ไป<br />

หากจะดูในเนื้อหาและรายละเอียดนั้นจะทําใหเห็นถึงวิธีการเชื่อมโยงเปาหมายในแตละ<br />

ขอใหมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันอยาง เพื่อเปนการใหคนในชาติไดเห็นภาพเดียวกัน โดยที่เปน<br />

เหตุเปนผลระหวางแตละขอจากเปาหมายสูงสุดมาสูหลักปฏิบัติที่ทุกคนสามารถชวยกันปฏิบัติ และ<br />

เชื่อมั่นในการนําของสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 สถาบันอยางเกื้อกูลซึ่งกันและกัน<br />

5.3.4 จากคําปฏิญาณสูขอปฏิบัติ<br />

เมื่อสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และหลักนํา 6 ขอ ไดถูกกําหนดขึ้น หนาที่อีกอยาง<br />

หนึ่งของคนในชาติจะตองมีสวนสําคัญในการรับไปใชเปนแนวทาง เพื่อสนองตออุดมการณแหงรัฐ<br />

โดยเฉพาะนักเรียนในฐานะของการเปนผูที่ศึกษาในระดับของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

จึงจําเปนที่จะตองมีความรูความเขาในขอปฏิบัตินี้อยางเครงครัด ผานการนํามาปรับใชในการเรียน<br />

61 ไมปรากฏนามผูแตง, หนังสือ x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj , 2542: 45-58.


153<br />

การสอน และการทองปฏิญาณตน เพื่อเปนการยกยองเชิดชูสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน<br />

จึงมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้<br />

1. ตองมีความเชื่อมั่นในสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 ประการนั้น เทิดทุนไวเหนือศีรษะ<br />

ตลอดเวลา ทั้งกาย วาจา ใจ ก็ตองปฏิบัติเพื่อสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์<br />

2. ในการที่จะทําใหสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน มีความเจริญรุงเรืองไดนั้น ทั้งกาย<br />

วาจา และใจ ก็ตองปฏิบัติตามหลักนํา 6 ขอนั้นใหดี<br />

3. การที่จะไดทําใหหลักนํา 6 ขอ ใหเห็นผลเปนขั้นเปนตอนนั้น จะตองมีแผนการ<br />

จัดการ การตรวจสอบ และการปรับปรุงแกไขอยูตลอดเวลา<br />

4. การที่จะบริหารคนและงานนั้น ตองมีระเบียบแบบแผนในการควบคุมดูแลระเบียบ<br />

แบบแผนที่วานั้น ก็คือ ตองมีความเขาใจในงานของฝายอํานวยการทั้ง 5 สายงาน<br />

อยางถองแท<br />

5. การที่จะทําใหระเบียบแบบแผนมีความมั่นคง และความยุติธรรมอยางครบถวน<br />

6. ในการที่จะทําใหความเปนเอกภาพภายในชาติมีความมั่นคงเจริญรุงเรืองนั้นตอง<br />

รักกัน รวมมือ ใหความชวยเหลือกัน และแกไขปรับปรุงซึ่งกันและกัน<br />

7. ในการที่จะทําใหเกิดความรัก ความรวมมือ ความชวยเหลือ และการปรับปรุงซึ่งกัน<br />

และกันนั้น ตองเชื่อมั่นในหลักการ รัก 4 รัก เชื่อ 4 เชื่อ และสัจจะ 4 ประการ ดังนี้<br />

- รัก 4 รัก ไดแก<br />

• รักตนเอง ทําอยางไรจึงจะอยูรอดปลอดภัย<br />

• รักหนาที่ การงานของตนเอง และทําหนาที่ใหมีความ<br />

เจริญกาวหนา<br />

• รักหมูคณะของตนเอง เพื่อปกปองรักษาชาติ<br />

• รักผูนํา ที่คิด พูด และปฏิบัติงานเพื่อชาติ<br />

- เชื่อ 4 เชื่อ<br />

• เชื่อในความสามารถของตนเอง อยาเชื่อผูอื่นมากกวาตนเองมาก<br />

เกินไป<br />

• เชื่อในชาติของเรามากยิ่งกวาตางชาติ


154<br />

• เชื่อทานผูนําที่ทรงความยุติธรรม<br />

• เชื่อในหมูคระตนเองเพื่อปองกันรักษาชาติ<br />

- สัจจะ 4 ประการ<br />

• ใหมีสัจจะตอชาติ อยาทรยศตอชาติ<br />

• ใหมีสัจจะตอหมูคณะ อยาทรยศตอหมูคณะ<br />

• ใหมีสัจจะตอทานผูนํา อยาทรยศตอทานผูนํา<br />

• ใหมีสัจจะตอเพื่อน อยาทรยศเพื่อน 62<br />

จากคําปฏิญาณดังกลาวจะทําใหเห็นถึงการที่จะยกยองหรือนําสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4<br />

สถาบัน และหลักนํา 6 ขอมายึดถือปฏิบัตินั้น จะตองยกเอาหลักการทั้งหมดใหอยูเหนือศีรษะที่ถือ<br />

วาสําคัญยิ่ง และใหเชื่อมั่นในหลักดังกลาวอยางสูงสุด แลวจึงปฏิบัติใหไดอยางเครงครั้ง ตั้งแตกาย<br />

วาจา และจิตใจ ซึ่งครอบคลุมการปฏิบัติทั้งหมดของคนๆ หนึ่งที่จะเปนไปได โดยที่ยังอธิบายถึง<br />

กรอบของการที่จะตองปฏิบัติตัว การใหความรัก การใหความเชื่อถือ และการยึดหลักของสัจจะที่<br />

เปนพันธะสัญญาที่จะทําใหการปฏิบัติตามหลักดังกลาวนั้นไดผลดีเปนอยางยิ่ง<br />

ถึงแมวาคําปฏิญาณดังกลาวจะเปนหลักการสําคัญของการทํางานทางดาน<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ แตหลักการดังกลาวก็ไดถูกใชในระบบการศึกษาในโรงเรียนดวย ดังจะเห็น<br />

ไดจากการวางหลักสูตร และเนื้อหาในหาสอนสําหรับเด็กที่อยูในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงซึ่ง<br />

จะสอนตั้งแตชวงชั้น อนุบาลถึงชั้น 10 ในประเด็นนี้โรงเรียนไดทําหนาที่ของการถายทอด<br />

อุดมการณชาตินิยมไทใหญไดอยางเต็มรูปแบบตั้งแตการนํามาเปนหลักในการการบรรจุลงใน<br />

เนื้อหาที่จะตองใหเด็กในโรงเรียนไดรู และเขาใจอยางลึกซึ้ง ประกอบกับการนําหนักดังกลาวมาใช<br />

เปนคําปฏิญาณเพื่อบงบอกและตอกย้ําใหเกิดความแนใจวามีความเขาใจและสามารถนําไปปรับ<br />

ประยุกตใชไดอยางแทจริง<br />

นอกจากนี้ในสถานการณทั่วไปเด็กนักเรียนก็ตองเจอสภาพและการปฏิบัติตามหลัก<br />

ดังกลาวไดอยางเปนปรกติ เนื่องจากสถานที่ตั้งของเด็ก และตัวของเด็กเองก็อยูในสังคมของทหารที่<br />

อยูในฐานบัญชาการสูงสุดแหงนี้ ทําใหระบบของสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และหลักนํา 6 ขอ<br />

จึงปรากฏใหเห็นและใหไดปฏิบัติอยางปรกติ รวมถึงการใหขอมูลขาวสารของสถานีวิทยุในระบบ<br />

FM ของกองกําลังกูชาติไทใหญที่ถายทอดสัญญาณใหบริการแกพื้นที่ของกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

ดอยไตแลง และในบริเวณพื้นที่ของรัฐฉานตอนใน ในทุกๆ วันชวงเวลาตั้งแต เวลาประมาณ 18.00-<br />

62 ไมปรากฏนามผูแตง, หนังสือ x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj , 2542: 59-60.


155<br />

22.00 น. เพื่อเปนการกระจายขาวสาร สาระความรู และความบันเทิงที่สงผานไปยังผูคนใน<br />

เขตบริการ<br />

ในระบบของการสงสัญญาณวิทยุนี้เอง จะมีชวงหนึ่งของเปดสถานีวิทยุในชวงเวลา<br />

18.00 น. หลังจากเพลงชาติ และเพลงโหมโรงพื้นบานจบลง ก็จะมีผูประกาศประจําสถานีทองคํา<br />

ปฏิญาณทั้งหมดตั้งแตสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน หลักนํา 6 ขอ ขอควรปฏิบัติในการยกยอง<br />

สถาบันและหลักนํา หลักการปฏิบัติรัก 4 รัก เชื่อ 4 เชื่อ และสัจจะ 4 ประการ ดังกลาว เพื่อ<br />

เปนการถายทอดและตอกย้ําถึงหลักการปฏิบัติสําคัญที่ผูคนที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินนี้ไดรับเอาเปน<br />

หลักปฏิบัติไวเหนือศีรษะที่สําคัญยิ่งกวาสิ่งใด<br />

5.3.5 แบบเรียน: การสื่อสารจากหนังสือสูชีวิตจริง<br />

ในระบบของการศึกษานั้น แบบเรียนเปนเครื่องมือชิ้นสําคัญที่เปนเครื่องถายทอดสาร<br />

สาระสําคัญที่ผูเขียน หรือผูที่บทบาทสําคัญของการวางโครงเรื่องนั้นๆ ตองการสื่อออกมา ดังนั้น<br />

หากจะเปรียบเทียบแบบเรียนเปนเสมือนแผนที่นําทางก็คงจะไมผิดมากนัก แบบเรียนประกอบไป<br />

ดวยเนื้อหา รูปภาพ และสัญลักษณตางๆ ที่ทําหนาที่ถายทอดจากสารไปสูผูรับสาร ซึ่งดูเหมือนวา<br />

แบบเรียนหรือหนังสือนั้นจะเปนสิ่งที่อยูตรงกลางระหวางผูที่ตองการสื่อสาร ผูที่ใชสาร และผูที่รับ<br />

สาร ซึ่งหากจะนําสารในฐานะของการเปนแบบเรียนจึงจําเปนจะตองพิจารณากับตัวแปรสําคัญทั้ง 3<br />

สวนดังกลาว<br />

กอนที่จะไปวิเคราะหแบบเรียนในตัวแปรทั้ง 3 สวนนั้น ผูศึกษาจําเปนที่จะตองชี้แจงถึง<br />

เงื่อนไขของแบบเรียนที่จะนํามาวิเคราะหในเบื้องตนกอน เพื่อใหทราบถึงวัตถุประสงค และหลัก<br />

ในการเลือกแบบเรียนดังกลาว คือ ในการศึกษาครั้งนี้ผูที่ศึกษาไดวางกรอบของการวิเคราะห<br />

ในดานของเนื้อหาในแบบเรียนไว 3 สวน ดังนี้<br />

1. การศึกษาแบบเรียนในรายวิชาประวัติศาสตร เพื่อใหทราบถึงการสื่อสารเนื้อหาของ<br />

ประวัติศาสตรไทใหญที่นําไปสูการถายทอดอุดมการณชาตินิยม<br />

2. การศึกษาแบบเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร เพื่อใหทราบถึงการสื่อสารเนื้อหาของ<br />

ภูมิศาสตร และอาณาเขต ที่สื่อออกมาถึงความเปนรัฐที่มีอาณาเขต และดินแดนของ<br />

ตนเอง<br />

3. การศึกษาแบบเรียนในรายวิชาสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน เพื่อใหทราบถึง<br />

ความสําคัญของสถาบันทั้ง4 ที่นํามาใชเพื่อเปนระบบ ระเบียบ ของการสราง


156<br />

ระเบียบวินัยที่มีผลตอการถายทอดอุดมการณแหงรัฐ ซึ่งไดวิเคราะหไปแลวใน<br />

หัวขอที่แลว<br />

การวิเคราะหในสวนของแบบเรียนผูศึกษาจะวิเคราะหแยกตามรายวิชา กับ 3 ตัวแปร<br />

ที่สําคัญดังนี้<br />

ก) “ปนไต”( ydkef;wB;) 63 ในวิชาประวัติศาสตร<br />

“ปนไต” หรือประวัติศาสตรไทใหญที่ใชในการเรียนการสอนของ<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้น เปนแบบเรียนที่เขียนขึ้นมาใหมในชวงของครูเคอแสน<br />

รับผิดชอบทางดานการศึกษาเมื่อประมาณป พ.ศ. 2545 ซึ่งไดเริ่มเขียนตําราเรียนตางๆ<br />

ตามหลักสูตรที่ไดวางไว โดยใหการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรนั้นเริ่มสอนตั้งแต<br />

ในระดับชั้น 3 – 10 แตในระดับชั้น 5 - 10 นั้นจะเริ่มมีประวัติศาสตรโลกเขามาสอน<br />

เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดรูประวัติศาสตรของตนเองไปพรอมๆกับประวัติศาสตรของ<br />

โลก<br />

จากแบบเรียนที่ครูเคอแสนไดเขียนไวนั้นจะทําใหเห็นถึงการวางเนื้อหาของ<br />

ประวัติศาสตรที่เริ่มตนจากการใหเด็กนักเรียนไดรูจักคําวาประวัติศาสตร หรือ “ปน”<br />

ในภาษาไทใหญ ซึ่งเนื้อหาสวนใหญในรายวิชาประวัติศาสตรของชั้นที่ 3 ที่ถือไดวาเปน<br />

ชั้นเริ่มตนของการสอนประวัติศาสตรนั้น มีเนื้อหาที่เหมือนกับเปนการแนะนําใหเด็กได<br />

รูจักประวัติศาสตร อะไรคือประวัติศาสตร มีที่มาที่ไปอยางไร รวมถึงเปนการสอนถึง<br />

ขอสังเกตหรือขอแตกตางระหวางประวัติศาสตรกับนิทาน ที่มีองคประกอบของเนื้อหา<br />

อางอิงตางกัน<br />

ภาพที่ 5.15 ตัวอยางหนังสือประวัติศาสตรไทใหญ<br />

63 ออกเสียงตามภาษาไทใหญ แปลวา ประวัติศาสตรไทใหญ


157<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

จากการสัมภาษณครูเคอแสนผูเขียนตําราเลมนี้ไดอธิบายถึงสาเหตุของ<br />

การเริ่มตนสอนประวัติศาสตรที่มีเนื้อหาแบบนี้ ครูเคอแสนไดกลาววา<br />

“เนื่องจากการสอนประวัติศาสตรเปนเรื่องที่คอนขางยาก<br />

ยิ่งสําหรับเด็กที่อยูในวัยนี้ ดังนั้นการที่จะรูจักประวัติศาสตรของตน<br />

ที่ถูกตอง จะตองรูจักแยกแยะใหเปนระหวางประวัติศาสตรที่มี<br />

องคประกอบดวยเมื่อไหร ที่ไหน ใคร ทําอะไร ซึ่งจะมีสิ่งประกอบ<br />

เหลานี้อางอิง จึงมีความแตกตางจากนิทานที่ไมสามารถหาหลักฐาน<br />

อางอิงได” 64<br />

สาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือในสังคมของคนไทใหญตั้งแตอดีตจนถึง<br />

ปจจุบันมักจะผูกติดกับเรื่องเลา นิทาน ที่บอกตอกันมา จนบางครั้งอาจจะทําใหเกิด<br />

ความเขาใจผิดระหวางประวัติศาสตร และนิทานได<br />

ในบทตอๆ มาก็จะเปนการใหความรูเกี่ยวกับชนชาติไทใหญวาเปนใคร มาจาก<br />

ไหน มีกี่เผาพันธุ มีลักษณะของความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร รวมถึงมีแหลงที่<br />

อยูกระจายตัวอยูที่ไหนบาง และไทใหญในแตละที่นั้นมีวิถีชีวิต ความเปนอยู สังคม<br />

64 สัมภาษณครูเคอแสน (อดีต)เลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) อดีต<br />

ผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร วันที่ 8 เมษายน 2551


158<br />

วัฒนธรรม ภาษา การแตงกาย และอื่นๆ อยางไรบาง ซึ่งหากวิเคราะหจากการเขียนของ<br />

ครูเคอแสนก็ไดขยายความเพิ่มเติมวา<br />

“ที่แมครูนําเอาเนื้อหาสวนนี้มาใชในการสอน ก็เพราะวา<br />

เมื่อกอนสมัยที่แมครูไดเรียนในโรงเรียนของพมานั้น เราถูกสอนให<br />

รูวาคนไทใหญในประเทศพมานั้นเปนชนชาติกลุมนอย ไมมีตัวตน<br />

ไมมีวัฒนธรรม ทําใหเรารูสึกนอยใจวา เหมือนกับเราไมมีตัวตนใน<br />

โลกใบนี้ ดังนั้นการที่ทําใหเด็กไดเรียนเกี่ยวกับคนไทใหญที่อาศัย<br />

อยูในที่ตางๆ เชน ในพมา จีน ไทย เวียดนาม ลาว และอินเดียนั้น<br />

ก็เพื่อที่จะทําใหพวกเขารูวา คนไทใหญมีตัวตน ไมไดอยูคนเดียวใน<br />

โลกใบนี้ ไทใหญมีพี่มีนอง มีสังคม และวัฒนธรรมเปนของ<br />

ตนเอง” 65<br />

นอกจากนี้ในตอนทายของแบบเรียนเลมนี้ยังไดทําใหรูถึงความเชื่อดั้งเดิมวา<br />

คนไทใหญในอดีตนั้น เปนชนชาติที่มีความเกี่ยวของหรือมีความสัมพันธที่สืบเชื้อสาย<br />

มาจากเสือ ซึ่งจะเห็นไดจากนิทานปรําปราเรื่อง “ไตเคอเสอ” ซึ่งหมายถึงวาคนไทใหญ<br />

เปนคนที่มีเชื้อสายจากเสือ ดังนั้นเราจึงมักจะเห็นสัญลักษณตางๆ ทั้งทางดานการทหาร<br />

และการศึกษานั้นจะมีรูปเสือเปนหนึ่งในสัญลักษณหรือองคประกอบนั้นๆ และที่สําคัญ<br />

ของการกลาวถึงการสืบเชื้อสายเสือนั้น อีกนัยยะหนึ่งก็เพื่อที่จะเชื่อมโยงกับแบบเรียน<br />

ในชั้นตอไปซึ่งก็คือแบบเรียนชั้นที่ 4 ที่ใชในการเรียนการสอนในโรงเรียนแหงนี้<br />

ในแบบเรียนในชั้นที่ 4 นั้น อยางที่กลาวไปแลววามีความเชื่อมโยงกับ<br />

แบบเรียนในชั้นที่ 3 ในตอนทายกอนที่จะจบในชั้นที่ 3 ซึ่งเกี่ยวของกับเสือ ในบทนี้<br />

โดยสวนใหญของเนื้อหาจะเปนการกลาวถึงประวัติศาสตรของไทใหญในเชิงลึกมากขึ้น<br />

โดยเริ่มตนตั้งแตในสมัยชวงของกอนคริสตศักราชที่ 1029-1065 ในชวงสมัยของ<br />

เจามอนหลาย ซึ่งเปนประวัติศาสตรแบบดั้งเดิมเชิงเรื่องเลา โดยสวนใหญแลวจะพูดถึง<br />

การสรางประวัติศาสตรที่บอกเลาถึงที่มาที่ไป การสืบเชื้อสายตางๆ รวมถึงการ<br />

ครอบครองขอบเขตอาณาบริเวณในยุคนั้น ๆ เรื่อยมาและเปลี่ยนผานไปเรื่อยๆ<br />

65 สัมภาษณครูเคอแสน (อดีต)เลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) อดีต<br />

ผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร วันที่ 8 เมษายน 2551


159<br />

จนกระทั้งมาถึงเนื้อหาสําคัญที่กลาวถึงเจาเสือขานฟา วีรบุรุษคนแรกของคนไท<br />

ใหญที่มีความเจริญรุงเรืองสูงสุด ซึ่งถือไดวาในยุคนี้ไทใหญเปนผูที่ยิ่งใหญในอาณา<br />

บริเวณนี้อยางมาก ซึ่งอยางที่กลาวมาแลววาคนไทใหญใหการเชื่อถือวาตนเองนั้นสืบ<br />

เชื้อสายมาจากเสือ รวมถึงการปรากฏของชื่อเจาฟาองคตางๆ ทั้งอดีตและปจจุบันมักจะ<br />

มีคําวาเสือเปนองคประกอบ ซึ่งสอดคลองกับการถือกําเนิดของเสือขานฟาวีรบุรุษคน<br />

สําคัญ ดังนั้นประวัติศาสตรในแบบเรียนของชั้นที่ 3 จึงใหความสําคัญเกี่ยวกับประวัติ<br />

ความเปนมา และวีรกรรมที่สําคัญของเสือขานฟาที่สามารถขยายอาณาเขตของการ<br />

ปกครองตนเองไดอยางกวางขวาง<br />

ซึ่งจะเห็นไดวาการสอนประวัติศาสตรไทใหญในแบบเรียนนั้น ก็ยังเนน<br />

เหตุการณสําคัญของการเกิดขึ้นของวีรบุรุษตางๆ ที่บงบอกถึงความยิ่งใหญของชนชาติ<br />

ไทใหญใหกับเด็กรุนหลังไดซึมซับถึงการเปนชนชาติที่มีแผนดิน ภาษา วัฒนธรรม<br />

ประเพณี ที่เปนของตนเอง และเคยมีความยิ่งใหญเพียงใดในอดีต แตสืบเนื่องจากการ<br />

ทํางานทางดานของการเขียนตําราของครูเคอแสนไดยุติบทบาทลงในป พ.ศ. 2550 จึงทํา<br />

ใหไมสามารถเขียนตําราในชั้นตอๆ ไปไดตามหลักสูตรที่ไดเคยวางเนื้อหาไว<br />

แตอยางไรก็ตามจากการสัมภาษณครูผูสอนในรายวิชาประวัติศาสตรในปจจุบัน ก็ทําให<br />

ทราบถึงสภาพปญหาของการสอนในรายวิชานี้และวิชาอื่นๆ ที่ไมมีความตอเนื่อง และ<br />

แบบเรียนที่ใชในการสอนใหกับนักเรียนในชั้นที่สูงๆ ขึ้น<br />

ในปจจุบันการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรจึงมีรูปแบบ และการเรียนการ<br />

สอนที่ตองปรับประยุกตใหเหมาะสมกับสถานการณทั้งทางดานขอจํากัดของบุคคลากร<br />

และสื่อการสอนตางๆ ตามที่ครูจายหญา ซึ่งเปนหนึ่งในศิษยเกาที่จบจากที่<br />

โรงเรียนดอยไตแลงรุนป พ.ศ. 2550 ไดเลาใหฟงวา<br />

“...ภายหลังจากที่จบจากโรงเรียน SSSNY และไดมาทํางาน<br />

ชวยทางกองทัพไดหลายเดือน ตอจากนั้นจึงมาชวยสอนที่โรงเรียน<br />

ซึ่งไดรับผิดชอบสอนในรายวิชาประวัติศาสตรไทใหญไดประมาณ<br />

2 เดือน ตั้งแตในชวงระดับชั้นที่ 3-8 โดยที่ในแตละคาบเรียนใชเวลา<br />

ประมาณ 45 นาที ซึ่งการสอนก็จะใชหนังสือตําราของแมครูเคอ


160<br />

แสน เชนกันในระดับชั้น 3-5 แตในระดับชั้น 6 - 8 นั้นก็ไมมี<br />

หนังสือที่ใชในการสอน” 66<br />

นี้วา<br />

ครูจายหญาก็ไดใชหนังสือ “หญาจาวาง” 67 แทน ตอมาไดอธิบายถึงหนังสือเลม<br />

“เปนหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับเจาฟาองคตางของรัฐฉานใน<br />

อดีต นอกจากนี้ก็ไดสอนเกี่ยวกับสถานการณครั้งสุดทายของรัฐ<br />

ฉาน คือตั้งแตชวงเวลาป 1885 ภายหลังจากที่ญี่ปุนเขามา<br />

ครอบครองรัฐฉานจนถึงป 1947 ซึ่งเปนปที่เกิดการทําสัญญาปาง<br />

โหลงขึ้น สวนเหตุการณหลังจากนั้นเด็กจะไดเรียนในวิชาสถาบัน<br />

อันศักดิ์สิทธิ์อยูแลว” 68<br />

นอกจากนี้ยังไดเลาถึงบรรยากาศในการเรียนการสอนในวิชาดังกลาวใหฟงวา<br />

“ในชวงของการเปดเทอมก็จะเลาถึงประวัติศาสตรไทใหญ<br />

แบบคราวๆใหกับเด็กๆฟง โดยที่จะใชเนื้อหาจากเรื่องหยาน (ใน<br />

ภาษาไทใหญ) หรือภาษาไทยชื่อเรื่องคนไททิ้งแผนดินมาเลาใหฟง<br />

เพราะเนื้อหาของหนังสือนี้จะเปนกึ่งๆของหนังสือนวนิยายเชิง<br />

ประวัติศาสตรที่มีตัวละคร และเหตุการณที่สอดคลองกับ<br />

ประวัติศาสตรของไทใหญ ซึ่งสวนหนึ่งเปนการที่ทําใหเด็กอยาก<br />

ติดตามเรื่องราวประวัติศาสตรของคนไทใหญ และทําใหรูสึกวาคน<br />

ไทใหญถูกหักหลังหรือทํารายจากกลุมคนตางๆมาอยางไรบาง<br />

โดยเฉพาะคนจีนในยุคนั้น” 69<br />

ในสวนของเนื้อหาหลักของการสอนประวัติศาสตร ซึ่งครูจายหญาเห็นวามี<br />

ความสําคัญอยางมาก เพราะเราตองเรียนรูประวัติศาสตรของตนเอง เชื้อชาติของเรา<br />

66 สัมภาษณครูจายหญา ครูผูสอนวิชาประวัติศาสตรของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 11 เมษายน 2551.<br />

67 ออกเสียงตามภาษาไทใหญ แปลวา ประวัติของผูปกครอง ซึ่งเปนตระกุลเจา หรือเจาฟา กษัตริย<br />

68 สัมภาษณครูจายหญา ครูผูสอนวิชาประวัติศาสตรของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 11 เมษายน 2551<br />

69 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


161<br />

ไมอยางนั้นเชื้อชาติของเราก็สูญหายไป และเรียนรูวาเราผิดตรงไหน เราเขมแข็ง<br />

ตรงไหน เพื่อที่จะทําใหเราไดกาวไปขางหนา โดยที่รูวามีอะไรที่อยูขางหลังเราบาง<br />

ซึ่งผูใหญมักจะบอกเราวา “การที่เราจะไปขางหนาอีก 50 ป ไดนั้นเราจะตองกลับไป<br />

ยอนดูวาเกิดอะไรขึ้นบางเมื่อ 50 ปที่ผานมา” ดังนั้นจึงทําใหประวัติศาสตรมีความสําคัญ<br />

อยางมาก<br />

ในกระบวนการสอนวิชาประวัติศาสตรนั้นจะมีหลักสําคัญที่ใชสอนก็คือเปน<br />

การสอนใหเด็กไดรูจักประวัติศาสตรกับนิทาน หรือเรื่องเลา ที่มีบริบทของ<br />

องคประกอบที่แตกตางกันไป เพราะในวิถีชีวิตของคนไทใหญมักจะคุนเคยกับ<br />

ประวัติศาสตรในเชิงของนิทาน หรือเรื่องเลา ทําใหในบางเรื่องบางเนื้อหายากตอการ<br />

เขาใจและถายทอด ดังนั้นในรายวิชานี้จึงจําเปนที่จะตองแสดงใหเห็นถึงความแตกตาง<br />

ของประวัติศาสตรที่มีองคประกอบของเวลา สถานที่ ชื่อบุคคล วัน เดือน ปที่เกิดขึ้น<br />

อยางชัดเจน ซึ่งแตกตางจากนิทานที่มักจะเปนเรื่องเลาตอๆกันมา โดยที่ไมมี<br />

องคประกอบเหมือนประวัติศาสตรขางตนที่ชัดเจน ซึ่งหากเด็กสามารถแยกแยะ<br />

เรื่องดังกลาวไดแลวก็จะทําใหไมเกิดการเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตรของไทใหญ และมี<br />

การถายทอดที่ถูกตองตอๆไป ซึ่งครูจายหญาไดมีความคาดหวังตอการเรียนการสอนใน<br />

รายวิชานี้วา<br />

“อยากใหเด็กๆไดเรียนรูประวัติศาสตรของตนเอง เอา<br />

นําไปใชและสืบตอ รวมถึงสามารถเขียนประวัติศาสตรของตนเอง<br />

ได” 70<br />

ซึ่งในสวนการเรียนการสอนก็ไดพยายามใหนักเรียนไดทดลองเขียน<br />

ประวัติศาสตรของตนเอง เพื่อเปนการฝกการเขียนถายทอด และที่สําคัญอยากใหทุกคน<br />

มีแรงกําลังใจในการตอสูทั้งตนเอง และเพื่อชาติ<br />

เหตุการณที่ครูจายหญาคิดวามีผลกระทบตอคนไทใหญมีหลายเหตุการณ เชน<br />

ประวัติศาสตรในหนังสือหยานที่ไทใหญพายแพตอการสูรบกับจีน ที่เปนเหมือน<br />

จุดเริ่มตนของการรุกรานและตองพลัดถิ่นฐานตนเอง รวมถึงเหตุการณรวมสมัยในชวง<br />

ของการรุกรานของพมา ที่คิดวารายแรงที่สุด เหตุการณการทําสัญญาปางโหลง<br />

เหตุการณการนํากองทัพของขุนสา ที่ทําใหสถานภาพของคนไทใหญสูภาวะตกต่ํา และ<br />

70 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


162<br />

รวมถึงเหตุการณการตอสูที่เปนดานบวกสําหรับของคนไทใหญที่ควรคาแกการจดจํา<br />

ของคนไทใหญในชวงสมัยการนํากองทัพของเจากอนเจิง เปนตน<br />

จากแบบเรียนวิชาประวัติศาสตร หรือ “ปน” นั้นจะทําใหเห็นถึงพัฒนาการของกระบวน<br />

วิชานี้ตั้งแตในสวนของเนื้อหาสําคัญของรายวิชาดังกลาวตามเนื้อหา รูปภาพ และกระบวนการสื่อ<br />

การดังกลาว จากแบบเรียน จากผูที่เขียนและวางหลักสูตร รวมไปถึงครูผูสอนในปจจุบันที่ไดมี<br />

การปรับเปลี่ยน หรือประยุกตใชเนื้อหาของแบบเรียนมาใช รวมกับการสรางบรรยากาศในการเรียน<br />

การสอนในรายวิชาดังกลาว ซึ่งลวนเปนองคประกอบที่สําคัญที่ทําใหเห็นวาวิชาประวัติศาสตรที่ใช<br />

นํามาสอนใหกับเด็กนักเรียนที่นี่ลวนไดรับการคัดสรร และวางโครงสรางของการสื่อสารไดอยาง<br />

เปนรูปแบบของการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไดอยางแนบเนียน<br />

หากพิจารณาใหชัดเจนจะทําใหทราบถึงอุดมการณ ประสบการณ ของผูที่มีสวน<br />

เกี่ยวของในอดีตนั้นมีสวนสําคัญในการที่จะถายทอดอุดมการณแหงรัฐ เพื่อใหมีความรูสึกรวม และ<br />

มีความฮึกเหิม ของการเปนชนชาติที่ยิ่งใหญที่ผานความบอบช้ํา การรุกราน จากรุนสูรุน รวมถึง<br />

ประสบการณรวมสมัยของผูที่ถายทอดก็มีสวนสําคัญที่จะสื่อสารใหกับผูที่รับสารซึ่งเปนรุนตอไปที่<br />

จะตองรักษา และถายทอดอุดมการณดังกลาว ไปยังรุนตอไปเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคแหงการ<br />

ดํารงไวซึ่งชาติ บานเมือง ภาษา และศาสนาอันจะนํามาสูความเปนอิสระของรัฐ<br />

ข) “ปทวี”(yx0Db) 71 ภูมิศาสตรในแบบเรียน<br />

“ปทวี” เปนหนึ่งในวิชาที่มีการเรียนการสอนขึ้นในโรงเรียนแหงนี้ ซึ่งหากจะ<br />

ใหความหมายที่บัญญัติไวในแบบเรียนของวิชานี้ในระดับชั้น 2 ที่เปนระดับชั้นแรกที่<br />

เปดสอนใหกับนักเรียนชั้นนี้จนถึงระดับชั้น 10 ไดใหความหมายไววา<br />

“ปทวี นั้นเปนภาษาบาลี ที่มีความหมายวาดินนั่นเอง ดังนั้น<br />

การที่เรียนรูที่เกียวของกับผืนดินนั้นเรียกวา การเรียนปทวี ” 72<br />

ซึ่งหากจะใหความหมายในภาษาไทยแลวนั้น ก็จะหมายถึงการเรียนวิชา<br />

ภูมิศาสตร นั่นเอง โดยการเรียนภูมิศาสตรในแบบเรียนที่จะกลาวถึงนี้ก็เปนผลงานของ<br />

71<br />

ออกเสียงตามภาษาไทใหญ แปลวา ภูมิศาสตร<br />

72 ขอความจากแบบเรียน<br />

yx0Db/qefGoif/i0fjikefZdiftijvdufvmB;ymB;ydifbpMbwB;/ 2545:1


163<br />

การเขียนตําราของครูเคอแสน เชนเดียวกัน เมื่อครั้งที่ทํางานดานการศึกษาใหกับ<br />

โรงเรียนแหงนี้ และยังคงใชหลักสูตรและแบบเรียนนี้มาจนถึงปจจุบัน ซึ่งแบบเรียนที่<br />

ใชในการสอนวิชานี้ปจจุบันมี 3 เลม คือ ของชั้น 2 ถึงชั้น 4 เทานั้นเอง แตในระดับชั้นที่<br />

เหลือครูผูสอนในปจจุบันจะตองใชหนังสือที่เปนหลักสูตร และแบบเรียนของโรงเรียน<br />

ในประเทศพมามาใชสอนแทน<br />

สําหรับเนื้อหาสําคัญของแบบเรียนภูมิศาสตรของระดับขั้น 2 นั้น จะเปนการ<br />

เริ่มตนดวยการทําใหนักเรียนไดรูจักคําวา “ปทวี” ดังที่กลาวมาขางตนนั้น ซึ่งในรายวิชา<br />

นี้จะถือไดวาเปนรายวิชาที่คอนขางใหม และไมเปนที่รูจักเลยสําหรับเด็กที่นี่ก็วาได<br />

ดังนั้นการทําความเขาใจในเบื้องตนจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ในบทนี้จึงเริ่มตน<br />

ดวยการใหเด็กนักเรียนไดรูจักรูปราง ลักษณะของโลก วามีหนาตาอยางไร และมี<br />

องคประกอบที่สําคัญอะไรบาง และมีลักษณะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร เชน ภูเขา<br />

ทะเล ปาไม หาดทราย แมน้ํา เปนตน<br />

ตอจากนั้นจึงทําใหเห็นถึงลักษณะตางๆ ทางภูมิศาสตรที่มีความแตกตางกันไป<br />

ทั้งในสวนที่ใกลตัว สามารถสัมผัสไดจริง เชนผืนดิน ภูเขา แมน้ํา ลําธาร ไปจนถึงใน<br />

สวนที่ไกลตัว และตองใชจินตนาการในการทําความรูจัก เชน ภูเขาไฟ ทะเลทราย น้ําพุ<br />

รอน เปนตน รวมถึงปรากฏการณตางๆ ทางวิทยาศาสตร เชนการเกิดฝน การรูจักเข็มทิศ<br />

ปรากฏการณของแสง เปนตน<br />

ภาพที่ 5.16 ตัวอยางหนังสือภูมิศาสตร


164<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

ในแบบเรียนของชั้นที่ 3 จะเริ่มเนนในสวนของระบบสุริยะจักวาล ดวงดาว ซึ่ง<br />

เปนสิ่งที่ไกลตัวออกไปอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งจะทําใหเห็นถึงระบบการทํางานของ<br />

องคประกอบตางๆ ของโลก ดวงดาว ในระบบสุริยะจักวาล และปรากฏการณตางๆ ทาง<br />

วิทยาศาสตรที่ซับซอนมากขึ้น เชนปฏิกิริยาของลม การเกิดน้ําแข็ง การไหลเวียนของ<br />

อากาศ ลักษณะภูมิอากาศ ที่เชื่อมกับเหตุการณหรือวิถีชีวิตของคนไทใหญในบริเวณ<br />

ตางๆ รวมถึงเปนการสอนใหรูจักแผนที่และการอานแผนที่ ซึ่งมีสัญลักษณ ขนาด และ<br />

เครื่องหมายตางๆ ที่ใชสื่อความหมายแทนการเขียนดวยตัวอักษรเต็ม เพื่อเปนการสงตอ<br />

เนื้อหาที่จะตองเรียนตอไปในลําดับชั้นที่สูงขึ้น<br />

ในแบบเรียนของชั้น 4 นั้นจะเปนการกลาวถึงในระบบที่ใหญขึ้น ซึ่งก็คือระบบ<br />

จักรวาล ที่มีสวนประกอบตางๆ กอนจะมาในสวนขององคประกอบตางๆ ของโลก<br />

พัฒนาการของการเกิดแผนดิน ในระดับทวีป และประเทศตามลําดับ และตอมาจึงศึกษา<br />

ในรายละเอียดของพื้นผิวของโลกวามีความแตกตางกันอยางไร รวมไปถึงเสนแบงเวลา<br />

เสนแบงทวีป ความแตกตางของสภาพพื้นที่ ภูมิอากาศ ของแตละทวีป จนกระทั้งมาสู<br />

ในระดับหนวยของแผนที่ ซึ่งมีองคประกอบตาง ๆ ในเชิงลึก และแบบพื้นผิว ทั้งแผนที่<br />

