๑๑) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในรอบปี พ.ศ.2551-2552

๑๑) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในรอบปี พ.ศ.2551-2552 ๑๑) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในรอบปี พ.ศ.2551-2552

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
08.02.2014 Views

ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำ และแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในรอบปี พ.ศ. 2551-2552 Relationships between Water Qualities and Phytoplankton at Coastal Prachuap Khiri Khan Bay, Prachuap Khiri Khan Province in 2008-2009 วาสนา อากรรัตน์*, วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และลิขิต ชูชิต สถานีวิจัยประมงคลองวาฬ ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Wasana Arkronrat*, Vutthichai Oniam and Likhit Chuchit Klongwan Fisheries Research Station, Academic Supporting Division, Faculty of Fisheries, Kasetsart University. บทคัดย่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยเก็บ ตัวอย่างตามฤดูกาลในรอบปี ได้แก่ ช่วงฤดูฝนเก็บตัวอย่างในเดือนสิงหาคม 2551 ฤดูหนาวเก็บตัวอย่างในเดือนธันวาคม 2551 และฤดูร้อน เก็บตัวอย่างในเดือนเมษายน 2552 ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของคุณภาพน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำหนด และพบแพลงก์ตอนพืช 3 ดิวิชั่น แบ่งออกเป็นดิวิชั่น Cyanophyta 2 สกุล ดิวิชั่น Chlorophyta 2 สกุล และดิวิชั่น Chromophyta 53 สกุล รวม 57 สกุล โดยแพลงก์ตอนพืชที่เป็นสกุลเด่น ได้แก่ Chaetoceros, Rhizosolenia และ Thalassioneme ตามลำดับ ส่วนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับปริมาณแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด พบว่า แพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่ง อ่าวประจวบฯ มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณซิลิเกต (r = 1.00, P

ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำ และแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในรอบปี พ.ศ. 2551-<strong>2552</strong><br />

Relationships between Water Qualities and Phytoplankton at Coastal Prachuap Khiri Khan Bay,<br />

Prachuap Khiri Khan Province in 2008-2009<br />

วาสนา อากรรัตน์*, วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และลิขิต ชูชิต<br />

สถานีวิจัยประมงคลองวาฬ ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

Wasana Arkronrat*, Vutthichai Oniam and Likhit Chuchit<br />

Klongwan Fisheries Research Station, Academic Supporting Division, Faculty of Fisheries, Kasetsart University.<br />

บทคัดย่อ<br />

ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยเก็บ<br />

ตัวอย่างตามฤดูกาลในรอบปี ได้แก่ ช่วงฤดูฝนเก็บตัวอย่างในเดือนสิงหาคม 2551 ฤดูหนาวเก็บตัวอย่างในเดือนธันวาคม 2551 และฤดูร้อน<br />

เก็บตัวอย่างในเดือนเมษายน <strong>2552</strong> ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของคุณภาพน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน<br />

ที่กำหนด และพบแพลงก์ตอนพืช 3 ดิวิชั่น แบ่งออกเป็นดิวิชั่น Cyanophyta 2 สกุล ดิวิชั่น Chlorophyta 2 สกุล และดิวิชั่น<br />

Chromophyta 53 สกุล รวม 57 สกุล โดยแพลงก์ตอนพืชที่เป็นสกุลเด่น ได้แก่ Chaetoceros, Rhizosolenia และ Thalassioneme<br />

ตามลำดับ ส่วนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับปริมาณแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด พบว่า แพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่ง<br />

อ่าวประจวบฯ มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณซิลิเกต (r = 1.00, P


S P<br />

S 2 P 2<br />

บทนำ<br />

วัสดุอุปกรณ์และวิธีการวิจัย<br />

ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความสำคัญต่อการพัฒนา ขอบเขตการศึกษา<br />

66<br />

วัสดุอุปกรณและวิธีการวิจัย<br />

ประเทศเป็นอย่างยิ่ง นอกจากจะเป็นแหล่งทำการประมงที่สำคัญ ศึกษาสภาพทั่วไปของคุณภาพน้ำ ชนิด และปริมาณของ<br />

แล้ว ยังเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 67 แหล่งท่องเที่ยว ขอบเขตการศึกษา ซึ่งผลจากการ แพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ โดยดำเนินการเก็บ<br />

ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง 68 โดยขาดการควบคุม ศึกษาสภาพทั่วไปของคุณภาพน้ํา ตัวอย่างทุก 4 เดือน หรือตามฤดูกาลในรอบปี ชนิด และปริมาณของแพลงกตอนพืชบริเวณ<br />

คือ ฤดูฝนเก็บ<br />

และการจัดการที่ดีย่อมจะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝั่ง ตัวอย่างในช่วงเดือนสิงหาคม 2551 ฤดูหนาวเก็บตัวอย่างในช่วง<br />

69 ประจวบฯ โดยดําเนินการเก็บตัวอยางทุก 4 เดือน หรือตามฤดูกาลในรอบป คือ ฤดูฝนเก็บตัว<br />

โดยเฉพาะผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทะเลที่จัดว่าเป็นสิ่งแวดล้อม เดือนธันวาคม 2551 และฤดูร้อนเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนเมษายน<br />

70<br />

ที่สำคัญต่อการทำการประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เดือนสิงหาคม รวมทั้ง 2551 ฤดูหนาวเก็บตัวอยางในชวงเดือนธันวาคม <strong>2552</strong> ด้วยการกำหนดสถานีเก็บตัวอย่างให้ครอบคลุมบริเวณ<br />

2551 และฤดูรอนเก็บตัวอยาง<br />

การท่องเที่ยว หรือการนันทนาการต่างๆ 71 เมษายน <strong>2552</strong> ดวยการกําหนดสถานีเก็บตัวอยางใหครอบคลุมบริเวณอาวประจวบฯ อ่าวประจวบฯ ซึ่งได้กำหนดไว้ 3 ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ซึ่งได<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีพื้นที่ติดชายฝั่ง<br />

72 สถานี ตามลักษณะการใชประโยชนที่แตกตางกัน ที่แตกต่างกัน ได้แก่ สถานีที่ ไดแก 1 (Sสถานีที่ 1 ) บริเวณเขตชุมชนเมือง<br />

1 (S 1 ) บริเวณเขตชุมชนเมือง<br />

ทะเล มีชายหาดยาวตลอดทั้งจังหวัดโดยเริ่มตั้งแต่อำเภอหัวหิน และสะพานปลา สถานีที่ 2 (S 2 ) บริเวณเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ<br />

73 ปลา สถานีที่ 2 (S<br />

ไปจนถึงอำเภอบางสะพานน้อย และในเขตอำเภอเมืองมีลักษณะเด่น 2 ) บริเวณเขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง หรือบริเวณปากคลองบางนางรม และส<br />

ชายฝั่ง หรือบริเวณปากคลองบางนางรม และสถานีที่ 3 (S 3 )<br />

คือ ชายหาดประกอบด้วยอ่าว 374<br />

อ่าว บริเวณเขตชุมชนชาวประมงพื้นบาน ได้แก่ อ่าวน้อย อ่าว บริเวณเขตชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน โดยในแตละสถานีจะกําหนดจุดเก็บตัวอยางน้ํา โดยในแต่ละสถานีจะกำหนด 2 จุดๆ<br />

ประจวบคีรีขันธ์ และอ่าวมะนาว โดยอ่าวประจวบฯ 75 จุดเก็บตัวอยางน้ําใกลฝงซึ่งหางจากชายฝงประมาณ จัดได้ว่าเป็น จุดเก็บตัวอย่างน้ำ 2 จุดๆ ละ 2 ซ้ำ 100 คือ เมตร จุดเก็บตัวอย่างน้ำใกล้ฝั่ง<br />

(P 1 ) และจุดเก็บตัวอยางน้ําไกล<br />

แหล่งทำการประมงที่สำคัญแหล่งหนึ่งของจังหวัด ซึ่งปัจจุบันได้มี ซึ่งห่างจากชายฝั่งประมาณ 100 เมตร (P 1 ) และจุดเก็บตัวอย่างน้ำ<br />

76 จากชายฝงประมาณ 1,000 เมตร (P 2 ) (ภาพที่ 1)<br />

การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวประจวบฯ โดยพัฒนา ไกลฝั่งซึ่งจะห่างจากชายฝั่งประมาณ 1,000 เมตร (P 2 ) (ภาพที่ 1)<br />

77<br />

โครงสร้างให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทำให้เกิดการขยายตัวทางด้าน<br />