เมือง แผนที่ประเทศ แผนที่โลก และแผนที่ทางทหารที่มีความแตกตางกันไป<br />

จากการสัมภาษณครูเคอแสนซึ่งเปนบุคคลที่เขียนแบบเรียนนี้ขึ้นมา ก็ไดให<br />

ความรูเพิ่มเติมถึงแนวคิดของหลักสูตร และแบบเรียนวิชานี้วา<br />

“...แมครูทําแบบเรียนนี้ขึ้นมา จะเห็นไดวาแมครูพยายามที่<br />

จะทําใหเด็กในชั้นที่อายุยังนอย ที่อยูในระดับชั้นที่ 2 เปนตนไป ได<br />

เรียนวิชาภูมิศาสตร โดยที่ใหเริ่มจากเรื่องที่ใหญๆ กอน ที่ไกลตัว<br />

กอน แลวคอยมาสูหนวยที่เล็กกวา แตวาเรียนในระดับเชิงลึก<br />

เพราะวาเด็กที่อายุยังนอยไมจําเปนที่จะตองเรียนอะไรที่มากมาย เขา<br />

ยังจําอะไรไมไดมาก เพียงแคใหเจาไดเรียน และรูจักคราวๆ ก็<br />

พอแลว ซึ่งแมครูก็ไดคัดเลือกเนื้อหาที่สําคัญเทานั้นเองที่ใหเขาเรียน<br />

แตจะตองเนนรูปภาพเยอะๆ เพราะเขายังไมเคยเห็นมากอน แตพอ


165<br />

ในระดับชั้นที่โตขึ้นจึงจําเปนจะตองใหเด็กไดเรียนในหนวยที่ยอย<br />

ลง และมีรายละเอียดที่จะตองสังเกต และจํามากขึ้น ” 73<br />

สวนแบบเรียนในชั้นที่สูงขึ้นไป ก็เปนปญหาเชนเดียวกันกับรายวิชา<br />

ประวัติศาสตรที่ไดกลาวไปแลววาขาดความตอเนื่องของแบบเรียนทําใหครูผูสอน<br />

ในปจจุบัน ซึ่งครูหลาวหอม 74 ปจจุบันอายุ 25 ป เลาใหฟงวาเธอมาจากเมืองกึ๋ง ในเขต<br />

ของรัฐฉานตอนใน เขตประเทศพมา ที่นั่นเธอไดเรียนหนังสือตามระบบการศึกษาของ<br />

ประเทศพมา และเธอไดเรียนจบในระดับชั้น 10 ซึ่งถือไดวาเปนระดับชั้นสูงสุดของ<br />

ประเทศพมากอนที่จะเขาในระบบมหาวิทยาลัย<br />

ครูหลาวหอมเปนอีกคนหนึ่งที่เปนครูที่อยูในชวงของการเปนวัยหนุมสาว<br />

เธอมาสอนที่โรงเรียนดอยไตแลง โดยที่เธอตั้งใจมาเอง เพราะอยากจะมาชวยงานที่นี่<br />

อยากมาสอนหนังสือใหกับเด็กๆ เพื่อใชความรูความสามารถของเธอไดรับโอกาสมา<br />

ครูหลาวหอมเพิ่งมาสอนที่นี่ไดประมาณ 2 เดือนที่ผานมา โดยที่เธอไดรับผิดชอบสอน<br />

ในรายวิชาภูมิศาสตรตั้งแตชั้นที่ 3-9 ซึ่งถือไดวาคอนขางหนักสําหรับเธอ เพราะ<br />

นอกจากจะตองเหนื่อยกับการสอนในหลายชั้นแลว ปญหาเรื่องของการที่จะตองหา<br />

เอกสารหรือตําราเรียนในระดับชั้นที่ไมมีหนังสือตําราภาษไทใหญในการสอน<br />

โดยเฉพาะในระดับชั้นสูงๆ เชน ชั้น 5-8 เปนตน สวนในระดับชั้นกอนหนานั้นจะมี<br />

หนังสือตําราที่ครูเคอแสนเคยไดจัดทําไว แตตองเลือกเนื้อหาใหสอดคลองกับระดับชั้น<br />

ที่จะสอนใหม<br />

ในระดับชั้นที่ไมมีเอกสารตํารานั้น จะตองใชหลักสูตรหนังสือของประเทศ<br />

พมาเขามาแปลแลวทําการสอนใหกับเด็ก ซึ่งก็เปนปญหาทั้งครูผูสอนและนักเรียน<br />

เพราะครูจะตองแปลแลวเขียนลงบนกระดานเพื่อใหนักเรียนจดลงในสมุด ซึ่งในบางที<br />

คําศัพททางภูมิศาสตรในตําราของพมาก็ยากที่จะแปลเปนภาษาไทใหญใหนักเรียนได<br />

เขาใจ นอกจากนี้ปญหาทางดานความพรอมของวัสดุอุปกรณที่จะตองใชประกอบใน<br />

การเรียนการสอนรายวิชาภูมิศาสตรก็นับไดวามีความจําเปนอยางมาก ซึ่งที่ไมมีเลย<br />

จึงตองอาศัยการอธิบายปากเปลาใหกับนักเรียนฟง ซึ่งสวนมากจะเปนปญหา เพราะ<br />

73 สัมภาษณครูเคอแสน อดีตเลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council of Shan State) อดีต<br />

ผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร วันที่ 8 เมษายน 2551.<br />

74 สัมภาษณครูหลาวหอม ครูประจําวิชาภูมิศาสตร โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


166<br />

นักเรียนไมเขาใจ และไมรูสึกคลอยตามหรือเห็นภาพตามความเปนจริง จนบางครั้งทํา<br />

ใหขาดความนาเชื่อถือระหวางครูผูสอนกับนักเรียน<br />

ครูหลาวหอมไดยกตัวอยางของสภาพปญหาของความไมเขาใจของนักเรียนตอ<br />

การเรียนภูมิศาสตรวา<br />

“นักเรียนจะไมเชื่อวาโลกมีความกลม เพราะที่ผานมาเด็กมี<br />

ความรูดั้งเดิมจากสังคมของพอแมวาโลกตองแบน เพราะถาโลก<br />

กลมจริงนี่ ทําไมเวลาเราเดินไปเราถึงไมตก” 75<br />

นอกจากนี้ครูยังไดยกตัวอยางอีกเรื่องคือเรื่องของปรากฏการณของฟาแลบที่<br />

ขอมูลทางวิทยาศาสตรขัดกับความรู ความเชื่อดั้งเดิมของเด็กๆ ที่ผานมา<br />

ครูหลาวหอมไดพูดถึงหลักสูตรภูมิศาสตรที่ใชสอนสําหรับเด็กที่นี่ วาเปน<br />

หลักสูตรที่ใชควบคูกับตําราของครูเคอแสนที ่เคยเขียนไวรวมกับตําราของประเทศพมา<br />

ซึ่งจะเรียนพื้นฐานทั่วไปในระดับชั้นตนๆ ที่เกี่ยวกับสภาพของดิน ฟา อากาศ ทรัพยากร<br />

ตางๆ เพื่อใหเด็กๆไดรูจักสิ่งเหลานั้นวามีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร และใหรู<br />

วาในแตละพื้นภาคทั่วโลกมีลักษณะอยางไร ซึ่งในแบบเรียนของแมครูก็สามารถใชได<br />

แตเนื้อหาบางอยางคอนขางสูงเกินไปสําหรับเด็กในชวงชั้นนั้นๆ ดังนั้นจะตองเลือก<br />

เนื้อหาใหเหมาะสมตามแบบการสอนของเธอ<br />

สวนในระดับเนื้อหาเชิงลึกที่เกี่ยวของกับลักษณะภูมิศาสตรของแผนดินรัฐฉาน<br />

ซึ่งเธอคิดวาเปนเนื้อหาที่คอนขางสําคัญ และเปนหัวใจหลักของรายวิชานี้ ซึ่งถูกจัดไว<br />

ในระดับชั้นที่สูงๆ เชน ชั้น 5 ขึ้นไปนั้น เธอจะตองอาศัยจาการแปลของตําราประเทศ<br />

พมา ซึ่งขอจํากัดที่ถือไดวาเปนอุปสรรคสําคัญคือ ไมคอยมีเนื้อหาที่แยกเฉพาะ<br />

รายละเอียดเชิงลึกของแผนดินรัฐฉาน เพราะเอกสารตําราดังกลาวจะเนนภูมิศาสตรที่<br />

เปนระดับประเทศพมาโดยรวมมากกวาที่จะเจาะจงไปยังรัฐฉานโดยเฉพาะ ซึ่งทําให<br />

ขาดเนื้อหาชวงสําคัญไป เชน แผนที่ สภาพภูมิศาสตร ทรัพยากร ของรัฐฉานเปนตน<br />

บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน ครูหลาวหอมจะใชวิธีการเขียนลงบน<br />

กระดานแลวใหนักเรียนจดบันทึกในสมุดในระดับชั้นที่ไมมีหนังสือตํารา สวน<br />

ในระดับชั้นที่มีหนังสือตําราก็จะใหเด็กอาน และทําความเขาใจเนื้อหามากวาการที่<br />

จะสอนใหเด็กไดทองจํา แลวบันทึกตามความเขาใจของนักเรียน ซึ่งนอกจากนี้ในชั้น<br />

75 สัมภาษณครูหลาวหอม ครูประจําวิชาภูมิศาสตร โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


167<br />

เรียนยังมีนักเรียนที่หลากหลายชวงอายุ ซึ่งถึงแมวาจะอยูระดับชั้นเดียวกัน เพราะแตละ<br />

คนที่มาเขาเรียนมาไมพรอมกัน และมีพื้นฐานที่แตกตางกัน เชน เด็กบางคนอายุมาก<br />

แลวแตเพิ่งไดเขามาเรียนจึงตองอยูในระดับชั้นที่ไมตรงกับชวงอายุที่ควรจะเปน หรือ<br />

แมกระทั้งก็มีเณร พระ มาเรียนดวย ดังนั้นจึงทําใหบรรยากาศในการสอนจึงตองอาศัย<br />

การแบงเปนกลุม เพื่อจะไดทําใหนักเรียนที่มีพื้นฐานเทากันไดมีรับความรูที่ตรงกับ<br />

ความสามารถของตนเอง นอกจากนี้ก็มีขอดีในดานของการแลกเปลี่ยนและชวยสอน<br />

กันเองในหองสําหรับเด็กที่มีระดับความรูที่ไมเทากัน<br />

ครูหลาวหอมมีความคาดหวังตอการสอนหนังสือใหกับเด็กๆ ที่นี่วา<br />

“อยากใหเด็กไดมีวิชาความรู ไมกลัวกับการที่จะไดรูจัก<br />

และเขาไปในสังคมที่กวางขึ้น เพราะจะทําใหเด็กมีความกลาหาญ<br />

เขมแข็ง และที่สําคัญในรายวิชาภูมิศาสตรที่สอนอยูก็อยากใหเด็ก<br />

สามารถดูและอานแผนที่เปน เพราะจะไดรูถึงขอบเขตและอาณา<br />

บริเวณที่เปนของคนไทใหญ” 76<br />

ดังที่กลาวมาทั้งหมดจะทําใหเห็นวาในกระบวนการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร<br />

ภายใตแบบเรียนดังกลาวนั้นยิ่งทําใหเห็นถึงบทบาทหนาที่สําคัญของแบบเรียนวิชาภูมิศาสตร<br />

ประกอบกับดวยแนวคิด เนื้อหา รูปภาพ กระบวนการสอน รวมถึงตัวบุคคลที่เปนผูที่เกี่ยวของ<br />

โดยตรงทั้งในสวนของผูที่ใหกําเนิดสาร ใชสาร และรับสารนั้น มีสวนสัมพันธกันทั้งสิ้น หากจะ<br />

วิเคราะหเห็นปรากฏการณที่ขัดเจนอยางหนึ่งในรายวิชานี้จะทําใหเห็นถึงการถายทอดอุดมการณ<br />

ของรัฐผานการใชแผนที่ ซึ่งเปรียบเสมือนเปาหมายอันสูงสุดของการทําใหคนในรัฐของตนไดรูจัก<br />

ถึงขอบเขต อาณาบริเวณของตนเอง และไมตกอยูภายใตของการเอารัดเอาเปรียบจากผูที่มีความรู<br />

เหนือกวาตนมาใชหาผลประโยชน หรือสรางความบอบช้ําแกเชื้อชาติของตนเหมือนดังอดีตที่<br />

บรรพชนไดเผชิญมา<br />

ดังนั้นวิชาภูมิศาสตรจึงเปนเสมือนเครื่องเยียวยา และปองกันอยางยิ่งยวด เพื่อปกปอง<br />

อาณาธิปไตยของตน ของคนในรุนตอไปที่ยังคงจะใชผืนแผนดินนี้ใหรอดพนและเปนอิสรภาพดังที่<br />

บรรพบุรุษในรุนตางๆ ไดตั้งความหวัง และปรารถนาที่จะใหเกิดแกคนไทใหญบนผืนแผนดินรัฐ<br />

ฉานที่ตกอยูภายใตการนําของประเทศพมาเปนระยะเวลาตลอด 50 กวาปที่ผานมา<br />

76 สัมภาษณครูหลาวหอม ครูประจําวิชาภูมิศาสตร โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


168<br />

โดยสรุปแลวแบบเรียนทั้ง 3 รายวิชา ที่หมายรวมถึงสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และ<br />

หลักนํา 6 ขอ ที่ไดกลาวถึงกอนหนานั้นแลวนั้น เปนเครื่องมือชิ้นสําคัญที่ทําหนาที่ของการถายทอด<br />

เรื่องราว เหตุการณ แนวคิด อุดมการณ และประสบการณ ตางๆ ผานตัวหนังสือ รูปภาพ และ<br />

กระบวนการจัดการเรียนรู ออกมาสูโลกของความเปนจริงที่สงไปยังเด็กนักเรียนที่ทําหนาที่เปน<br />

ผูรับสารที่ใชแบบเรียนเปนเหมือนดั่งคัมภีร หรือลายแทงที่จะนําไปสูอุดมการณแหงรัฐนั้นๆ และ<br />

ในแบบเรียนทั้ง 3 รายวิชาดังกลาวของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงก็ไดทําหนาที่นั้นอยางสมบูรณ<br />

ถึงแมวาปญหาและอุปสรรคทางดานความครบถวน สมบูรณของแบบเรียนเหลานั้นจะยังคงปรากฏ<br />

อยู แตการปรับเปลี่ยนและประยุกตใชใหเหมาะสมตามสถานการณ และบริบทของพื้นที่ก็จะยังคง<br />

ใชไดผลดีอยู<br />

5.3.6 กิจกรรมเสริมหลักสูตรกับภารกิจนอกหองเรียน<br />

หากจะกลาวถึงการศึกษาในระบบของโรงเรียนแลว คงจะไมใชเพียงการเรียนการสอน<br />

ที่อยูในหองเรียนตามหลักสูตร และวิชาการเรียนรูในแบบเรียนอยางเดียว การทํากิจกรรมตางๆ<br />

ก็เปนการศึกษาไดอีกทางหนึ่ง ทั้งที่เปนในรูปแบบของเปนทางการ และไมทางการ ซึ่งกิจกรรม<br />

เหลานี้บางครั้งก็เปนกิจกรรมที่ผูทํากิจกรรมเปนผูเลือกเอง หรือบางครั้งก็ถูกเลือกใหทํา ซึ่งก็มีความ<br />

แตกตางกันไปตามสถานการณ และโอกาสจะเอื้ออํานวย<br />

ที่โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ก็เปนอีกสถานศึกษาหนึ่งที่มีความมุงหวังใหนักเรียน<br />

ที่อยูภายใตระบบโรงเรียนแหงนี้ไดมีการทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อเสริมหลักสูตร ดังคํากลาวนําของ<br />

สภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ไดใหไวกับฝายการศึกษาวา<br />

“วิชาการ คือสิ่งที่จะนําไปสูความรู ความสามารถ และในโลกนี้<br />

ไมวาประเทศใดตาม ตางใหความสําคัญ และสนับสนุนใหเด็กไดเรียน<br />

เพื่อใหมีความรูในวันขางหนา แตความรูในดาน การคอมพิวเตอร งานใน<br />

สํานักงาน การเก็บขอมูล วิชาการทหาร ยุทธวิธีการรบ การบริหาร<br />

เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง ขาดความรูเหลานี้ไมได ฉะนั้นจําตองสอน จําตองมี<br />

ความรูเกี่ยวกับสิ่งเหลานั้น จําตองเรียนรู ความรูในดานการเกษตร ทั้ง<br />

การเกษตรในระยะสั้นและยาว การเลี้ยงสัตว (หมู,ไก,วัว,ควาย) สิ่งนี้ก็สําคัญ<br />

ไมนอย และไดจัดสอนในโรงเรียน ประเพณีและวัฒนธรรมของไทยใหญ<br />

เชน การตอสู (ลายไม คือ การตอสูดวยไม ลายดาบ คือ การตอสูดวยดาบ)


169<br />

การฟอนแบบสมัยเกาและใหม เราตองใหความสําคัญ สนับสนุน และไดให<br />

ความสําคัญดานการกีฬา เชน ฟุตบอล แบดมินตัน ตะกรอ และอื่นๆ เพื่อให<br />

นักเรียนเรียนรูการออกกําลังกาย และสรางชื่อเสียงในการกีฬา เราก็จัดให<br />

นักเรียนไดฝกไดเลนกีฬาที่ทั่วโลกใหความสําคัญ และนิยมกัน” 77<br />

จากนโยบายดังกลาวพอจะทําใหเราไดเห็นถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรตางๆ ที่สามารถ<br />

แบงประเภทของกิจกรรมเหลานั้นไดดังนี้<br />

1. สอนการเขาแถว จะสอนตั้งแตชวงชั้นที่อนุบาลจนถึงชั้น 4<br />

2. สอนรองเพลงเคารพธงชาติ และเพลงสาบานของทหาร จะสอนตั้งแตชวงชั้น<br />

อนุบาลถึงชั้น 10<br />

3. สอนใหทําวัตร รับศีลของฆราวาส จะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

4. สอนวาดรูป และออกแบบ จะสอนตั้งแตชวงชั้นอนุบาลถึงชั้น 10<br />

5. สอนการเกษตร และเลี้ยงสัตว จะสอนตั้งแตชวงชั้น 5-10<br />

6. การงานอาชีพ เชน เย็บผา ทอผา งานบาน การทําอาหาร การรักษาประเพณี<br />

(การแสดงเชิงวัฒนธรรม) ในหนึ่งสัปดาห มี 6 คาบและ ตอนเชาของวันเสาร<br />

7. สอนพื้นฐานการเก็บขอมูลขาวสาร จะสอนตั้งแตชวงชั้น 5-10<br />

8. สอนการทํางานในสํานักงาน และ คอมพิวเตอร จะสอนตั้งแตชวงชั้น 8-10<br />

9. สอนระบบการปกครองของRCSS จะสอนตั้งแตชวงชั้น 7-10<br />

10. สอนยุทธวิธีการรบ จะสอนตั้งแตชวงชั้น 7-10<br />

11. สอนเรื่องการเปนผูนํา และ ความรูวาดวยการใชปญญา (หนังสือเลมนี้<br />

แตกอนจะใชในโรงเรียนนายทหาร เรียบเรียงโดยครูทหาร<br />

จากกิจกรรมดังกลาวทั้งหมดนี้จะทําใหเห็นวา ในระบบการเรียนสอนของโรงเรียนที่นี่<br />

นอกจากจะเนนทักษะทางดานวิชาการแลว กิจกรรมตางๆ ดังกลาวที่เสริมหลักสูตรนั้นก็ไดมี<br />

การจัดวางลําดับเนื้อหาอยางเปนระบบใหกับนักเรียนที่อยูในโรงเรียนแหงนี้ โดยเฉพาะกิจกรรม<br />

สําหรับเด็กนักเรียนที่อยูในระดับชั้นที่สูงขึ้นไปนั้น จะมีความเขมขนทางดานของ<br />

การถายทอดอุดมการณชาตินิยมไดอยางเห็นไดชัด เพื่อใหเด็กเลานี้ไดเติบโตมาเปนทรัพยากรบุคคล<br />

ที่สําคัญของโรงเรียน และในฐานะของประชาชนของกองกําลังกูชาติไทใหญ ที่จะขาดทรัพยากร<br />

77 ขอความจากเอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


170<br />

เหลานี้ไปเสียไมได เพื่อใหสอดคลองกับความคาดหวังของสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน<br />