เศรษฐกิจ และชุมชนเมือง ซึ่งอาจจะส่งผลให้สภาพแวดล้อมบริเวณ<br />

ชายฝั่งเปลี่ยนแปลงไป โดยการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำย่อม<br />

จะมีผลกระทบต่อแพลงก์ตอนพืชที่ถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตขั้นต้นใน<br />

S 3 P 1<br />

ระบบห่วงโซ่อาหาร และเป็นตัวเริ่มต้นของการถ่ายทอดพลังงาน<br />

ในระบบนิเวศในแหล่งน้ำ (Burford & Rothlisberg, 1999) ซึ่ง<br />

S 2 P 1<br />

3 2<br />

สุดท้ายก็จะส่งผลออกมาในรูปปริมาณผลผลิตทางการประมง ดังนั้น<br />

หากเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชนิด และปริมาณของแพลงก์ตอนพืช<br />

S 1 P 1 S 1 P 2<br />

ที่มีสาเหตุมาจากการที่คุณภาพน้ำทะเลมีการเปลี่ยนแปลงไป ย่อม<br />

จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในทะเลด้วย<br />

(Boney, 1975) เช่น การเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี (red<br />

tide) อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณธาตุอาหารจนก่อให้เกิด<br />

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณชายฝั่งทะเล 78 เป็นต้น (สมภพ รุ่งสุภา<br />

และคณะ, 2546; Turner et al., 2003) 79<br />

ภาพที่ 1 แสดงจุดเก็บตัวอย่างน้ำ และแพลงก์ตอนพืชบริเวณ<br />

ดังนั้น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับ<br />

80 ภาพที่ 1 แสดงจุดเก็บตัวอยางน้ํา ชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ และแพลงกตอนพืชบริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหว<br />

แพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ จึงมีความจำเป็น<br />

ด้วยเหตุนี้การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพน้ำ<br />

81<br />

ประจวบคีรีขันธ การเก็บ และวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ<br />

องค์ประกอบชนิด และปริมาณของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่ง<br />

82<br />

ทำการเก็บตัวอย่างน้ำทะเลที่ระดับความลึก 1 เมตร โดย<br />

อ่าวประจวบฯ ในช่วงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล<br />

83 การเก็บ รวมไปถึงศึกษาความ และวิเคราะหตัวอยางน้ํา ใช้กระบอกเก็บน้ำแบบ Kemmerer บันทึกข้อมูลคุณภาพน้ำ<br />

สัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับปริมาณแพลงก์ตอนพืชรวม ทั้งนี้เพื่อ บางประการในภาคสนาม ได้แก่ ความเค็มวัดด้วย Salinity<br />

84<br />

ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดทิศทางการอนุรักษ์<br />

ทําการเก็บตัวอยางน้ําทะเลที่ระดับความลึก<br />

และพัฒนา<br />

1 เมตร โดยใชกระบอกเก็บน้ําแบบ Kem<br />

Refractometer ยี่ห้อ Prima tech ความเป็นกรด-ด่างวัดด้วย pH<br />

พื้นที่บริเวณอ่าวประจวบฯ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็น<br />

85 ขอมูลคุณภาพน้ําบางประการในภาคสนาม meter ยี่ห้อ Cyber Scan ไดแก pH ความเค็มวัดดวย 11 อุณหภูมิ และปริมาณออกซิเจน<br />

Salinity Refractometer ยี่ห<br />

แนวทางในการรองรับกิจกรรมต่างๆ 86 ที่จะมีต่อไปในอนาคต<br />

ความเปนกรด-ดางวัดดวย ที่ละลายในน้ำวัดด้วย pH meter ยี่หอ Cyber DO meter Scan รุ่น pH YSI 11550A อุณหภูมิ และเก็บตัวอย่าง และปริมาณออกซิเจนท<br />

87 วัดดวย DO meter รุน YSI 550A และเก็บตัวอยางน้ําทะเลบางสวนมาวิเคราะหหาปริมาณแอ<br />

Wasana Arkronrat, Vutthichai Oniam and Likhit Chuchit / Burapha Sci. J. 17 (2012) 1 : 108-116 109<br />

88 ไตรท ไนเตรท ออรโธฟอสเฟต ซิลิเกต และคลอโรฟลล เอ ภายในหองปฏิบัติการ โดยวิธีการ


น้ำทะเลบางส่วนมาวิเคราะห์หาปริมาณแอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรท<br />

ออร์โธฟอสเฟต ซิลิเกต และคลอโรฟิลล์ เอ ภายในห้องปฏิบัติการ<br />

โดยวิธีการเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์จะเป็นไปตามวิธีมาตรฐาน<br />

สำหรับการวิเคราะห์น้ำ และน้ำเสีย (APHA AWWA and WPCF,<br />

2009)<br />

การเก็บ และวิเคราะห์ตัวอย่างแพลงก์ตอนพืช<br />

เก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืชบริเวณอ่าวประจวบฯ โดยการ<br />

เก็บน้ำทะเลที่ระดับความลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ปริมาตร<br />

20 ลิตร ด้วยการกรองผ่านถุงกรองแพลงก์ตอน (plankton net)<br />

ขนาดตา 22 ไมครอน นำน้ำตัวอย่างที่ได้เก็บใส่ขวดพลาสติกขนาด<br />

120 มิลลิลิตร และเก็บรักษาด้วยฟอร์มาลิน 4 เปอร์เซ็นต์ เพื่อนำมา<br />

ศึกษาองค์ประกอบชนิด และปริมาณของแพลงก์ตอนพืชในห้อง<br />

ปฏิบัติการ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์โดยใช้สไลด์นับแพลงก์ตอน<br />

(Sedgwick - Rafter Counting chamber) ขนาดความจุ 1 มิลลิลิตร<br />

(ลัดดา วงศ์รัตน์ และ โสภณา บุญญาภิวัตน์, 2546) โดยการจำแนก<br />

สกุลของแพลงก์ตอนพืชจะอ้างอิงจากลัดดา วงศ์รัตน์ (2542) และ<br />

ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี กรมประมง (2550)<br />

ส่วนปริมาณของแพลงก์ตอนพืชจะคำนวณตามวิธีของลัดดา<br />

วงศ์รัตน์ และ โสภณา บุญญาภิวัตน์ (2546) ดังนี้<br />

ปริมาณของแพลงก์ตอนพืช (หน่วยต่อลิตร) = AB/C<br />

A = ปริมาตรน้ำในขวดเก็บตัวอย่าง (มิลลิลิตร)<br />

B = ค่าเฉลี่ยของปริมาณแพลงก์ตอนที่นับได้ 1 สกุล ต่อ 1<br />

มิลลิลิตร<br />

C = ปริมาตรน้ำก่อนผ่านถุงกรอง (ลิตร)<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำ กับปริมาณ<br />

แพลงก์ตอนพืชทั้งหมดด้วยการหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบ<br />

เพียร์สัน (Pearson correlation) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS<br />

Statistic 17.0<br />

ผลการวิจัยและวิจารณ์ผล<br />

ผลการศึกษาคุณสมบัติของน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ<br />

ในรอบปี พ.ศ. 2551-<strong>2552</strong> พบว่า ค่าเฉลี่ยคุณภาพน้ำของแต่ละ<br />

สถานีมีค่าดังนี้ ความเค็มมีค่าอยู่ในช่วง 21.5-32.0 psu อุณหภูมิ<br />

มีค่าอยู่ในช่วง 26.9-31.5 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนที่<br />

ละลายในน้ำมีค่าอยู่ในช่วง 5.35-9.34 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเป็น<br />

กรด-ด่างมีค่าอยู่ในช่วง 7.80-8.17 ปริมาณแอมโมเนีย-ไนโตรเจน<br />

มีค่าอยู่ในช่วง 7.73-85.80 ไมโครกรัมต่อลิตร ไนไตรท์-ไนโตรเจน<br />

มีค่าอยู่ในช่วง 1.60-8.92 ไมโครกรัมต่อลิตร ไนเตรท-ไนโตรเจน<br />

มีค่าอยู่ในช่วง 4.52-9.81 ไมโครกรัมต่อลิตร ออร์โธฟอสเฟต<br />

มีค่าอยู่ในช่วง 3.22-15.21 ไมโครกรัมต่อลิตร ซิลิเกตมีค่าอยู่ในช่วง<br />

401.34-1160.43 ไมโครกรัมต่อลิตร และคลอโรฟิลล์ เอ มีค่า<br />

อยู่ในช่วง 0.47-1.94 ไมโครกรัมต่อลิตร<br />

เมื่อพิจารณาคุณภาพน้ำตามช่วงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล<br />