(RCSS) ที่วา<br />

“ถาจบจากโรงเรียนดอยไตแลง (โรงเรียนที่อยูในเขต<br />

กองบัญชาการสูงสุด) แลวใหพรอมที่จะปฏิบัติงาน (ลงมือทํางาน)<br />

ไมอยากจะใหเสียเวลาฝกงานอีก อยากใหพวกเขาอยูในภาคปฏิบัติงานและ<br />

เรียนรู มีประสบการณโดยตรงจากการเรียนจบ รวมถึงใหมีความสามารถ<br />

ในดานใดดานหนึ่ง ใหพรอมที่จําเปนครู ทํางานที่สํานักงานสํานักงานหรือ<br />

สามารถเปนผูนําได” 78<br />

ภาพที่ 5.17 กิจกรรมตางของเด็กนักเรียนในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

78 ขอความจากเอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.).จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


171<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา และ<br />

http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=printpage&artid=7<br />

34<br />

5.3.7 เมื่อผมอยากเปนครู แตหนูอยากเปนนักขาว: ความหวังเล็กๆของเด็กในหอพัก<br />

ในเนื้อหาของตอนนี้ผูศึกษาอยากจะใหกรณีศึกษาที่เปนเด็กในเด็กหอพักชาย และ<br />

หอพักหญิง ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงไดเปนสื่อกลางที่จะทําใหเห็นถึงสภาพและบรรยากาศ<br />

เด็กที่อยูในหอพักภายใตชื่อวา หอพักเด็กกําพรา เพื่อเลาถึงเรื่องราวที่ทําใหเห็นถึงภาพของ<br />

การศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงแหงนี้ ที่เปนแรงกําลังสําคัญที่ทําใหเด็กทั้งสองคน<br />

ซึ่งเปนเหมือนตัวแทนของเด็กอีกจํานวนมากที่ไดมีโอกาสในการเรียน ณ ที่โรงเรียนแหงนี้ และ<br />

สามารถรอดพน ฟนฝา อุปสรรค และการขมเหงของคนในชาติเดียวกันที่ใชชื่อวาประเทศพมา<br />

ไดเขามาอาศัยอยูภายใตการดูแลของกองกําลังกูชาติไทใหญบนผืนดินนี้ ซึ่งเปนพื้นที่พลัดถิ่น<br />

พรมแดนที่เปนรอยตอระหวางประเทศไทย กับประเทศพมา ในเขตรัฐฉานตอนใต<br />

จายทุน 79 และแสงมน 80 ซึ่งเปนชื่อของเด็กทั้งสองคนนี้ไดเลาถึงประวัติของตน ซึ่งถือได<br />

วาทั้งสองคนมีที่มาแทบจะไมตางอะไรกันเลย โดยเริ่มตนที่ จายทุน เด็กชาย อายุ 17 ป ไดเลาถึงการ<br />

มาอยูที่ดอยไตแลงตั้งแตป พ.ศ. 2544 ซึ่งในขณะนั้นตนเองไดเขามาเรียนในระดับชั้นอนุบาล<br />

ซึ่งมีเด็กประมาณ 200 กวาคน จายทุนเลาใหฟงตอวา ตนเองมาที่นี่โดยมีแมมาสงใหอยูที่นี่ แลวก็แม<br />

ก็กลับไปที่บานซึ่งอยูไกลจากที่นี่มาก สวนพอของเขานั้นไดเสียชีวิตไปตั้งแตที่เขานั้นยังเปนเด็ก<br />

ซึ่งเหตุผลที่แมพามาที่นี่เพราะอยากใหเขาไดเรียนหนังสือ นอกจากนี้จายทุนยังเลาใหฟงถึง<br />

ความรูสึกเขาในชวงแรกๆที่มาวา<br />

“ตอนแมมาสงผมที่นี่แลวกลับไป ผมรองไหเปนชั่วโมงเลย และ<br />

หลังจากวันนั้นผมก็รองไหอยูบางเปนบางวัน เพราะคิดถึงแม” 81<br />

ซึ่งประสบการณของการพลัดพรากและรองไหนั้นแทบจะเปนเหตุการณที่เด็กทุกคน<br />

ที่มาอยูที่นี่จะเขาใจและรูสึกถึงบรรยากาศและความรูสึกนั้นไดอยูตลอดเวลา ซึ่งคงไมตางอะไรกับ<br />

แสงมน นักเรียนหอพักหญิงอีกคนหนึ่งที่เธอไดเลาใหฟงเหตุการณที่เคยเกิดขึ้นกับเธอเชนกันแสง<br />

79 สัมภาษณเด็กชายจายทุน อายุ 17 ป เด็กนักเรียนหอพักชาย โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.<br />

80 สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน อายุ 13 ป เด็กนักเรียนหอพักหญิง โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.<br />

81 สัมภาษณเด็กชายจายทุน เด็กนักเรียนหอพักชาย โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


172<br />

มนเปนเด็กหญิงอีกคนหนึ่งที่มาอยูที่ดอยไตแลงตั้งแตอายุ 7-8 ป อาจจะถือไดวาเปนยุคแรกๆของ<br />

เด็กที่มาเรียนที่นี่ในระบบของหอพัก ซึ่งในปจจุบันแสงมนอายุไดเพียง 13 ป ในขณะนี้เธอเรียนอยู<br />

ในระดับชั้น 4 แลว แสงมนยังคงจําเหตุการณวันแรกที่ไดมานี่ ซึ่งเหตุผลที่เธอไดยายถิ่นฐานและเขา<br />

มาอยูที่โรงเรียนแหงนี้ก็เพราะวา<br />

“หนูมาอยูที่นี่ตั้งแตอายุประมาณ 7-8 ปที่แลว ซึ่งปาพามาอยูที่นี่<br />

ปาบอกวาที่นี่มีโรงเรียน เลยจะเอาหนูมาเรียนที่นี่ และปายังบอกอีกวาปาจะ<br />

กลับมารับหนูในวันขางหนา กอนที่ปาจะจากไปจนถึงปจจุบัน” 82<br />

ซึ่งเมื่อพูดถึงครอบครัวที่อยูในเขตรัฐฉานนั้น แสงมนก็เลาใหฟงวาพอแมเสียชีวิตตั้งแต<br />

เธอยังเล็ก จําความยังไมได แตปาของเธอบอกกับเธอวาพมาเปนคนฆาทั้งพอและแมของเธอ แลวปา<br />

ก็กลัววาพมาจะทําอันตรายเธอ จึงพามาอยูที่ดอยไตแลง เพราะรูวาที่นี่มีทหารไทใหญดูแล และ<br />

มีโรงเรียนที่สอนใหความรูดวย ปาเลยพาเธอมาอยูที่นี่<br />

ในชวงของการมาอยูที่นี่ครั้งแรก เธอรองไหทุกวัน เพราะคิดถึงปาที่พาเธอมาอยูที่นี่<br />

เธอมาอยูที่นี่มาอยูในหอพักที่มีพี่โตๆ คนอื่นๆอยูกอนแลว พวกพี่ๆเขาก็ชวยดูแลและปลอบใจเธอ<br />

ไมใหเธอรองให เพราะพวกพี่เขาก็เคยรูสึก และรองไหเหมือนเธอมากอนซึ่งในตอนนั้นมีนักเรียน<br />

ในหอพักหญิงประมาณ 35 คน ทุกคนก็ชวยกันดูแลซึ่งกันและกัน<br />

เด็กหอพักที่มาอยูที่นี่ทุกคนลวนแตเปนเด็กกําพรา ซึ่งการดูแลของหอพักนั้นจะใช<br />

ระบบของการดูแลกันเองในระหวางบาน แตจะมีครูผูรับผิดชอบอยูในแตละหอพัก จึงทําใหตองมี<br />

ระบบการจัดการเพื่อเปนการสรางความรับผิดชอบใหกับเด็กนักเรียนที่หอพัก<br />

ปจจุบันโรงเรียนดอยไตแลงมีหอพักใหสําหรับเด็กนักเรียนที่มาเรียนที่นี่ โดยแบง<br />

หอพักออกเปน 2 สวน คือ หอพักสําหรับเด็กชาย และหอพักสําหรับเด็กหญิง ซึ่งทั้ง 2 หอพักจะแยก<br />

การอยูและมีครูดูแลรับผิดชอบแยกสวนกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งหอพักชายจะอยูในสวนดานในของเขต<br />

กองทัพทหาร หลังจากที่ไดมีการโยกยายใหเหมาะสมหลายครั้ง สวนหอพักเด็กหญิงหลังจากที่<br />

โยกยายมาหลายแหงเหมือนกัน ทําใหปจจุบันตั้งอยูบริเวณดานขางของโรงเรียนซึ่งเปนเขตรอตอ<br />

ระหวางประเทศไทยกับเขตรัฐฉาน<br />

เด็กที่อยูในหอพักทั้งหมดเปนเด็กที่อยูในสวนของเด็ก 100 % ดังนั้นทางโรงเรียนจึงตอง<br />

ใหการดูแลชวยเหลือทั้งหมด เชน อาหาร เสื้อผา ที่พัก อุปกรณการเรียน เปนตน นอกจากนี้ยัง<br />

รวมถึงเงื่อนไขของการทํางานรับใชกองทัพฯ ภายหลังที่เด็กไดจบการศึกษาขั้นสูงสุด ที่เปน 1 ใน<br />

82 สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน อายุ 13 ป เด็กนักเรียนหอพักหญิง โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


173<br />

เงื่อนไขที่สําคัญของเด็กแบบ 100 % ซึ่งทําใหการดูแลและใหความชวยเหลือเด็กที่นี่จึงจําเปนตอง<br />

ทําใหเปนระบบและมีการปองกันที่ปลอดภัยใหกับเด็ก รวมถึงการจัดการใหเด็กไดมีสวนในการ<br />

รับผิดชอบตัวเองเบื้องตน<br />

หอพักที่นี่จะใชระบบการดูแลโดยใหมีครูผูรับผิดชอบดูแลเรื่องตางใหกับเด็กแบบ<br />

ประจํา ไมมีการผลัดเวรกัน โดยแตละหอพักจะมีครูดูแลอยางนอย 3 คนหลัก ซึ่งที่ไมมีการผลัดเวร<br />

กันเพราะ อยากใหครูผูรับผิดชอบไดดูแลเด็กอยางเต็มที่ และมีแนวทางหรือระบบดูแลที่ชัดเจน<br />

นอกจากนี้ในแตละหอพักก็จะตองแตงตั้งหัวหนาประจํากลุมหอพักเพื่อดูแลเรื่องของกิจกรรมตางที่<br />

เด็กในหอพักจะตองรับผิดชอบตามกลุมของตนเอง เชน การทําอาหาร การตักน้ํา การหาฟน เปนตน<br />

โดยกิจกรรมเหลานี้จะตองทําแยกกันไปตามหอพัก ซึ่งมีตารางการทํากิจกรรมที่คลายๆกันดังนี้<br />

- ออกกําลังกายตอนประมาณเวลา 04.30 น.<br />

- ทํากิจกรรมสวนตัว ทําเวรประจํากลุม เชนทําอาหาร ตักน้ํา ทําความสะอาดเปน<br />

ตนประมาณเวลา 05.30 น.<br />

- ทานอาหารเชาประมาณเวลา 07.00 น.<br />

- ไปโรงเรียนประมาณเวลา 07.30 น.<br />

เด็กๆ ที่นี่จะอยูกันอยางเอื้อเฟอเผื่อแผ ซึ่งจะสังเกตไดวา ถึงแมวาความเปนอยูที่นี่จะ<br />

คอนขางแออัด คับแคบ และในบางหอพักนั้นสภาพของหลังคา และตัวอาคารนั้นมีความไมมั่นคง<br />

โดยเฉพาะหอพักเด็กชายที่มีจํานวนไมเพียงพอตอจํานวนของเด็กที่เขามาอาศัยอยูที่นี่ ที่นับวันจะมี<br />

ปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนทําใหเด็กชายบางกลุมตองยายออกไปอาศัยชายปาขางๆ หอพักทําเปน<br />

เพิงคลายกระตอบขนาดเล็ก ทรงสามเหลี่ยมครอบที่มุงดวยผืนผายางชนิดบางเพื่อกันฝน และลมที่<br />

พัดแรง<br />

สวนเด็กที่อยูในอาคารก็จะตองหากลวิธีที่ทําใหที่นอนของตนเองเปนสวนตัวใหมาก<br />

ที่สุด ในบางรายใชผาหมเกาๆ เพื่อกันเปนชองสี่เหลี่ยมขนาดพอดีตัวที่นอนได บางรายใชไมที่หาได<br />

ตามหอพักมาตีกันเปนหองของตนเอง แตสิ่งที่สังเกตอยางเห็นไดชัด ซึ่งเปนสิ่งที่เกือบทุกที่นอน<br />

ของทุกคนจะมี นั่นก็คือหิ้งพระ หรือสิ่งของที่เปนเครื่องรางของขลังที่ตนเองมีอยู ซึ่งเปนทั้งในสวน<br />

ที่พอแมผูปกครองเอาไวใหเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจที่ติดมากับตัว และสิ่งที่ตนเองหาขึ้นมาใหม สิ่ง<br />

ศักดิ์สิทธิ์เหลานี้จึงแทบจะถือไดวาเปนสิ่งเดียวที่คอยยึดเหนี่ยวจิตใจของเด็กที่นี่ไมวาจะเปน<br />

เด็กหญิงหรือเด็กชาย


174<br />

ภาพที่ 5.18 สภาพหอพักนักเรียนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

ที่มาภาพ: ผูศึกษา<br />

นอกเหนือจากสวนประกอบที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจแลว ก็ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่ทําใหรู<br />

วาเด็กๆ ที่นี่เปนศิลปนกันทุกคน หรือในบางคนก็เปนชาง ซึ่งดูไดจากมุมที่ตนเองนอนนั้นจะ<br />

ถูกตกแตงดวยภาพวาด ตัวหนังสือ ภาพศิลปน ดารา และอุปกรณที่ใชในการแสดงทางวัฒนธรรม<br />

ซึ่งสิ่งตางๆ ที่กลาวมาทั้งหมดนั้น เปนทั้งสิ่งที่ประดิษฐ ตกแตงขึ้นมาเอง และเปนสิ่งที่ตัดแปะ หรือ<br />

สรรหามาจากที่อื่น เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่ใหดูไมหดหูใจ หรือทําใหเบื่อหนาย สวนที่พูดถึง<br />

การเปนชางนั้น ก็มีเด็กอีกกลุมหนึ่งที่นอกเหนือจะมีอารมณศิลปน ที่ชอบวาดภาพ ฟงเพลงจาก<br />

เครื่องเลนวิทยุและเทปเกา ๆ แลว ยังเปนชางที่คอยแกะ คอยแงะ ซอมแซมเครื่องเลนดังกลาวใหอยู<br />

ในสภาพที่ใชงานได<br />

และอีกสิ่งหนึ่งที่จะไมกลาวถึงไมไดคือการเก็บรักษาทรัพยสมบัติของตนเอง ที่มีความ<br />

ล้ําคามากใหอยูในที่ ๆ ปลอดภัย ซึ่งจะสังเกตไดวาเด็กสวนใหญที่อยูในหอพักนี้จะตองมีกลองไม<br />

ใบขนาดกลาง ๆ ตั้งไวอยูสวนใดสวนหนึ่งของแถวบริเวณที่นอนอยู ไมวาจะเปนเด็กผูหญิง หรือ<br />

เด็กผูชายก็มักจะมีกลองไมนี้อยูเสมอ ซึ่งจากการสอบถามจากแสงมน ก็ไดคําตอบอยางหนึ่งวา


175<br />

“กลองไมนี้หนูเอาไวเก็บเอกสารตางๆ ทั้งหนังสือเรียน ตุกตา<br />

และการดตางๆที่พี่ชายบุญธรรมของหนูเอามาใหเก็บไว เพราะพี่เขาทํากลอง<br />

นี้ให เพราะเห็นวาหนูไมมีที่เก็บของจึงทําไวให” 83<br />

แสงมนพูดดวยความเขินอายเล็กนอย หลังจากที่เปดใหดู ซึ่งในสวนของเด็กชายก็จะมี<br />

สิ่งของตางๆ ที่เก็บไวไมคอยตางกันเทาไหร แตอาจจะมีสิ่งของจําพวกวิทยุเทปเกาๆ และอุปกรณ<br />

ในการซอมที่มีเพิ่มเขาไปในนั้น<br />

แตอยางไรก็ตามสิ่งหนึ่งที่สัมผัสไดจากสิ่งของเหลานี้ที่พวกเขา และเธอมีอยูนั้นมัน<br />

บงบอกถึงระบบของพี่ดูแลนอง ซึ่งในบางรายถึงขึ้นสาบานกันที่จะเปนพี่เปนนองบุญธรรม<br />

เพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกันในยามที่อีกฝายหนึ่งไดรับความเดือดรอน ซึ่งสวนหนึ่งอาจเปนเพราะ<br />

ความที่เด็กเหลานี้ลวนแลวแตอยูในฐานะที่ไมแตกตางกัน มีพื้นฐาน ประสบการณ และความรูสึก<br />

นึกคิดที่ไมแตกตางกันมาก ดังนั้นการที่ฝายหนึ่งฝายใดจะชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันนั้น นับได<br />

วาเปนสิ่งที่ดี<br />

เด็กนักเรียนที่อยูหอพักจะไดรับการดูแลจากทางกองกําลังกูชาติไทใหญทั้งหมด ดังนั้น<br />

การที่เด็กหอพักตองการกลับไปเยี่ยมครอบครัว หรือครอบครัวจะพานักเรียนกลับไปเยี่ยมบาน<br />

ในชวงปดเทอมไดนั้นตองมีหนังสือขออนุญาตและมีผูปกครองรับรองการเดินทางไปและเดินทาง<br />

กลับของเด็กดวย เพื ่อที่วาเปนเปนการปองกันความปลอดภัยของเด็ก และทําใหมั่นใจไดวาเด็กที่<br />

กลับบานไปนั้น ไปอยูที่ไหน กับใคร และจะกลับมาที่โรงเรียนอีกครั้งเมื่อไหร แตเด็กสวนใหญแลว<br />

จะอยูกับโรงเรียน แมกระทั่งในชวงของการปดเทอมประจําป โดยที่ทางโรงเรียนจะใชชวงเวลานี้<br />

เปนการทํากิจกรรม หรือสอนเสริมหลักสูตรตาง เชน การฝกทางดานอาชีพ การสืบทอด<br />

ดานศิลปวัฒนธรรม การเรียนคอมพิวเตอร และการวาดรูป เปนตน รวมไปถึงการเขาฝกอบรม หรือ<br />

ชวยงานของกองกําลังในสวนตาง เชนการทํางานในสวนของสํานักงาน การฝกทางดานทหาร<br />

เพื่อปองกันตัวเองดวย<br />

ทายที่สุดความหวัง ความตองการ และความใฝฝนอันสูงสุดของเด็กนักเรียนที่มาเรียน<br />

ในโรงเรียนแหงนี้ ที่ถายทอดผานจายทุน และแสงมน นั้นก็ไดทําใหเห็นวา ความฝนของจายทุน<br />

ที่มาเรียนที่นี่นั้นเขาไดบอกวา<br />

“ผมอยากจะเปนครู เพื่อสอนใหกับนองๆ รุนตอไปไดมีความรู”<br />

84<br />

และ “หนูอยากเปนนักขาว เหตุผลเพราะอยากจะชวยเหลือคนไทใหญคน<br />

83 สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน อายุ 13 ป เด็กนักเรียนหอพักหญิง โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.