พบว่า ช่วงฤดูฝน (สิงหาคม 2551) ช่วงฤดูหนาว (ธันวาคม 2551)<br />

และช่วงฤดูร้อน (เมษายน <strong>2552</strong>) มีความเค็มเฉลี่ย 21.8±0.3,<br />

31.9±0.2 และ 30.3±0.4 psu อุณหภูมิเฉลี่ย 30.57±0.04,<br />

27.03±0.05 และ 31.47±0.06 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจน<br />

ที่ละลายในน้ำเฉลี่ย 5.85±0.37, 8.31±0.77 และ 6.91±0.52<br />

มิลลิกรัมต่อลิตร และค่าความเป็นกรด-ด่างเฉลี่ย 8.05±0.11,<br />

7.91±0.07 และ 7.99±0.05 ตามลำดับ (ภาพที่ 2) ส่วนผล<br />

ของปริมาณธาตุอาหาร ได้แก่ ปริมาณแอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรท<br />

ออร์โธฟอสเฟต และซิลิเกต พบว่า ช่วงฤดูฝนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ<br />

51.30±22.00, 3.99±0.79, 7.62±1.31, 9.68±3.14 และ<br />

689.95±296.72 ไมโครกรัมต่อลิตร ช่วงฤดูหนาวมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ<br />

59.42±27.79, 2.87±1.00, 5.88±1.30, 10.27±4.15 และ<br />

821.52±104.32 ไมโครกรัมต่อลิตร และช่วงฤดูร้อนมีค่าเฉลี่ย<br />

เท่ากับ 56.25±23.4, 5.57±2.08, 7.95±1.47, 5.63±2.03<br />

และ 509.80±58.51 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และพบว่า<br />

ช่วงฤดูฝนมีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ เฉลี่ยเท่ากับ 1.06±0.32<br />

ไมโครกรัมต่อลิตร ช่วงฤดูหนาวเท่ากับ 0.82±0.30 ไมโครกรัม<br />

ต่อลิตร และช่วงฤดูร้อนเท่ากับ 1.71±0.25 ไมโครกรัมต่อลิตร<br />

(ภาพที่ 3)<br />

การศึกษาชนิดของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งอ่าว<br />

ประจวบฯ ตามช่วงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในรอบปี พ.ศ.<br />

2551-<strong>2552</strong> พบว่า มีแพลงก์ตอนพืชจำนวน 57 สกุล 3 ดิวิชั่น<br />

โดยดิวิชั่น Cyanophyta (Blue-green algae) พบ 2 สกุล คือ<br />

Oscillatoria และ Richelia ดิวิชั่น Chlorophyta (Green<br />

algae) พบ 2 สกุล คือ Geminella และ Scenedesmus และดิวิชั่น<br />

Chromophyta พบ 53 สกุล (ตารางที่ 1) โดยในแต่ละช่วงฤดูกาล<br />

มีการแพร่กระจายของแพลงก์ตอนพืชแตกต่างกัน ดังนี้<br />

ในช่วงฤดูฝน (สิงหาคม 2551) พบแพลงก์ตอนพืชดิวิชั่น<br />

Cyanophyta จำนวน 2 สกุล ดิวิชั่น Chlorophyta จำนวน 2<br />

สกุล และดิวิชั่น Chromophyta จำนวน 53 สกุล รวมทั้งหมด<br />

57 สกุล โดยมีปริมาณแพลงก์ตอนพืชรวมเฉลี่ยเท่ากับ 9,152.80<br />

หน่วยต่อลิตร ซึ่งประกอบด้วยแพลงก์ตอนพืชกลุ่มสาหร่ายสีเขียว<br />

แกมน้ำเงิน (blue-green algae) ร้อยละ 5.48 กลุ่มสาหร่ายสีเขียว<br />

(green algae) ร้อยละ 0.003 กลุ่มไดอะตอม (diatom) ร้อยละ<br />

110<br />

วาสนา อากรรัตน์, วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และลิขิต ชูชิต / วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 17 (2555) 1 : 108-116


130 129<br />

131 130<br />

131<br />

เทากับ และพบวาชวงฤดูฝนมีปริมาณคลอโรฟลล 0.82±0.30 ไมโครกรัมตอลิตร และชวงฤดูรอนเทากับ เอ เฉลี่ยเทากับ 1.06±0.32 1.71±0.25 ไมโครกรัมตอลิตร (ภาพที่ ชวงฤดูหนาว 3)<br />

เทากับ 0.82±0.30 ไมโครกรัมตอลิตร และชวงฤดูรอนเทากับ 1.71±0.25 ไมโครกรัมตอลิตร (ภาพที่ 3)<br />

ปริมาณออกซิเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)<br />

พีเอช พีเอช<br />

10<br />

8<br />

6<br />

25<br />

139 139<br />

การศึกษาชนิดของแพลงกตอนพืชบริเวณชายฝงอาวประจวบฯ ตามชวงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล<br />

ความเค็ม อุณหภูมิ<br />

6<br />

แพลงกตอนพืชบริเวณชายฝงอาวประจวบฯ<br />

25<br />

39 139 139 139<br />

ตามชวงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล<br />

ความเค็ม<br />

ตามชวงการเปลี่ยนแป<br />

140 ในรอบป การศึกษาชนิดของแพลงกตอนพืชบริเวณชายฝงอาวประจวบฯ พ.ศ. พ.ศ. 2551-<strong>2552</strong> พบวา พบวา มีแพลงกตอนพืชจํานวน 57 57 สกุล สกุล 3 ดิวิชั่น 3 ตามชวงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล<br />

140<br />

โดยดิวิชั่น Cyanophyta (Blue-<br />

4<br />

บวา<br />

20<br />

40 มีแพลงกตอนพืชจํานวน ในรอบป 140 140 140 ในรอบป ในรอบป พ.ศ. 57 พ.ศ. สกุล พ.ศ. 32551-<strong>2552</strong> 4<br />

ดิวิชั่น โดยดิวิชั่น พบวา ส.ค. Cyanophyta 51 ธ.ค. 51 (Blue-<br />

57 57 สกุล<br />

เม.ย. สกุล 3 3 ดิวิชั่น 52 20<br />

57 โดยดิวิชั่น สกุล 3 ดิวิชั่น (Blue- โดยดิวิชั่น Cyanop<br />

141 green green algae) พ.ศ. พบ พบ 2 สกุล 2 สกุล พบวา คือ คือ Oscillatoria มีแพลงกตอนพืชจํานวน และ และ Richelia ดิวิชั่น 57 สกุล Chlorophyta 3 ดิวิชั่น โดยดิวิชั่น (Green algae) Cyanophyta พบ พบ 2 สกุล (Blue-<br />

141<br />

2 สกุล คือ คือ<br />

ือ 41 Oscillatoria green 141 และ 141 141 Richelia green algae) เดือน<br />

132<br />

green ดิวิชั่น algae) Chlorophyta พบ พบ 2 สกุล 2 สกุล คือ (Green คือ และ Richelia ดิวิชั่น Chlorophyta (Green algae) พบ<br />

ส.ค. algae) พบ<br />

51 และ 2 และ สกุล Richelia คือ<br />

ธ.ค. 51 ดิวิชั่น<br />

เม.ย. 52<br />

(Green algae) พบ พบ 2 สกุล 2 สกุล คือ คือ<br />

142 Geminella algae) และ พบ และ 2 Scenedesmus สกุล คือ Oscillatoria และดิวิชั่น และ Chromophyta Richelia ดิวิชั่น พบ พบ 53 Chlorophyta 53 สกุล สกุล (ตารางที่ (Green 1) 1) โดยในแตละชวงฤดูกาลมี<br />

algae) พบ 2 สกุล คือ<br />

142<br />

us 42 และดิวิชั่น 142 Chromophyta 142 133 142 Geminella 132<br />

ภาพที่ Geminella พบ 53 2 และ สกุล การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําบริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธในชวงฤดูฝน และ (ตารางที่ 1) โดยในแตละชวงฤดูกาลมี<br />

และดิวิชั่น เดือน<br />

Chromophyta พบ พบ 53 53 สกุล สกุล (ตารางที่ พบ 1) 1) 53 สกุล (ส.ค. (ตารางที่ 51) 1) โดยในแตละชว<br />

143 การแพรกระจายของแพลงกตอนพืชแตกตางกัน และ Scenedesmus และดิวิชั่น Chromophyta ดังนี้ ดังนี้ พบ 53 สกุล (ตารางที่ 1) โดยในแตละชวงฤดูกาลมี<br />