176<br />

อื่นๆที่อยูรัฐฉานที่ไดรับความเดือดรอน ซึ่งหนูอยากจะเอาขอมูลขาวสารมา<br />

สื่อสารกับคนภายนอก เพื่อที่จะไดชวยเหลือกับคนเหลานั้น” 85<br />

นอกจากนี้แสงมนยังไดบอกถึงความรูสึกของการมาอยูที่นี่ตออีกวา<br />

“หนูไมมีความรูสึกที่จะเบื่อกับการตองอยู และเรียนที่นี่<br />

ไมอยากจะไปไหน ไมอยากจะหนี เพราะหนูรูวา เมื่อถึงเวลาไป ผูใหญเขาก็<br />

จะก็คงจะสงเราไปเอง” 86<br />

เธอตั้งความหวังตอผูใหญที่วาคงจะใหความเหมาะสมในการทําตามความฝนของเธอ<br />

เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาภาพรวมของการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

โดยเฉพาะในระดับของตัวบุคคลที่เปนเด็กนักเรียน และผูที่มีบทบาทเกี่ยวของ รวมไปถึง<br />

การจัดการเรียนการสอน หลักสูตร และสื่อตางๆ รวมถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรตาง ๆ ลวนมีผลตอ<br />

ถายทอดอุดมการณชาตินิยมภายใตการบริหารของสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ที่เปน<br />

เสมือนโครงสรางของอาคารขนาดใหญ โดยมีหนวยงานตางๆ ที่อยูภายใตสภาฯ นี้เปน<br />

องคประกอบสวนตางๆ ของโครงสรางที่แขงแรง โดยเฉพาะในสวนของหนวยงานที่ทําหนาที่<br />

ในดานของการดูแลการศึกษา เปนเสาหลักที่ทําใหมีผลตอการจัดการศึกษาใหกับเด็กนักเรียนที่อยู<br />

ในโครงสรางอาคารเหลานี้ ไดรับการถายทอดทั้งความรู ความสามารถ และอุดมการณแหงชาติ<br />

ผานเครื่องมือสําคัญตางๆ เชน แบบเรียน สื่อการสอน และกิจกรรมตางทั้งภายใน และภายนอก<br />

หองเรียนนั้นที่เปนสวนเติมและทําใหการทํางานของภาคสวนตางๆ ไดทําหนาที่ของตนเองอยาง<br />

เต็มที่ในการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไทใหญ ในฐานะกลไกในการเผยแพรอุดมการณของรัฐ<br />

(ideological state apparatus) ไปยังเด็กนักเรียนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ซึ่งเปนความหวัง<br />

ของคนไทใหญบนผืนแผนดินพลัดถิ่นแหงนี้ตอไป<br />

84 สัมภาษณเด็กชายจายทุน เด็กนักเรียนหอพักชาย โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.<br />

85 สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน อายุ 13 ป เด็กนักเรียนหอพักหญิง โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551.<br />

86 สัมภาษณคนเดียวกัน, อางแลว


177<br />

5.4 SSSNY : โรงเรียนทางเลือกของเด็กนักเรียนดอยไตแลง<br />

เมื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงยังไมสามารถจัดการศึกษาไดครบ<br />

ตามหลักสูตร 10 ป ของโรงเรียนที่ไดวางรากฐานไว ซึ่งไดกลาวถึงเหตุผลสําคัญที่ไมสามารถจัด<br />

การศึกษาใหครบหลักสูตรไปแลวในหัวขอที่ผานมา จึงทําใหทางสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน<br />

จําเปนจะตองหาวิธีการใหนักเรียนที่จบในระดับชั้น 9 ไดมีโอกาสศึกษาตอใหครบกระบวนการของ<br />

การจัดการศึกษาตามหลักสูตรดังกลาว<br />

ที่ผานมาจะเห็นไดวาทางสภาฯ ไดมีการใหนักเรียนไปศึกษายังโรงเรียน SSSNY 87 หรือ<br />

ที่มีชื่อยางเปนทางการวา “School for Shan State Nationalities Youth” ซึ่งเปนโรงเรียนสําหรับ<br />

เยาวชนที่อาศัยอยูในรัฐฉานทุกเชื้อชาติ โรงเรียนแหงนี้เริ่มทําการเปดเมื่อป 2001 โดยมีจามตอง<br />

ซึ่งเปนหนึ่งในผูกอตั้งและผูอํานวยการ ที่เปนนักตอสูทางดานสิทธิมนุษยชนในพมาที่เปน<br />

คนไทใหญที่มีชื่อเสียงมาจากการเปนผูกอตั้งองค SWAN ที่ไดเปดเผยถึงความโหดรายของทหาร<br />

พมาที่ทําการขมขืน ฆา และการละเมิดสิทธิมนุษยชนตอผูหญิงไทใหญที่อยูในพมาใหสาธารณชน<br />

ทั่วโลกไดรู<br />

ภาพที่ 5.19 ตราสัญลักษณโรงเรียน School for Shan State Nationalities Youth (SSNY)<br />

ที่มาภาพ: http://www.sssny.org/aboutus.html<br />

โรงเรียนแหงนี้เปนโรงเรียนที่ทําการเปดเปนแบบหลักสูตร 1 ป ซึ่งมีการคัดเลือก<br />

นักเรียนเขามาเรียนอยางมีจุดหมายทั้งกอที่จะเขามาเรียน และภายหลังจากที่จบการศึกษาจากที่นี้<br />

แลว โดยโรงเรียนแหงนี้มีมุงพัฒนาบุคลากรใหมีความรูและมีประสิทธิภาพในการใหเกิด<br />

87 ขอมูลจากเวบไซต http://www.sssny.org/aboutus.html


178<br />

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองโดยการใหความรูความสามารถที่จําเปนกับเยาวชน<br />

โดยสงเสริมเยาวชนในรัฐฉาน อายุ 16-30 ที่แตกตางความเปนชนชาติและความเปนอยู ซึ่งเปน<br />

การเติมเต็มความรูความสามารถ ใหเยาวชนไดมีประสิทธิภาพ ในดานการตอสูเพื่อประชาธิปไตย<br />

และสิทธิมนุษยชน พรอมทั้งสิทธิเทาเทียมทางเพศ<br />

โรงเรียนจึงไดพัฒนาดานความรู และทักษะ เพื่อใหเยาวชนจากรัฐฉานไดมีความเชื่อมั่น<br />

ของตนเอง รวมถึงสงเสริมใหมีการมีสวนรวมในการเคลื่อนไหวของสังคม โดยการสรางบุคคลากร<br />

ไดทํางานกับองคกรตางๆ ที่สนับสนุนใหเกิดประชาธิปไตย ในการทําขอมูลการละเมิดสิทธิ<br />

ในดานการสงเสริมการศึกษา และใหสงเสริมใหรับรูถึงการแพรระบาดของโรคเอดส นอกจากนี้<br />

ยังใหมีการยอมรับทัศนคติของเยาวชนจากรัฐฉานผานกระบวนการอบรมเพื่อสงเสริมใหมีศักยภาพ<br />

และ ความเปนอิสระ ของคนอื่นๆ ในชุมชนตางๆ<br />

สวนการจัดหลักสูตรนั้น โรงเรียนไดมีการเนนในเรื่องของสิทธิ ประวัติศาสตรของพมา<br />

และไทใหญ ทักษะการใชคอมพิวเตอร ไวยากรณภาษาอังกฤษและสําเนียงอังกฤษ ทักษะการเขียน<br />

เรียนรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เรียนรูระบบรัฐบาลและประชาธิปไตย วิกฤตการณและความขัดแยงของ<br />

นานาชาติ ชาวคราวของนานาชาติ พื้นฐานการทําสื่อวีดีทัศนและเรียนรูเกี่ยวกับสื่อ คณิตศาสตร<br />

พื้นฐานวิทยาศาสตร และเรียนรูเกี่ยวกับสุขภาพ 88<br />

โดยมีการเรียนการสอนในชวงเดือนมกราคม-ตุลาคม ของทุกๆป เปนเวลา 10 เดือน<br />

ซึ่งจะแบงออกเปนเทอมละ 3 เดือน ในขณะที่อดีตนักเรียนคนหนึ่งเลาใหฟงวา<br />

“โรงเรียนนี้ตั้งอยูในสวนหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม ซึ่งไม<br />

สามารถเปดเผยได มีตัวอาคารเรียน และหอพักอยูในที่เดียวกัน เด็กที่ในนี้ทุก<br />

คนจะเปนเด็กทุกกลุมชาติพันธุที่มาจากในเขตรัฐฉาน ซึ่งการที่จะมาเรียนที่นี่<br />

ไดนั้นตองมีการสอบเขามา และมาพักอยูรวมกันแบบกินนอน โดยที่ทาง<br />

โรงเรียนจะรับผิดชอบคาใชจายใหทั้งหมด และดูแลทั้งกินอยู และการจัด<br />

กิจกรรมนอกสถานที่ใหนักเรียนไดผอนคลายเดือนละครั้ง” 89<br />

นอกจากนี้ยังไดเลาถึงหลักสูตรสําคัญของโรงเรียนที่นี้ ที่มีการจัดการเรียนโดยอาจารย<br />

ชาวตางชาติที่มีความสามารถมาก เปนการเรียนการสอนในเชิงของการปฏิบัติการใหนักเรียนได<br />

88 ขอมูลจากเวบไซต http://www.sssny.org/aboutus.html<br />

89 สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนรุนแรกที่เคยเรียนในสถานที่แหงนี้ วันที่ 9 เมษายน 2551.


179<br />

เรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยมีการเรียนการสอนในหลายสาขาวิชา เชน ดานสุขภาพ<br />

สิ่งแวดลอม สิทธิ เพศสภาพ ประชาธิปไตยและกฎหมายตางๆ เปนตน<br />

เมื่อนักเรียนไดเรียนจบในหลักสูตรดังกลาวของโรงเรียน SSSNY แลวใหถือไดวาไดจบ<br />

ในขั้นสูงสุดของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงแลว ซึ่งสามารถทํางานรับใชประเทศชาติไดแลว<br />

ตามความสนใจและความรูความสามารถของเด็กคนนั้นๆ ภายใตกรอบเงื่อนไขทางการศึกษา<br />

ของนักเรียน และสถานภาพของนักเรียนวาอยูในรูปแบบของเด็ก 75 % หรือ 100 % เพื่อทํางานรับ<br />

ใชชาติบานเมืองตอไป<br />

นอกจากนี้ในปจจุบันยังมีการใหเด็กนักเรียนที่อยูในระดับชั้น 7-9 นั้นไปสอบเทียบใน<br />

ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตนของประเทศไทย ในระบบของโรงเรียนตามแนวชายแดนไทย-<br />

พมา เพื่อเปนการเปดทางเลือกใหกับเด็กไทใหญในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงอีกทางหนึ่งในการ<br />

สงเสริมการศึกษาอยางมีคุณภาพ และใหเด็กไดรับการศึกษาตามความตองการ และขีด<br />

ความสามารถของเด็กคนนั้นไดเต็มประสิทธิภาพ<br />

ในขณะที่เด็กที่ไมเรียนตอไมวาจะเปนในระดับชั้นใดก็ตาม ทางสภาฯ ก็ใหโอกาสเด็ก<br />

นักเรียนนั้นๆ ไดเขาไปทํางานในสวนของการรับใชชาติไดเลย ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับความสามารถ<br />

และความสนใจของเด็กนักเรียนเชนกัน เพื่อเปนการใหนักเรียนไดใชความรูความสามารถของ<br />

ตนเองมากอใหเกิดประโยชนตอชาติบานเมืองในภาคสวนตางตอไป<br />

5.5 สรุปผล<br />

ในบทนี้โดยภาพรวมแลวจะทําใหเห็นถึง “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” ในฐานะของการ<br />

เปนโรงเรียนแหงชาติไทใหญ ซึ่งมีพัฒนาการการกอตั้งที่แตกตางตามชวงตางๆ ตามผูที่มีบทบาท<br />

สําคัญในขณะนั้น ดังนั้นการจัดการศึกษาในแตละชวงจึงเปนพื้นฐานสําคัญของการจัดการศึกษา<br />

ในปจจุบัน ซึ่งสามารถสรุปสาระสําคัญของพัฒนาการของการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลงไดดังนี้ คือ<br />

1. ในชวงแรกนั้นการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงจะเนนเพียงเพื่อให<br />

เด็กไดรับการศึกษาตอเนื่องจากที่ไดเรียนมาแลว รวมถึงยังไมมีระบบการจัดการ หลักสูตร<br />

สื่ออุปกรณ ผูสอน ผูเรียน และตัวของอาคารสถานที่ดี เพียงพอ และเหมาะสมมากนัก<br />

2. ในชวงที่สองนั้นถือไดวาเปนยุคที่การศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีระบบ<br />

ที่ดีมากขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งมาจากการไดวางรากฐาน พัฒนาการ และผูที่มีสวนเกี่ยวของในภาคสวน<br />

ตางๆ มีความพรอมมากขึ้น


180<br />

3. ในชวงที่สามจนถึงปจจุบันนั้นการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้นอยู<br />

ในระหวางของการพัฒนาใหมีระบบ รูปแบบ เพื่อใหมีหลักสูตรของการจัดการเรียนการสอนจาก<br />

ฝายการศึกษาของสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ในการพัฒนาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน<br />

ของโรงเรียนอื่นๆ ในเขตรัฐฉาน โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยูภายใตการดูแลของสภาฯ ตอไป<br />

ในภาพรวมของพัฒนาการการจัดการศึกษาของโรงเรียนดอยไตแลงที่ไดนําเสนอ<br />

ขางตนนั้น ทําใหเห็นวาการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดมีการพัฒนาทั้งระบบ และรูปแบบของการ<br />

จัดการศึกษาใหมีคุณภาพ ประสิทธิภาพใหมากขึ้น เพื่อใหการทํางานของโรงเรียนในฐานะของการ<br />

เปนกลไกในการเผยแพรอุดมการณของชาจินั้นไดบรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งโรงเรียนในการ<br />

ใหการศึกษากับเด็กที่ทางสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉานนั้นเรียกวาเปนอนาคตของชาติ รวมถึง<br />

การใหเด็กไดมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามที่รัฐไดวางกรอบของ<br />

นอกจากนี้ยังไดแสดงใหเห็นถึงกระบวนการของการถายทอดอุดมการณชาตินิยม<br />

ไทใหญในระบบของการศึกษาโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ผาน 3 องคประกอบสําคัญ ไดแก<br />

หลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน และบริบทของโรงเรียน ซึ่งมีผลทําใหเด็กในโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลงไดมีอุดมการณชาตินิยมที่สามารถแสดงออกทั้งในแงของผลสัมฤทธิ์ในเชิงอุดมคติ เชน<br />

ความรูสึกนึกคิดตอความรักชาติบานเมือง และผูคนที่อยูในสภาวะเดียวกัน และผลสัมฤทธิ์<br />

ในเชิงประจักษ การตอบแทนบุญคุณของโรงเรียนดวยการทํางานในภาคสวนตางๆ ของโครงสราง<br />

สภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เพื่อที่จะกลับมาพัฒนา<br />

ประเทศชาติ บานเมืองของตนเองตอไป


บทที่ 6<br />

วิเคราะหและสรุปผล<br />

6.1 วิเคราะหผล<br />

จากการศึกษาเรื่องโรงเรียนของคนพลัดถิ่น: การสรางอุดมการณชาตินิยมในระบบ<br />

การศึกษาของโรงเรียนบนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ผูศึกษามีวัตถุประสงคของการศึกษา<br />

ในครั้งนี้ 3 ขอ ดังนี้ คือ<br />

1. เพื่อศึกษารูปแบบและระบบการจัดการการศึกษาของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”<br />

บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ ภายใตบริบทของคนพลัดถิ่นภายในประเทศ<br />

พมา<br />

2. เพื่อศึกษาบทบาท และหนาที่ของ “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่น<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ ในการสรางผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญ และ<br />

3. เพื่อศึกษาผลของการผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมไทใหญในระบบการศึกษา<br />

ใน “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” บนฐานที่มั่นกองกําลังกูชาติไทใหญ<br />

การศึกษาครั้งนี้ผูศึกษามีหนวยของการวิเคราะหคือ โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

โดยองคประกอบ 3 ปจจัย เปนตัววิเคราะหรวม เพื่อแสดงใหเห็นถึงผลของการศึกษาดังกลาวอยาง<br />

เปนรูปธรรมมากขึ้น ซึ่งประกอบไปดวย<br />

1. เนื้อหาสําคัญของหลักสูตรของ 3 กระบวนวิชา คือ วิชาประวัติศาสตร<br />

วิชาภูมิศาสตร และวิชาสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน<br />

2. รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ดังนี้<br />

2.1 โครงสรางของการจัดการศึกษาของโรงเรียน<br />

2.2 การจัดตารางการเรียนการสอนของโรงเรียน<br />

2.3 กิจกรรมเสริมหลักสูตรตางๆ<br />

3. บริบทของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ที่เปนปจจัยเกื้อหนุนใหโรงเรียนไดทํา<br />

หนาที่ของการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไดอยางผสมกลมกลืนมากขึ้น


181<br />

การวิเคราะหผลของการศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษาจะแสดงใหเห็นถึงผลของการถายทอด<br />

อุดมการณชาตินิยมแบบวัฒนธรรม(cultural nationalism) ผานกลไกการทําบทบาทหนาที่ของ<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในฐานะของการเปนเครื่องมือของการเผยแพรอุดมการณของรัฐ<br />

(ideological state apparatus) ภายใตบริบทของการจัดการศึกษาของผูพลัดถิ่นฐานภายในประเทศ<br />

(internally displaced people) ที่มีสภาพพื้นที่ สิ่งแวดลอม บุคลากร และประสบการณตางๆ<br />

ผานผลกระทบของการตอสูเพื่อกอบกูเอกราชของรัฐฉานในประเทศพมาจากนโยบายของการแปลง<br />

ใหเปนพมา(Bermanization) ซึ่งจะกลาวดังตอไปนี้<br />

6.1.1 “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น”กับการจัดการศึกษาไรดินแดน<br />

การนําเสนอของผูศึกษาในบทตางๆ ที่ผานมา ผูศึกษาแสดงใหเห็นถึงการเกิดขึ้น<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ซึ่งเปนผลผลิตชิ้นสําคัญของการตอตานรัฐบาลทหารพมาตลอด<br />

50 กวาปที่ผานมา ซึ่งกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ภายใตการนําของพันเอกเจายอดศึก ถือไดวามี<br />

พัฒนาการของการกอตั้งและการหลอมรวมจากกองกําลังกูชาติในยุคตางๆ ของไทใหญมาอยาง<br />

ยาวนาน ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการพยายามเอาชนะความเปนชนกลุมนอยภายใตประเทศพมาที่<br />

ใชนโยบายของการรวมชาติเพื่อความเปนเอกภาพแหงชนชาติเดียวในประเทศแหงนี้<br />

ภายใตของของการเปนกองกําลังกูชาตินี้เอง ภารกิจสําคัญอยางหนึ่งนอกเหนือจาก<br />

การพัฒนากองทัพซึ่งเปนหัวใจหลักของการปกปอง และการตอสูของกองกําลังกูชาติไทใหญแลว<br />

การจัดการศึกษาก็นับไดวามีความสําคัญยิ่งตอการที่จะนําพาไปสูความเปนอิสระแหงรัฐฉาน<br />

ที่มีความเปนเอกราชและประชาธิปไตย ดังนั้นเด็ก และเยาวชนจึงกลายเปนความหวังของอนาคต<br />