143<br />

ตอนพืชแตกตางกัน 43<br />

143 ภาพที่ 143 2 การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ในช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว (ธ.ค. 51) และชวงฤดูรอน (เม.ย. 52)<br />

(ส.ค. 51) ช่วงฤดูหนาว (ธ.ค. 51) และช่วงฤดูร้อน<br />

134 133 143 ดังนี้ การแพรกระจายของแพลงกตอนพืชแตกตางกัน ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําบริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธในชวงฤดูฝน ดังนี้ ดังนี้ ดังนี้<br />

144 ในชวงฤดูฝน (สิงหาคม 2551) พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น ดังนี้<br />

144<br />

Cyanophyta จํานวน 2 (ส.ค. 2 สกุล สกุล 51) ดิวิชั่น ชวง<br />

หาคม 44 2551) พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น 144 144<br />

(เม.ย. 52)<br />

135 134 144<br />

ฤดูหนาว Cyanophyta (ธ.ค. (สิงหาคม 51) และชวงฤดูรอน จํานวน 2551) 22551) สกุล (เม.ย. 52)<br />

จํานวน 2 2 Cyanophyta สกุล สกุล ดิวิชั่น จํานวน 2 ส<br />

145 Chlorophyta ในชวงฤดูฝน จํานวน (สิงหาคม 2 สกุล 2 สกุล และดิวิชั่น 2551) พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น Chromophyta จํานวน 53 53 สกุล Cyanophyta สกุล รวมทั้งหมด จํานวน 57 57 สกุล 2 สกุล สกุล โดยมีปริมาณ<br />

ดิวิชั่น<br />

145<br />

และดิวิชั่น 45<br />

Chromophyta 145 145 135 145 Chlorophyta จํานวน 53 สกุล จํานวน 80 รวมทั้งหมด 2 สกุล 2 สกุล และดิวิชั่น 57 สกุล โดยมีปริมาณ<br />

Chromophyta จํานวน 53 53 สกุล สกุล จํานวน 1000<br />

57 53 57 สกุล สกุล รวมทั้งหมด 57 สกุล โด<br />

146 แพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ จํานวน 2 สกุล และดิวิชั่น 9,152.80 Chromophyta หนวยตอลิตร จํานวน ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

53 สกุล รวมทั้งหมด 57 สกุล โดยมีปริมาณ<br />

146<br />

ากับ 46 9,152.80 146 146 หนวยตอลิตร 146 แพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ 80<br />

9,152.80 หนวยตอลิตร แอมโมเนีย<br />

800<br />

1000<br />

ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

60<br />

9,152.80 147 เขียวแกมน้ําเงิน (blue-green algae)<br />

9,152.80 รอยละ หนวยตอลิตร<br />

5.48 5.48 กลุมสาหรายสีเขียว ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

147<br />

(green algae) รอยละ 0.003 0.003 กลุมได<br />

ไนไตรท<br />

n 47 algae) รอยละ 147 147 5.48 147 เขียวแกมน้ําเงิน กลุมสาหรายสีเขียว รอยละ 5.48 กลุมสาหรายสีเขียว แอมโมเนีย<br />

60<br />

(green algae) รอยละ 0.0035.48 600<br />

800 (green algae) รอยละ 0.003 (green algae) รอยละ 0.0<br />

ไนเตรท<br />

กลุมได<br />

148 อะตอม (diatom) (blue-green รอยละ 92.14 92.14 algae) และกลุมไดโนแฟลกเจลเลต รอยละ กลุมสาหรายสีเขียว (dinoflagellate) (green algae) รอยละ รอยละ 2.38 2.38 (ภาพที่ 0.003 4) กลุมได<br />

148<br />

4)<br />

40<br />

ไนไตรท<br />

.14 48 และกลุมไดโนแฟลกเจลเลต อะตอม 148 148 148 อะตอม อะตอม (diatom) (dinoflagellate) (diatom) รอยละ รอยละ 92.14 2.38 (ภาพที่ 4)<br />