ของคนไทใหญในการดูแลของกองกําลังกูชาติ ที่จะเปนกําลังสําคัญของการเปนทรัพยากรมนุษยที่มี<br />

ความรักเชื้อชาติ บานเมือง ภาษา และศาสนา ตามหลักของการยึดถือสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน<br />

ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่ประชาชนคนไทใหญจะตองยึดถือเอาเปนหลักปฏิบัติที่เทิดทูลไวเหนือหัว<br />

จากสาเหตุของการกอตั้งกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ซึ่งไดแบกเอาภารกิจสําคัญ<br />

ของบรรพบุรุษไทใหญที่มีการตอสูเพื่อเอกราชแหงรัฐฉานอันยาวนาน ผนวกรวมกับประสบการณ<br />

ของการเปนผูพลัดถิ่นฐานภายในประเทศจากการตอสูในประวัติศาสตร และนโยบายของการรวม<br />

ชาติที่พยายามใหผูคนทุกชนชาติในประเทศพมามีความสํานึกเปนคนเชื้อชาติพมา จึงทําใหกอง<br />

กําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ไดใหความสําคัญของการจัดการศึกษาซึ่งเปนกลไกสําคัญของการกูชาติ


182<br />

การจัดการศึกษาของกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ไดตั้งอยูบนเงื่อนไขและขอจํากัด<br />

ของพื้นที่ทางภูมิศาสตร ความมั่นคง สถานการณที่บีบบังคับ รวมถึงทรัพยากรทางดานวิชาการและ<br />

บุคคลากรนั้น ทําให “โรงเรียนของคนพลัดถิ่น” หรือโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้นมีที่<br />

ทางภูมิศาสตรอยูบนพื้นที่ของรอยตอที่เปนพรมแดนระหวางไทยกับพมา ซึ่งทั้งนี้อาจจะมาจาก<br />

หลากหลายเหตุผลเพื่อเปนการปกปองอนาคตของชาติที่เปนทรัพยากรมนุษยในโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลง<br />

จากการเปนโรงเรียนที่ถูกจัดตั้งโดยกองกําลังกูชาติไทใหญ (SSA) ซึ่งบริหาร<br />

จัดการศึกษาภายใตโครงสรางของสภาพเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ที่นอกเหนือจาก<br />

การที่อยูบนพื้นที่ๆ มีความไมมั่นคงทั้งทางดานของภูมิศาสตร และสถานการณความไมมั่นคงตางๆ<br />

รวมถึงการเปนรัฐพลัดถิ่น ทําใหโรงเรียนแหงนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองมีระบบของการจัด<br />

การบริหาร ผานรูปแบบและระบบของการจัดการศึกษาที่ปรับประยุกตใหเหมาะสมกับสถานภาพ<br />

ของตนเอง ซึ่งโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีระบบการศึกษาแบบ 10 ป ที่ไดมีการพัฒนามาจาก<br />

ระบบของการศึกษาในประเทศพมา เมื่อครั้งที่ไดรับการวางรากฐานทางการศึกษาของประเทศ<br />

อังกฤษในสมัยที่อยูภายใตของการเปนประเทศอาณานิคม<br />

การจัดระบบการศึกษาแบบ 10 ป ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงไดประกอบไป<br />

ดวยระดับชั้นตางๆ ตั้งแตระดับชั้นที่ 1-10 ซึ่งเทียบเทาชั้นสูงสุดในระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ในระบบ<br />

การศึกษาของประเทศไทย ซึ่งการจัดการศึกษาในระบบ 10 ป นั้นเปนการปรับใหเหมาะสมกับ<br />

สถานการณ และบริบทของการเปนโรงเรียนของกองกําลังกูชาติไทใหญ เพราะจะทําใหใชเวลา<br />

ในการใหการศึกษาในเวลาที่นอยกวา ซึ่งสําหรับการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงนี้ไมมีเวลามาก<br />

พอที่ใชเวลามากถึง 12 ป เหมือนกับระบบการศึกษาในประเทศอื่นๆ ทั้งนี้ตองคํานึงถึงสถานการณ<br />

ของความไมมั่นคงและความตองการทางดานบุคคลากรที่มีความรูความสามารถในการมาเปนกลไก<br />

และทรัพยากรทางมนุษยในการที่จะนําพาไปสูความเปนเอกราชของรัฐฉาน<br />

6.1.2 โรงเรียน: สังเวียนแหงการถายทอดอุดมการณชาตินิยม<br />

สําหรับโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงไมไดเปนเพียงแคสถานที่ใหวิชาความรูแกเด็กซึ่ง<br />

จะเปนอนาคตของชนชาติไทใหญเทานั้น หากแตโรงเรียนแหงนี้ยังเปนสถานที่สนองเจตนารมณ<br />

ของเจายอดศึก ในฐานะของการเปนผูนําสูงสุดของกองกําลังกูชาติไทใหญ และประธานกรรมการ<br />

ของสภาเพื่อกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) ซึ่งเปนโครงสรางหลักของการบริหารงานในสวนตางๆ


183<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญ ในที่นี้หมายถึงในสวนของการจัดการศึกษาของกรรมาธิการ<br />

ฝายการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงดวย<br />

การจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงมีนโยบายชัดเจนทางดานของ<br />

การกูชาติดวยวัฒนธรรมผานการทําหนาที่ของโรงเรียนอยางมาก ซึ่งจากการที่นําเสนอทั้งรูปแบบ<br />

ระบบ โครงสราง นโยบาย และหลักสูตรตางๆ ของโรงเรียนในบทที่ผานมา ทําใหเห็นถึงการทํางาน<br />

ของโรงเรียนแหงนี้ผานกลไกสําคัญไดแก หลักสูตร รูปแบบของการจัดการเรียนการสอน และ<br />

บริบทของโรงเรียนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งการทําหนาที่ของโรงเรียนผานกลไก 3 สวนนี้ไดเปน<br />

การเชื่อมโยงอุดมการณของชาตินิยมแบบวัฒนธรรมเขาไปอยางตอเนื่องที่เปนการผลิตซ้ําและ<br />

ตอกย้ําความเปนไทใหญที่มีประวัติศาสตร ภาษา วัฒนธรรม และประเพณี รวมถึงความบอบช้ํา<br />

ทางดานประวัติศาสตรอยางยาวนาน ไดถูกถายทอดใหกับเด็กที่อยูในระบบของการศึกษา<br />

ในโรงเรียนแหงนี้<br />

ก) อดีตสูปจจุบัน: แผนดินใน “ประวัติศาสตร” สูการไรรัฐบน “แผนที่”<br />

หากจะกลาววาในอดีตนั้นคนไทใหญเคยมีความเจริญรุงเรือง และยิ่งใหญที่สุด<br />

ในสมัยของการปกครองเสือขานฟา วีรบุรุษในประวัติศาสตรของคนไทใหญ ที่เคยครอบครอง<br />

ดินแดนในเขตของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทางตอนใตของประเทศจีนในปจจุบันลงมาจนถึง<br />

ทางตอนเหนือบางสวนในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเปนกลุมชาติพันธุที่มีภาษา วัฒนธรรม และ<br />

ประเพณีเปนของตนเองมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน อีกทั้งในบางยุคบางสมัยก็มีอาณาเขตและ<br />

ดินแดนที่เปนอิสระจนถึงในชวงของการเปนรัฐในอารักขาของประเทศอังกฤษ กอนที่จะรวมเปน<br />

รัฐหนึ่งภายใตการปกครองของประเทศพมาในปจจุบัน<br />

จากความยิ่งใหญในอดีตและความบอบช้ําจากการปกครองดวยนโยบายรวมชาติของ<br />

ประเทศพมานี้เอง ภายหลังของการจัดตั้งโรงเรียนซึ่งเปนการจัดการศึกษาดวยคนในชนชาติดวย<br />

กันเองใหกับโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง หลักสูตรและแบบเรียนจึงเปนเครื่องมือสําคัญที่จะเปน<br />

แหลงรวบรวมการบอกเลาทางประวัติศาสตรใหกับคนรุนตอไปในฐานะของการเปนอนาคตของ<br />

ชาติไดรับรู และเปนชองทางของการสื่อสารจากอดีตที่เชื่อมโยงกับสถานะของกลุมชาติพันธของ<br />

ตนเองในปจจุบัน


184<br />

ภายใตความสําคัญของอาณาเขตและดินแดนในปจจุบัน ที่เปนพรมแดนทางภูมิศาสตร<br />

ที่สําคัญในฐานะของการเปน “รัฐชาติสมัยใหม” ซึ่งใหความสําคัญกับพรมแดน หรืออาณาเขต<br />

ในเชิงของเสนขอบแดนที่มีตําแหนงแหงที่ๆ ชัดเจนบนแผนที่ซึ่งเปนเสมือนตัวชี้วัดถึงขอบเขตและ<br />

ดินแดนในปจจุบัน ทําใหความสําคัญของแผนที่จึงมีความสําคัญยิ่งสําหรับคนไทใหญที่มี<br />

ความบอบช้ําจากการมีดินแดนของตนเอง ในประวัติศาสตร การลงนามสัญญาปางโหลง และ<br />

การเปนผูพลัดถิ่นฐานในสถานะไรรัฐที่ปรากฏชัดเจนในขณะนี้<br />

สาระสําคัญดังกลาวไดถูกเชื่อมโยงรอยใหเปนเรื่องเดียวกันในแบบเรียนของหลักสูตร<br />

วิชาประวัติศาสตร และภูมิศาสตร ที่ถูกวางนโยบาย หลักสูตร แลวเขียนขึ้นโดยครูเคอแสน ผูที่มี<br />

บทบาทอยางสูงสุดสําหรับการจัดระบบการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ซึ่งเนื้อหาของ<br />

กระบวนวิชาดังกลาวไดพยายามทําใหคนไทใหญไดมีพื้นที่ และสํานึกทางประวัติศาสตร และ<br />

ความเปนไทใหญที่เคยเปนชนชาติที่ยิ่งใหญชนชาติหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กับกลายมาเปน<br />

ผูที่ไรรัฐในปจจุบัน<br />

ดังนั้นในวิชาประวัติศาสตรที่ใชทําการเรียนการสอนในโรงเรียนแหงนี้จึงเปรียบเสมือน<br />

ตัวแทนภาคอดีตที่บอกเลาประวัติศาสตรของคนไทใหญที่มีแผนดินมีตัวตน และมีความยิ่งใหญที่<br />

ถูกนําเสนอผานประวัติของวีรบุรุษ หรือบุคคลตางๆ ในประวัติศาสตร การนําเสนอคนตระกูลไตใน<br />

ประเทศตางๆ รวมทั้งการนําเสนอเหตุการณหรือสถานการณสําคัญในอดีตและปจจุบัน เพื่อเปนการ<br />

ตอกย้ําถึงความเจ็บปวด และความไมยุติธรรมของคนในชาติเดียวกันที่อยูในฐานะของผูปกครอง<br />

ในสวนของวิชาภูมิศาสตรนั้นก็เปรียบไดกับตัวแทนภาคปจจุบันที่บอกเลาถึงขอเท็จจริง<br />

ทางวิทยาศาสตรที่นํามาเชื่อมโยงหักลางทางความคิดของความเชื่อและความจริง<br />

จากการเปลี่ยนแปลง หรือสิ่งที่เกิดขึ้นของโลก สุริยะจักรวาล และจักรวาล ที่เปนหนวยใหญของ<br />

การรูจักภูมิศาสตรเชิงมหาภาค เพื่อเชื่อมโยงกับภูมิศาสตรจุลภาค โดยผนวกกับปรากฏการณตางๆ<br />

ที่เกิดขึ้นจริงกับคนไทใหญอยางเปนรูปธรรม ทั้งในแงของปจจุบันและอดีต ที่ตอบสนองถึง<br />

จุดออนแอหรือตอกย้ําถึงความพายแพทางภูมิศาสตรที่วาดวยอาณาเขตและบริเวณผานเครื่องมือของ<br />

“รัฐชาติสมัยใหม” ที่เรียกวาแผนที่<br />

การรูจักและการอานแผนที่นั้นถูกนํามาผนวกเชื่อมโยงกับวิชาภูมิศาสตรอยางเห็นได<br />

ชัดเจน ซึ่งทั้งนี้ก็เหมือนกับที่กลาวไปขางตนที่เกี่ยวกับการตอกย้ําทางประวัติศาสตรในประเด็นของ<br />

อาณาเขตและดินแดนที่สูญเสียไป ซึ่งผูเขียนหลักสูตรและตําราไดพยายามเชื่อมโยงเนื้อหาเพื่อ<br />

ตอกย้ําถึงความบอบช้ําที่เปลี่ยนผานระหวางผูยิ่งใหญ ในอดีตกลายเปนผูไรรัฐทางแผนที่ในปจจุบัน<br />

อยางไร และเพื่อเปนการแกไขปญหา ที่ตอบโจทยดังกลาว คนไทใหญจึงจําเปนที่จะตองเรียนรู


185<br />

อะไรบางที่จําเปนและเสริมสรางอุดมการณของชาตินิยมอยางไรผานสองกระบวนวิชาดังกลาวอยาง<br />

เปนเนื้อเดียวกัน<br />

ในดานของวิชาสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบันนั้น จึงเปนเสมือนทางออก ซึ่งมีหลัก<br />

ในการปฏิบัติสําคัญที่เชื่อมโยงระหวางประวัติศาสตรและภูมิศาสตรเขาดวยกัน เพื่อเปนแผนที่หรือ<br />

ลายแทงชิ้นสําคัญเพื่อจะนําไปสูความสงบรมเย็นบนผืนแผนดินที่เปนอิสระแหงความเปน<br />

ประชาธิปไตย ซึ่งสถาบันทั้ง 4 สถาบันนั้น ถูกกําหนดใหเปนแนวทางของการปฏิบัติ โดยมีหลักนํา<br />

6 ขอนั้นเปนขั้นตอนของการยกยองเทิดทูล 4 สถาบัน ดวยการปฏิบัติตามหลักรัก 4 รัก เชื่อ 4 เชื่อ<br />

และการมีสัจจะ 4 ประการ เพื่อประกอบใหเกิดความสมบูรณของการเกิดเปนคน 1 คน ที่จําเปน<br />

จะตองมีพอ แม การสื่อสาร และจิตใจ ที่เปนตัวแทนของสถาบันทั้ง 4 สถาบัน จึงจะถือไดวาคนๆ<br />

นั้นไดเกิดมาเปนคนอยางสมบูรณ<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาการทําหนาที่ของหลักสูตรทั้ง 3 กระบวนวิชานั้นมีความสอดคลอง<br />

เชื่อมโยงกันอยางเปนกระบวนการที่ตอกย้ําและผลิตซ้ําใหเด็กที่อยูในโรงเรียนแหงนี้ไดสํานึก<br />

ทางอุดมการณชาตินิยมอยางครบวงจร<br />

ข) รูปแบบการสอน: สวนเติมเต็มอุดมการณชาตินิยม<br />

เมื่อมีหลักสูตร กระบวนวิชา และแบบเรียน ก็ยอมจะตองอาศัยกระบวนการจัดรูปแบบ<br />

การเรียนการสอนที่เหมาะสม และสอดคลองกับเปาหมายหรือเนื้อหาสาระสําคัญของการถายทอด<br />

องคความรูไปยังผูเรียน ซึ่งรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

นั้นอยูภายใตการดูแลของฝายกรรมาธิการการศึกษาของโครงสรางสภาเพื่อการกอบกูเอกราช<br />

รัฐฉาน (RCSS) ที่มีหนาที่ในการจัดรูปแบบของการศึกษาใหเหมาะสมกับหลักสูตรของโรงเรียน<br />

แหงนี้<br />

การบริหารจัดการของฝายกรรมาธิการการศึกษานั้นไดวางระบบการบริหารโรงเรียนที่<br />

ประกอบไปดวยฝายบุคลากรของโรงเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาที่เปนสวนของชุมชน<br />

และผูปกครองเด็กเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน นอกจากนี้ในสวนของ<br />

โครงสรางบุคลากรของโรงเรียนยังไดแบงยอยไปในระดับนักเรียนของโรงเรียน และระบบ<br />

โครงสรางของนักเรียนในหอพัก เพื่อเปนการสรางระเบียบวินัย และความรับผิดชอบในการดูแล<br />

และพัฒนาระบบใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน


186<br />

จากการที่มีรูปแบบและระบบการบริหารของโครงสรางดังกลาวนั้น ไดวางหลัก<br />

ในการปฏิบัติ และแนวทางในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดตอบสนองเปาหมายหลักของ<br />

การจัดการศึกษาทั้งในระบบของหองเรียน และนอกหองเรียน ซึ่งไดมีการกําหนดกระบวนวิชา<br />

ตางๆ ที่ใชสอนในแตละลําดับชั้น เพื่อใหเหมาะสมกับหลักสูตรของการศึกษาที่เปน<br />

การสรางบุคคลากรที่เปนทรัพยากรมนุษยที่ควรจะมีทั้งวิชาความรูและอุดมการณและจิตสํานึกของ<br />

ความรักชาติบานเมือง อีกทั้งยังไดกําหนดวิชาเสริมตางๆ ที่เปนการใชกิจกรรมการสอนนอก<br />

หองเรียนเปนกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ทําใหการศึกษามีความตอเนื่องในแงของเนื้อหา และ<br />

กิจกรรมทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน<br />

กิจกรรมเสริมตางๆ อาทิเชน กิจกรรมทางดานศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมการฝก<br />

ปฏิบัติงานในสวนตางๆ ของโครงสรางสภากอบกูเอกราชรัฐฉาน กิจกรรมเสริมอาชีพ รวมถึง<br />

กิจกรรมที่เสริมทักษะในดานของการปองกันตนเอง และเปนกองกําลังเสริมทางดานกองทัพ<br />

ลวนแลวแตเปนกิจกรรมที่ฝกใหเด็กนักเรียนไดมีความรูความสามารถไปพรอมๆ กับการปฏิบัติที่<br />

หนุนเสริมใหอุดมการณชาตินิยมไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น และตอกย้ําลงไปสูในระดับของ<br />

การฝกปฏิบัติที่จะมีความเขมขนมากกวาการไดศึกษาหาความรูผานกระบวนการเรียนการสอน<br />

ในหองเรียนเทานั้น<br />

ค) โรงเรียน พรมแดน และทหาร: การจัดการศึกษาในบริบทของความไมมั่นคง<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงแวดลอมไปดวยบริบทตางๆ ที่มีผลตอ การเอื้อประโยชน<br />

ใหกับการจัดการศึกษามีความเขมขนในการถายทอดอุดมการณชาตินิยมใหกับระบบของโรงเรียน<br />

มากขึ้น ถึงแมวาอีกดานหนึ่งของบริบทของโรงเรียนดังกลาวจะเปนอุปสรรคสวนสําคัญที่ทําใหเกิด<br />

ความไมมั่นคง ทั้งทางดานชีวิต ความปลอดภัย และอาณาเขต แตในทางกลับกันสิ่งเหลานั้นได<br />

กลายเปนองคประกอบหนึ่งที่สําคัญที่เปน สิ่งสรางแรงเสียดทาน หรือตัวกระตุนทําใหเกิดความรูสึก<br />

นึกคิดของการรักชาติบานเมืองของตนเองมากขึ้น<br />

ในขณะที่โรงเรียนเปนเสมือนฐานบัญชาการหลักที่ปอนขอมูล และสรางจิตสํานึก<br />

ของอุดมการณชาตินิยมผานหลักสูตร และรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนนั้น สภาพแวดลอม<br />

ที่เปนบริบทรอบขางก็เปนสวนสรางความรูสึกที่สัมผัสไดจากพื้นที่ทางภูมิศาสตรของโรงเรียนที่<br />

ตั้งอยูบนพรมแดนที่มีความไมมั่นคง และสถานการณรอบขางที่เกิดขึ้น ยิ่งทําใหความรูสึกเหลานั้น<br />

ไดชัดเจนยิ่งขึ้น ประกอบกับบุคลากรตางๆ ทั้งในสวนของโรงเรียน บาน และหอพักนั้น สวนหนึ่งก็<br />

เกี่ยวของกับระบบของทหารซึ่งเปนกําลังหลักสําคัญของกองกําลังกูชาติไทใหญ


187<br />

ในสวนของบุคลากรนั้นเปนสวนสําคัญที่ถายทอดและปลูกฝงจิตสํานึกของความเปน<br />

ไทใหญผานประสบการณของชนชาติ และตนเองไดตลอดเวลา ทั้งในระบบของการเรียนการสอน<br />

และการดําเนินชีวิตที่สามารถประสบพบเจอไดภายใตการดูแลของกองกําลังกูชาติแหงนี้ ซึ่งการ<br />

ถายทอดและพบเจออยูตลอดเวลานั้นกลายเปนเครื่องตอกย้ําทางความคิดความรูสึก ใหกับสังคม<br />

ของเด็กที่อยูในระบบของโรงเรียนแหงนี้อยูตลอดเวลา<br />

สําหรับการดูแลเด็กของกองกําลังกูชาติไทใหญในระบบของโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลงจะแบงการดูแลเด็กออกเปน 2 ระบบ คือ เด็กที่อยูในความดูแลแบบ 75 % และเด็กที่อยู<br />

ในระบบ 100 %นั้น จะมีที่มา และความเปนอยูที่แตกตางกันในเชิงของหลักการปฏิบัติ แตในเชิง<br />

ของความเปนจริงนั้นเด็กทั้งสองระบบก็ดํารงอยูในสภาวะแวดลอมเดียวกัน แตตางสถานที่เทา<br />

นั้นเอง ซึ่งถึงแมวาเด็กในรูปแบบ 75% จะอยูที่บานกับครอบครัว แตเด็กสวนใหญก็จะเปนลูกหลาน<br />

ของครอบครัวทหาร ซึ่งตองอยูในระบบการดูแลภายใตกองกําลังกูชาติอยูดี<br />

ในขณะที่เด็กในรูปแบบ 100 % จะอยูในหอพัก ซึ่งก็จะอยูภายใตการดูแลของคณะครู<br />

และทหารของกองกําลังกูชาติไทใหญที่มีเงื่อนไขตางๆ ที่เปนการสรางกฎเกณฑ ระเบียบวินัย<br />

ในการดูแลจัดการเด็กใหอยูในระบบเดียวกัน เพื่อที่ดานหนึ่งเปนการฝกทางดานระเบียบวินัยที่ควร<br />

ยึดถือเมื่ออยูรวมกัน<br />

นอกจากนี้ในบริบทของความไมมั่นคง แนนอน ทางดานของตําแหนงแหงที่ ทั้งที่เปน<br />

ที่ตั้งทางภูมิศาสตร ความไมมั่นคงของชีวิต และประสบการณพลัดถิ่นของผูที่มีสวนเกี่ยวของตางๆ<br />

ครอบครัว ตนเอง หรือแมกระทั่งการดํารงชีวิตในประจําวันที่จะตองเจอกับสภาพของความ<br />

ยากลําบาก ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปนองคประกอบสําคัญที่เปนทั้งแรงผลักดันและสิ่งที่ตอกย้ําความเปน<br />

ชนชาติปราศจากถิ่นฐานที่มั่นคง และความไมปลอดภัยในชีวิต สงผลทําใหอุดมการณของ<br />

ความรูสึกนึกคิดทางดานชาตินิยมในการปลดปลอยชนชาติของตนเองไดมีความอยูรอดปลอดภัย<br />

และเปนอิสระมากยิ่งขึ้น<br />

จากองคประกอบหลักทั้ง 3 สวนจะแสดงใหเห็นถึงการทําหนาที่ของโรงเรียนแหงชาติ<br />

ดอยไตแลงในการถายทอดอุดมการณชาตินิยมไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งองคประกอบทั้ง 3 สวน<br />

นั้นเปนเสมือนกลไกสําคัญที่ทํางานสอดคลองเชื่อมโยง เพื่อขับเคลื่อนอุดมการณชาตินิยมเหลานั้น<br />

ไปสูเด็กที่อยูภายใตการเรียนสอนของโรงเรียนแหงนี้


188<br />

6.1.3 จากผลผลิตของโรงเรียนสูผลสัมฤทธิ์ทางอุดมการณ<br />

ถึงแมวาปลายทางของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงจะยังคงไมสามารถเปดการเรียน<br />

การสอนไดถึงในระดับชั้นที่ 10 ทั้งนี้อาจจะเนื่องมาจากหลายสาเหตุปจจัยดังที่ไดกลาวไปแลวนั้น<br />

แตนั่นไมไดหมายความวาการทําหนาที่ของโรงเรียนแหงนี้ในฐานะของการเปนกลไกสําคัญใน<br />

การถายทอดอุดมการณชาตินิยมนั้นไมประสบความสําเร็จเลย ในขณะที่การทําหนาที่ของโรงเรียน<br />

แหงนี้ไดถายทอดอุดมการณชาตินิยมอยางตอเนื่อง และเปนกระบวนการที่เชื่อมโยงระหวาง<br />

โรงเรียน ชุมชน และการดําเนินชีวิตที่สัมผัสไดในประจําวันนั้น ไดมีสวนทําใหการถายทอด<br />

อุดมการณชาตินิยมเหลานั้นไดแวดลอมและตอกย้ําความเปนไทใหญที่มีอุดมการณชาติอยู<br />

ตลอดเวลา<br />

ผลผลิตของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้นที่เปนนักเรียนนั้น ไดมีทางเลือกในการที่จะ<br />

ทําหนาที่ของการตอบแทนบุญคุณของแผนดินไดหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ปจจัยสําคัญที่<br />

นอกเหนือจากความรูสึกนึกคิดที่สั่งสมกลายเปนอุดมการณของความเปนชาติแลว เงื่อนไขของ<br />

การไดรับการศึกษาของโรงเรียนแหงนี้ก็เปนกรอบคิดและการปฏิบัติอีกสวนหนึ่งที่มีสวนสําคัญใน<br />

การรับประกันถึงผลสัมฤทธิ์ของการถายทอดอุดมการณ<br />

ภายใตของการเปนนักเรียนที่อยูในระบบของโรงเรียนแหงนี้ นักเรียนทุกคนจะไดรับ<br />

การแบงประเภทของการไดรับการดูแล และความรับผิดชอบตอตนเองภายหลังการจบการศึกษา<br />

ออกเปน 2 รูปแบบ อยางที่เคยไดนําเสนอไปแลว คือ รูปแบบเด็กในความดูแล 75 % และเด็กใน<br />

ความดูแล 100 % ซึ่งประเภทดังกลาวไดถูกจํากัดเงื่อนไขและบทบาทหนาที่ของตนเองอยางชัดเจน<br />

จากสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS)<br />

จากระบบการดูแลนักเรียนแบบนี้เองที่ทําใหนักเรียนทุกคนจะตองมีสวนในการรับใช<br />

กองกําลังกูชาติไทใหญ ไมวาจะดวยรูปแบบไหนก็ตาม ซึ่งในอดีตนั้นเด็กนักเรียนทุกคนที่เรียนใน<br />

โรงเรียนแหงนี้จะตองไดเรียนใหจบจบระดับชั้นสูงสุดของที่นี่กอนจึงจะตองเขาไปทํางานใน<br />

ภาคสวนตางๆ ของสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS) แตในปจจุบันนั้นก็ไดมี<br />

การปรับเปลี่ยนระบบใหมใหทุกคนเขามาทํางานในสวนของสภาฯ ไดถึงแมวาจะไมไดจบใน<br />

ระดับชั้นสูงสุดก็ตาม ยกเวนบางหนวยงานเชนการเปนทหารจะตองมีอายุที่เกิน 18 ป ขึ้นไปจึงจะ<br />

เขามาทํางานในสวนนี้ได ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการรองรับสําหรับเด็กนักเรียนที่มีจํานวนมากที่ไมสามารถ<br />

เรียนจบไดในระดับชั้นที่สูง ซึ่งก็มาจากหลากหลายสาเหตุ เชน ความไมพรอมสวนบุคคล ความไม<br />

มั่นคงของสถานการณความเปนอยู รวมไปถึงการหลบหนีเพื่อความเปนอิสระของตนเอง


189<br />

ในสวนของเด็กที่ผานการเรียนในระดับชั้นที่สูงสุดของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้น<br />

ก็มีทางเลือกในการที่จะไดรับโอกาสในการเรียน และทํางาน ในระดับที่สูงขึ้นไปเทาที่<br />

ความสามารถขอเด็กคนนั้นจะทําได ซึ่งในสวนของการเรียนนั้นถึงแมวาระดับชั้นที่ 10 ของ<br />

โรงเรียนแหงนี้จะยังไมมี แตเด็กนักเรียนก็มีโอกาสในการไปศึกษายังระดับที่สูงขึ้นในระบบของ<br />

โรงเรียน SSSNY และโรงเรียนตามแนวตะเข็บชายแดนไทยพมา ทั้งนี้จะตองผานการคัดเลือกจาก<br />

โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง และสถานที่จะไปศึกษาตอนั้นๆ เพื่อเปนการคัดกรองเด็กนักเรียนที่มี<br />

ความรูความสามารถที่ตรงวัตถุประสงคของการศึกษาตอ และการกลับมาทําประโยชนตอ<br />

ประเทศชาติตอไป<br />

ในขณะที่การทํางานในภาคสวนตางๆ ของสภาฯ และการศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น<br />

เพื่อเปนตัวแทนของนักเรียนคนอื่นๆ เพื่อที่จะนําวิชาความรูเหลานั้นกลับมาทําประโยชนใหกับ<br />

ประเทศชาตินั้น จะเปนตัวรับประกันถึงผลสัมฤทธิ์ในเชิงของปริมาณ และคุณภาพของการถายทอด<br />

อุดมการณในโรงเรียนแหงนี้แลว แตในอีกดานหนึ่งของผลสัมฤทธิ์ในเชิงของความรูสึกนึกคิดหรือ<br />

ความสํานึกในความเปนชนชาติ หรือชาติก็ไดปรากฏไดอยางชัดเจนที่ฝงรากหยั่งลึกอยูในระดับ<br />

จิตใจของผูคนและเด็กนักเรียนที่อยูในระบบของการศึกษาในโรงเรียนแหงนี้<br />

จากกรณีตัวอยางที่ผูศึกษาไดยกขึ้นมาเปนกรณีศึกษาในบทที่ผานมา จะทําใหรับรูถึง<br />

ความรูสึกของเด็กนักเรียนทั้ง 2 คนที่แสดงไดวาอุดมการณของวามเปนชาตินั้นไดถูกผสมกลมกลืน<br />

ไดอยางแนบเนียน เพื่อที่จะทําใหคนๆ หนึ่งไดนําเอาเรื่องของชาติ บานเมือง และผูคนที่<br />

นอกเหนือจากตัวเองเขามาเปนสวนหนึ่งของความรูสึกของตน นอกจากนี้ในสวนของบุคคลากร<br />

อื่นๆ ที่แวดลอมก็เปนตัวกระตุนใหความรูสึกดังกลาวไดเขมขนมากขึ้น ทําใหเปนสวนเติมเต็มให<br />

กันและกัน<br />

นอกจากนี้เราก็คงจะปฏิเสธไมไดวายังคงมีคนจํานวนหนึ่ง รวมไปถึงเด็กนักเรียนที่เคย<br />

อยูในระบบของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงนั้น ไดละทิ้ง หลบหนี และออกจากระบบของการดูแล<br />

ของกองกําลังกูชาติไทใหญ ไมวาจะเปนทั้งทางดานของบุคคลากรทางการศึกษา และเด็กนักเรียน<br />

เอง แตในทางกลับกันนั้นแทที่จริงแลวอุดมการณของความเปนคนในชนชาติก็ไมสามารถที่จะสลัด<br />

ใหหลุดพนกับบทบาทหนาที่และความเปนคนไทใหญได ซึ่งผูศึกษาไดพบวากลุมบุคคลเหลานั้นก็<br />

ยังคงทําหนาที่ในการรักษาวัฒนธรรมประเพณี อัตลักษณ และการทําคุณประโยชนใหกับความเปน<br />

ชาติบานเมืองของตนเองไดอยางเหมาะสมกับสถานของตนเอง เชน การเขาไปทํางานในภาคสวน<br />

ขององคกรอิสระที่ทํางานเพื่อกลุมคนในรัฐฉาน และคนพลัดถิ่น การเปนนักวิชาการอิสระ หรือ<br />

แมกระทั่งการเปนผูสนับสนุนทางดานทรัพยากรและบุคคลในตางแดนดวย


190<br />

โดยสรุปแลวผูศึกษาไดแสดงใหเห็นถึงการจัดการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไต<br />

แลงนั้นไดผลิตสรางอุดมการณชาตินิยมแบบวัฒนธรรมผานเด็กนักเรียนที่อยูในระบบการศึกษา<br />

ของโรงเรียนแหงนี้ โดยมีปจจัยสําคัญหลัก คือ หลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน และบริบทของ<br />

โรงเรียน เปนตัวขับเคลื่อนใหการทําหนาที่ของโรงเรียนในฐานะของการเปนกลไกในการถายทอด<br />

อุดมการณชาตินิยมใหทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นในระบบและรูปแบบการจัด<br />

การศึกษาของโรงเรียนแหงนี้ภายใตของโครงสรางเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน (RCSS)<br />

เพื่อตอบสนองอุดมการณชาตินิยมในการกูชาติใหกับคนไทใหญบนผืนแผนดินรัฐฉานตอไป<br />

ดังคํากลาวของพันเอกเจายอดศึก ผูนําสูงสุดกองกําลังกูชาติที่วา<br />

6.2 ขอเสนอแนะ<br />

“ปจจุบันสถานการณโลกเปลี่ยนแปลงไป การรบตองควบคูไป<br />

กับการเมืองอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได ฉะนั้น การศึกษาจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะ<br />

พัฒนาชนชาติไทใหญใหทัดเทียมกับอารยประเทศ ทําใหสามารถคิดและ<br />

วางแผน เพื่อสูเปาหมายชัยชนะอันยาวไกลได นอกจากนี้เราจัดงานตางๆขึ้น<br />

เพื่อใหเด็กไดเรียนรูและรูจักประเพณีของไทใหญ วัฒนธรรมไทใหญเปน<br />

สายเลือดของประชาชน หากกูชาติไดแตแผนดินกลับคืนมา แตวัฒนธรรม<br />

ถูกทําลายหมดสิ้น คนไทใหญไมรูจัก ไมมีวัฒนธรรมของตนเอง ไมเหลือ<br />

ความเปนไทใหญอยูในหัวใจเด็กของเรา มันก็ไมมีประโยชนอะไร” 1<br />

การศึกษาของผูศึกษาในครั้งนี้ ยังคงมีเนื้อหาของหลักสูตรอื่นๆ ที่ไดบรรจุใหมีการเรียน<br />

การสอนในโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง ที่ไมไดนํามาเปนปจจัยในการวิเคราะหในการศึกษาครั้งนี้<br />

ซึ่งเนื้อหาของหลักสูตรเหลานั้น มีความนาสนใจในการศึกษาเพื่อถอดระบบความคิดของผูเขียน<br />

หลักสูตร หรือปจจัยหนุนเสนริมที่ทําใหการถายทอดอุดมการณชาตินิยมของไทใหญมี<br />

ความนาสนใจมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากการศึกษาเอกสารที่เปนเอกสารภาษาไทใหญนั้นผูศึกษา<br />

ซึ่งเปนคนที่ไมใชเจาของภาษาอยางแทจริงนั้น มีขอจํากัดในดานของการถายทอด และถอดองค<br />

ความรูที่อยูภายใตขอความที่เปนภาษาไทใหญเหลานั้นออกมาไดยาก และอาจจะใชเวลาที่มากกวา<br />

เจาของภาษา<br />

1 พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks: 2550, หนา 99.


191<br />

เพื่อเปนการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ขอมูลของผูที่ศึกษาในครั้งนี้อาจจะเปนสวนหนึ่ง<br />

ของขอมูลที่เปนการทําความเขาใจในระบบการศึกษาของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงแหงนี้เทานั้น<br />

ซึ่งยังคงมีอีกหลายๆ โรงเรียนที่อยูภายใตการดูแลของโครงสรางสภาเพื่อการกอบกูเอกราชรัฐฉาน<br />

(RCSS) อีกหลายโรงเรียน ซึ่งอาจจะมีระบบและรูปแบบในการจัดการเรียนของระบบการศึกษาที่<br />

คลายคลึงหรือแตกตางไปในรายละเอียด ทั้งนี้ก็ตองพิจารณาจากบริบทของโรงเรียนเหลานั้นเปน<br />

สําคัญ ซึ่งผูศึกษาคิดวาก็เปนอีกประเด็นหนึ่งที่นาสนใจ และควรที่จะมีการศึกษาในเชิงลึก เพื่อเปน<br />

การศึกษาเปรียบเทียบในการที่จะทําใหเห็นภาพของการถายทอดอุดการณชาตินิยมไทใหญที่มีความ<br />

เหมือนหรือแตกตางกันอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ก็ยังจะเปนการสะทอนมุมมองของผูศึกษาในฐานะของ<br />

คนภายนอกที่อาจจะมีสวนชวยในการสนับสนุนหรือปรับปรุงระบบการจัดการศึกษาของคนไท<br />

ใหญตอไป


บรรณานุกรม<br />

เอกสารภาษาไทย<br />

กฤตยา อาชวนิจกุล, ทรีส โคเอนท และนิน นิน ไพน.เรื่องเพศ อนามัยเจริญพันธุและความรุนแรง:<br />

ประสบการณชีวิตของแรงงานอพยพจากประเทศพมา. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม<br />

มหาวิทยามหิดล. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล,2543.<br />

กาญจนา ละอองศรี.ลางฮูหยัง:ไทรูอะไร: วิเคราะหแบบเรียนสังคมศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการ<br />

อาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค, 2544.<br />

ชนิดา ชิตบัณฑิตย.การเรงผลิตประเพณีมวลชนในยุโรป 1870-1914 .ใน สังคมวิทยามานุษยวิทยา.<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2545.<br />

ชายชื้น คําแดงยอดไตย.แบบฝกอานและเขียนเริ่มตน หนังสือไตยในสําเนียงไทยกลาง หลักสูตร<br />

ระยะสั้น.ศูนยศิลปวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม,2535.<br />

ไชยันต รัชชกูล, “รัฐตามความหมายของทฤษฎีแนวความคิดแบบมารกซ ”.รัฐศาสตรสาร, คณะ<br />

รัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ปที่ 7 ฉบับที่ 3 ปรัชญาการเมือง, พ.ค.-ส.ค.,<br />

2524.<br />

ฐิรวุฒิ เสนาคํา.แนวคิดคนพลัดถิ่นกับการศึกษาชาติพันธุ. ใน ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ<br />

บรรณาธิการ. วาดวยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ. หนังสือรวมบทความจากการประชุม<br />

ประจําปทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติและชาติพันธุ: วิถีชีวิตและความหลากหลาย<br />

ทางชาติพันธุในโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. เอกสารวิชาการ<br />

ลําดับที่ 36,2547.<br />

ทวี สวางปญญางกูรและพระนันตา ฐานวโร.ตําราเรียนภาษาไทใหญ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2530.<br />

ธงชัย วินิจจกุล.คํานําเสนอ.ชาติไทย,เมืองไทย,แบบเรียนและอนุสาวรีย – วาดวยวัฒนธรรม,รัฐ,และ<br />

การปลุกจิตสํานึก.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน, 2538.<br />

ธีรยุทธ บุญมี.ชาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพฯ: สายธาร, 2546.<br />

นิพัทธพร เพ็งแกว และนวลแกว บูรพวัฒน. ไทรบพมา.โอเพนบุค. กรุงเทพฯ,2549.<br />

นฤมล ทับจุมพล. “การใชสื่อในการสรางอุดมการณทางการเมือง : ศึกษาจากบทเพลงของทาง<br />

ราชการ(พ.ศ.2475-พ.ศ.2530)” , วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2531.


193<br />

นิธิ เอียวศรีวงศ “ชนชาติไทยและการเมืองไทยในแบบเรียนปฐมศึกษา” ใน ชาติไทย เมืองไทย<br />

แบบเรียน และอนุสาวีย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2538.<br />

นันทริยา (ลําเจียกเทศ) สาเอี่ยม.“ลองไต” ในหนังสือแบบเรียนไทใหญ” ใน สรัสวดี อองสกุลและ<br />

โยซิยูกิ มาซูฮารา,บรรณาธิการ. การศึกษาประวัติศาสตรและวรรณกรรมของกลุมชาติพันธุ<br />

ไท: Studies of History and Literature of TAI Ethnic groups. หนังสือรวมผลงานจาก<br />

การประชุมนานาชาติ “ไทศึกษา” โดย สํานักสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

และมูลนิธิโตโยตา วันที่ 22 – 23 มีนาคม 2544 ณ โรงแรมเชียงใหมออคิด อําเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม. มูลนิธิโตโยตา สนับสนุนการพิมพ, 2544.<br />

บุญชวย ศรีสวัสดิ์.คนไทในพมา. กรุงเทพฯ, 2503.<br />

บรรจบ พันธุเมธา.ไปสอบคําไทย. โครงการเผยแพรเอกลักษณไทย,2522.<br />

ประคอง นิมมานเหมินทรและเรืองวิทย ลิ ่มปนาท, บรรณาธิการ.คนไทใตคง: ไทใหญในยูนนาน.<br />

สถาบันไทยคดีศึกษา ฝายวิจัย จุฬาลงกรณ – มหาวิทยาลัยและสํานักงานคณะกรรมการ<br />

วัฒนธรรมแหงชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2538.<br />

ปนแกว เหลืองอรามศรี, บรรณาธิการ,สังคมศาสตร ขามพรมแดน. วารสารทางวิชาการ<br />

คณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม ปที่ 15 ฉบับที่ 1/2545,2545.<br />

ปนแกว เหลืองอรามศรี.“รางกายอันแปลกแยก ชาติอันรุนแรง และการเคลื่อนไหวขามชาติของ<br />

ผูหญิงไทใหญ” บทความเสนอในงานประชุมทางวิชาการครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไรอคติ<br />

ชีวิตไรความรุนแรง จัดโดย ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร(องคการมหาชน) วันที่ 23 –25<br />

มีนาคม 2548,2548.<br />

พิพัฒน พสุธารชาติ. รัฐกับศาสนา. กรุงเทพฯ: สยาม, 2545.<br />

พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว,นวลแกว บูรพวัฒน. กอนตะวันฉาย “ฉาน”. Openbooks:<br />

2550.<br />

พันเอกเจายอดศึก,นิพัทธพร เพ็งแกว บรรณาธิการ. บันทึกจากสนามรบ.สํานักพิมพศยาม,2548.<br />

ไมปรากฏผูแตง.Memories of Displacement: The poetry and Prejudice of Dwelling. เอกสารอัด<br />

สําเนา. หนา 115 –137.<br />

เรณู อรรถฐาเมศร. “ประเพณีพิธีกรรมชาวไทใหญบานใหมหมอกจาม” ใน ฉลาดชาย รมิตา<br />

นนท, วิระดา สมสวัสดิ์และเรณู วิชาศิลป, บรรณาธิการ. ไท; TAI. เชียงใหม: โรงพิมพมิ่ง<br />

เมือง, 2541.<br />

วารุณี โอสถารมณ. “แบบเรียนไทยกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต “เพื่อนบานของเรา” ภาพสะทอนเจต<br />

คติอุดมการณชาตินิยมไทย”, ใน ลาวฮูหยัง-ไทยรูอะไร : วิเคราะหแบบเรียนสังคมศึกษา.


194<br />

กาญจนา ละอองศรี.(บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : โครงการอาณาบริเวณศึกษาภูมิภาค, 2544.<br />

วาสนา ละอองปลิว. “ความเปนชายขอบและการสรางพื้นที่ทางสังคมของคนพลัดถิ่น: กรณีศึกษา<br />

ชาวดาระอั้งในอําเภอเชียงดาว”. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา<br />

สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม,2546.<br />

วาสนา ละอองปลิว. “ปฏิสัมพันธของแรงงานขามชาติในพื้นที่ทาเรือเชียงแสนในบริบทสี่เหลี่ยม<br />

เศรษฐกิจ”. เอกสารประกอบการประชุมประจําปทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรม<br />

ไรอคติ ชีวิตไรความรุนแรง วันที่ 23 – 25 มีนาคม 2548. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิริน<br />

ธร,2548<br />

วันดี สันติวุฒิเมธี. “กระบวนการสรางอัตลักษณทางชาติพันธุของชาวไทใหญชายแดนไทย – พมา:<br />

กรณีศึกษาหมูบานเปยงหลวง อําเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม”. วิทยานิพนธสังคมวิทยา<br />

และ มานุษยวิทยามหาบัณฑิต(มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2545<br />

วนัส ปยะกุลชัยเดช, อุดมการณแบบมารกซิสต : จากการปกปด สูสิ่งเลื่อนลอย จนถึงวิทยาศาสตร,<br />

พัฒนาการของมโนทัศนอุดมการณจากมารกซถึงเลนิน. รัฐศาสตรสาร 26,2 (2548) :<br />

131 -249.<br />

ศูนยขาวสาละวิน, สาละวินโพสต. ฉบับที่ 22 (1 เมษายน -15 พฤษภาคม 2548), 2548.<br />

สมเกียรติ วันทะนะ, บันทึกการอภิปราย เรื่อง การใช Patron-client model ในการศึกษาสังคมไทย<br />

กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2524.<br />

สมปอง ไตตุมแกนและฉัตรทิพย นาถสุภา ,แปล. ประวัติศาสตรไทใหญ(พื้นไทตอนกลาง).<br />

กรุงเทพฯ: โครงการประวัติศาสตรสังคมและวัฒนธรรมชนชาติไท สํานักงานกองทุน<br />

สนับสนุนการวิจัย(สกว.), 2544<br />

สมพงศ วิทยศักดิ์พันธุ.การศึกษาเกี่ยวกับภาษาและอักษรไทใหญ(ชาน).สํานักงานวัฒนธรรม<br />

แหงชาติ,2538.<br />

สมพงศ วิทยศักดิ์พันธุ.ประวัติศาสตรไทใหญ. กรุงเทพฯ: โครงการประวัติศาสตรสังคมและ<br />

วัฒนธรรมชนชาติไท สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.), 2544.<br />

สมสวัสดิ์และเรณู วิชาศิลป, บรรณาธิการ. ไท. เชียงใหม: โรงพิมพมิ่งเมือง, 2541.<br />

สุมิตร ปติพัฒน,รศ. และคณะ.ชุมชนไทใหญในพมาตอนเหนือ: รัฐฉานตอนใต ภาคมัณฑะเลย<br />

และคําตี่หลวง. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2545.<br />

สุรสม กฤษณะจูฑะ.สิทธิของผูพลัดถิ่น : กรณีศึกษาชาวไทใหญจากประเทศพมา. กรุงเทพฯ.<br />

งานวิจัยชุดโครงการการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสใน


195<br />

สังคมไทย.เอกสารอัดสําเนา”, 2546.<br />

สุภางค จันทวานิช, เปรมใจ วังศิริไพศาล และสมาน เหลาดํารงชัย.การยายถิ่นเขามาทํางานและการ<br />

ถูกหลอกลวงของแรงงานตางชาติในประเทศไทย,โครงการวิจัย. มูลนิธิศุภนิมิตแหง<br />

ประเทศไทย รวมกับ ศูนยวิจัยการยายถิ่นแหง – เอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย, 2548.<br />

หทัยรัตน มั่นอาจ. “การสรางอุดมการณชาตินิยมผานการศึกษาภาคบังคับระหวางป ค.ศ. 1975-<br />

2003” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม,<br />

2549.<br />

องคการมนุษยธรรมชายแดนไทย-พมา.การพลัดถิ่นฐานภายในประเทศในพมาแถบตะวันออก<br />

รายงานการสํารวจ พ.ศ. 2549.วนิดา เพรส, 2549.<br />

อดิศร เกิดมงคลและบุษยรัตน กาญจนดิษฐ. แรงงานขามชาติจากประเทศพมา: การสถาปนาที่<br />

วางริมขอบของสังคมไทย. บทความในเวทีเสวนาเรื่อง แรงงานขามชาติกับกระบวนการทํา<br />

ใหเปนชายขอบ วันที่ 19 ธันวาคม 2547 จัดโดยปวยเสวนาคารและมูลนิธิรักษไทย, 2547.<br />

อรัญญา ศิริผล. “คนพลัดถิ่นกับการกลายเปนสินคา : ประสบการณชีวิตของชุมชนไทใหญกับ<br />

การคาแรงงานในมิติทางสังคมวัฒนธรรมบริเวณชายแดนไทย – พมา”. รายงานวิจัย<br />

โครงการ “อํานาจ พื้นที่และอัตลักษณทางชาติพันธุ: การเมืองเชิงวัฒนธรรมของรัฐชาติใน<br />

สังคมไทย”. สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). เอกสารอัดสําเนา,<br />

2548.<br />

อรัญญา ศิริผล.“ระหวางเสนทางชีวิตพลัดถิ่น: ชุมชมไทใหญกับการคาแรงงานในมิติทางสังคม<br />

วัฒนธรรมบริเวณพรมแดนไทย – พมา” เอกสารประกอบการประชุมประจําปทาง<br />

มานุษยวิทยาครั้งที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไรอคติ ชีวิตไรความรุนแรง วันที่ 23 – 25 มีนาคม<br />

2548. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร,2548.<br />

อานันท กาญจนพันธุ.สถานภาพการวิจัยพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมไทใหญ. คณะ<br />

สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เอกสารอัดสําเนา, 2541.<br />

หลุย อันธูแซร.อุดมการณและกลไกทางอุดมการณของรัฐ. กาญจนา แกวเทพ แปล. กรุงเทพฯ :<br />

สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529.


196<br />

เอกสารภาษาอังกฤษ<br />

Chao Tzang Yawnghwe, The Shan of Burma: Memoirs of a Shan Exile, Singapore: Institute<br />

of Southeast Asian Studies,1987.<br />

Cunningham, W.G., and Cordeiro, P.A.Educational Administration: A Problem-Based Approach.<br />

Boston: Allyn and Bacon.<br />

Cushing, J.N. Element Handbook of the Shan Language. Rangoon,1880.<br />

Chamberlain, James R . 1972. “The Origin of the Southwestern Tai”. Bulletin des<br />

Amis Du Royaume Lao. No. 7-8 Premiere et Deuxeme semester, 2000.<br />

________. “A New Look at the History and Classification of the Languages” Studies in Tai<br />

Linguistics in Honor of William J . Gedney. Edited by Jimmy G Harris and James<br />

R. Chamberlain. Bangkok,1975.<br />

Hall, Stuart.“Cultural Identity and Diaspora.” Jonathan Rutherford (ed.), Identity: Community,<br />

Culture, Difference, London: Lawrence & Wishart, pp. 222 – 37 in Steven Vertovec<br />

and Robin Cohen. Eds. 1999. Migration, Diasporas and Transnationalism.<br />

International library of studies on migration: 9. Cheltenham, UK and Northampton,<br />

MA, USA: Edward Elgar Publishing Limited,1990.<br />

Josef Silverstein, Burma Politics, New Jersey: Rutgers University Press,1980.<br />

Hoy, W.K., and Tarter, C.J. Administrators Solving the Problems of Practice: Decisimon-<br />

Making Concept, Case, and Consequences. Boston: AAllyn & Bacon,1995.<br />

Haywood,Andrew. Politicall Ideologies An Introduction. Second edition London: Machillan<br />

Press LTD.<br />

Razik, T.A., and Swanson, A.D.Fundamental Concepts of Educational Leadership. New<br />

Jersey : Merrill Prentice-Hall. , 1998,2001.<br />

Martin Smith, Burma : Insurgency and the Politics of Ethnicity, Dhaka : The University Press<br />

; Bangkok : White Lotus ; London : Zed Books Ltd., 1993.<br />

Martin Smith, Burma (Myanmar): The Time for Change, Minority Rights Group International,


197<br />

UK. 2002.<br />

Mary P.Callahan, “On time Warps and Warped Time : Lessons from Burma’s Democratic Era”<br />

in Burma : Perspective for a Democratic Era .Washington D.C. : Broooking<br />

Institution Press, 1998.<br />

Nonini, Donald M. “Shifting Identies, Positioned Imaginaries: Transnational Traversals and<br />

Reversals by Malatsian Chinese.” in Aihwa Ong and Donald Nonini M. edited.<br />

Ungrounded Empires:The cultural politics of modern chinese transnationalism.<br />

New York London: ROUTLEDGE,1997.<br />

Shan Human Rights Foundation (SHRF) and the Shan Women’s Action Network. License to<br />

Rape : The Burmese Regime’s Use of Sexual Violence in the Ongoing War in Shan<br />

State, Burma, Chiang Mai : SHRF and SWAN, 2002.<br />

Shan Women Action Network.Licenses to Rape, 2006.<br />

Silliman, Jael"Jewish diaspora through colonial spaces: negotiating identity and forging<br />

community". in Sonita and Esha Niyogi De Sarker edited Trans - status Subjects.<br />

Durham and London: DUKE University Press,2002.<br />

The Principal: Creative Leadership for Effective School. Boston: Allyn & Bacoon, 2001.<br />

Ubben, G.C.; Hughes, L.W.; and Norris, C.J.<br />

Steinberg, Burma : A Socialist Nation of Southeast Asia.<br />

UN Guiding Principles on Internal Displacement,1998.<br />

Young, Linda Wai Ling.Shan Chrestomathy : An Introduction to Tai Mau Language and<br />

Literature. Monograph Series No.28. Center for south and Southeast Asia<br />

Studies,University of California, Burkeley, 1989.<br />

เอกสารภาษาไทใหญ<br />

คณะกรรมการวัฒนธรรมและภาษาไทใหญ(S.C.E.C. = Shan Cultural and Education Committee).<br />

หนังสือแบบเรียนวิชาประวัติศาสตร ชั้น 3, 2547.


198<br />

i0fjikef;ZdifjtijvdufjvBm;ydifbpMbwB;/ ydkef;<br />

qefGomrf / 2004/<br />

_________หนังสือแบบเรียนวิชาประวัติศาสตร ชั้น 4, 2548.<br />

_________i0fjikef;ZdifjtijvdufjvBm;ydifbpMbwB;/ ydkef;<br />

qefGoDb/ 2005/<br />

_________หนังสือแบบเรียนวิชาภูมิศาสตร ชั้น 2, 2545.<br />

_________i0fjikef;ZdifjtijvdufjvBm;ydifbpMbwB;/ yx0Db<br />

qefGo.if/ 2005/<br />

_________หนังสือแบบเรียนวิชาภูมิศาสตร ชั้น 3, 2546.<br />

_________i0fjikef;ZdifjtijvdufjvBm;ydifbpMbwB;/ yx0Db<br />

qefGomrf/ 2005/<br />

_________หนังสือแบบเรียนวิชาภูมิศาสตร ชั้น 4, 2548.<br />

_________i0fjikef;ZdifjtijvdufjvBm;ydifbpMbwB;/ yx0Db<br />

qefGoDb/ 2005/<br />

ไมปรากฏผูแตง, หนังสือสถาบันอันศักดิ์สิทธิ์ 4 สถาบัน และหลักนําหกขอ, 2542.<br />

x.wfrswfjoDb,ldifj tvj vuf;erf;[luf;acMj/ 1999/<br />

เอกสาร ydlifc.wfbz.wfjyBm;ydifbpMb<br />

c.ifboDbn0fcdkef;qdkifjwB;(R.C.S.S.). ระบบออนไลน.<br />

จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/Book/School%20admin.pdf วันที่ 27 กันยายน<br />

2550.<br />

เอกสาร<br />

ydlifc.wfbz.wfjnkyfGydlifbz.if;irf;c.ifbc.ifboDbn0fcdkef;qdkifj<br />

wB;(R.C.S.S.). ระบบ<br />

ออนไลน. จายหนุมเคอ ปหยา แปล.<br />

http://www.taifreedom.com/Taifreedom/rcss_admini_structure/StructureOfRCSS_2008.<br />

pdf วันที่ 27 กันยายน 2550.


199<br />

สัมภาษณ<br />

สัมภาษณครูโองมหาน อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 10 เมษายน 2551.<br />

สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนรุนแรกที่เคยเรียนในสถานที่แหงนี้ วันที่ 9 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณเจามอนแสง อดีตผูอํานวยการโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลงในชวงป พ.ศ. 2543<br />

วันที่ 11 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณจายหนุมเคอ ปหยา อดีตนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

วันที่ 8 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณครูเคอแสน อดีตเลขาธิการแหง “สภาเพื่อการกอบกูรัฐฉาน” RCSS (Restoration Council<br />

of Shan State) อดีตผูอํานวยการโรงเรียนและผูเขียนหลักสูตร วันที่ 8 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณเด็กหญิงแสงมน นักเรียนในระดับชั้นที่ 4 ของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

วันที่ 12 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณครูจายหญา ครูผูสอนวิชาประวัติศาสตรของโรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

วันที่ 11 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณครูหลาวหอม ครูประจําวิชาภูมิศาสตร โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง วันที่ 9 เมษายน 2551<br />

สัมภาษณเด็กชายจายทุน อายุ 17 ป เด็กนักเรียนหอพักชาย โรงเรียนแหงชาติดอยไตแลง<br />

วันที่ 9 เมษายน 2551


ประวัติผูเขียน<br />

ชื่อ นายประวิทย วงคเปง<br />

วัน เดือน ปเกิด 30 เมษายน 2524<br />

ประวัติการศึกษา<br />

สําเร็จการศึกษาประถมศึกษาจาก โรงเรียนบานกองกอย<br />

ปการศึกษา 2536<br />

สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนหองสอนศึกษา<br />

ปการศึกษา 2541<br />

สําเร็จการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต(บานและชุมชน)<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปการศึกษา 2545<br />

ประวัติการทํางาน ผูประสานงานโครงการเสริมสรางความเขมแข็งโรงเรียนและชุมชน<br />

ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย (J&J-ECD)<br />

ผูประสานงานแผนงานทักษะชีวิตเพื่อการศึกษาที่มีคุณภาพ (LSQE-PCF)<br />

มูลนิธิรักษเด็ก (The Life Skills Development Foundation)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!