400<br />

600<br />

รอยละ (dinoflagellate) 2.38 2.38 (ภาพที่ 4) รอยละ 2.38 (ภาพท<br />

ออรโธฟอสเฟต<br />

ไนเตรท<br />

4)<br />

149 ในชวงฤดูหนาว รอยละ 92.14 (ธันวาคม และกลุมไดโนแฟลกเจลเลต 2551) 2551) พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น (dinoflagellate) Cyanophyta รอยละ จํานวน 2.38 (ภาพที่ 1 สกุล 1 สกุล 4)<br />

149<br />

และดิวิชั่น<br />

40<br />

ันวาคม 49 2551) 149 พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น 149 149<br />

20 Cyanophyta (ธันวาคม จํานวน 12551) สกุล 2551) และดิวิชั่น<br />

คลอโรฟลล เอ<br />

200<br />

400<br />

จํานวน 1 สกุล 1<br />

ออรโธฟอสเฟต<br />

Cyanophyta สกุล และดิวิชั่น จํานวน 1 สกุล<br />

150 Chromophyta ในชวงฤดูหนาว จํานวน (ธันวาคม 45 45 สกุล สกุล 2551) รวมทั้งหมด พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น 46 46 สกุล สกุล โดยมีปริมาณแพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ<br />

Cyanophyta จํานวน 1 สกุล และดิวิชั่น<br />

150<br />

50 สกุล รวมทั้งหมด 150 150 150 Chromophyta 46 สกุล โดยมีปริมาณแพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ<br />

20 จํานวน 45 45 สกุล สกุล รวมทั้งหมด 46 46 สกุล สกุล 46 สกุล ซิลิเกต<br />

151 5,135.50 หนวยตอลิตร จํานวน 45 ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินรอยละ สกุล รวมทั้งหมด 46 สกุล โดยมีปริมาณแพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ<br />

151<br />

คลอโรฟลล เอ<br />

0<br />

0<br />

200<br />

1.03 1.03 กลุมได<br />

ระกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินรอยละ 51 5,135.50 151 151 1515,135.50 ซิลิเกต<br />

5,135.50 1.03 1.<br />

0<br />

1.03 ส.ค. 51 ธ.ค. 51 เม.ย. 52<br />

1.03 กลุมได<br />

152 อะตอมรอยละ หนวยตอลิตร 95.52 95.52 และกลุมไดโนแฟลกเจลเลตรอยละ ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินรอยละ 3.45 3.45 (ภาพที่ 4) 4) 1.03 กลุมได<br />

152<br />

0<br />

ลุมไดโนแฟลกเจลเลตรอยละ 52<br />

152 152 152 อะตอมรอยละ 3.45 เดือน<br />

136<br />

(ภาพที่ 95.52 4)<br />

ส.ค. 51 ธ.ค. 51<br />

3.45<br />

เม.ย.<br />

3.45 52<br />

(ภาพที่ 4) 4) 3.45 (ภาพที่ 4)<br />

153 ในชวงฤดูรอน 95.52 และกลุมไดโนแฟลกเจลเลตรอยละ (เมษายน <strong>2552</strong>) พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น 3.45 (ภาพที่ 4)<br />

153<br />

Cyanophyta จํานวน 1 สกุลดิวิชั่น 1 ษายน 53 <strong>2552</strong>) 153 153<br />

ภาพที่ พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น 137 153<br />

1363 ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของปริมาณธาตุอาหาร Cyanophyta (เมษายน จํานวน <strong>2552</strong>) 1 และคลอโรฟิลล์<br />

เดือน<br />

<strong>2552</strong>) สกุลดิวิชั่น<br />

และคลอโรฟลล เอ บริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ เอ บริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธ<br />

จํานวน 1 1 Cyanophyta ในช่วงฤดูฝน (ส.ค. 51) จํานวน 1 ส<br />

154 Chlorophyta ในชวงฤดูรอน จํานวน 1 (เมษายน สกุล 1 สกุล และดิวิชั่น <strong>2552</strong>) Chromophyta พบแพลงกตอนพืชดิวิชั่น จํานวน 51 51 สกุล Cyanophyta สกุล รวมทั้งหมด จํานวน 53 53 สกุล สกุล 1 โดยมีปริมาณ<br />

สกุลดิวิชั่น<br />

154<br />

และดิวิชั่น 54<br />

Chromophyta 154 154 138 137 154 Chlorophyta ช่วงฤดูหนาว ภาพที่ จํานวน 3 ในชวงฤดูฝน 51 การเปลี่ยนแปลงของปริมาณธาตุอาหาร สกุล (ธ.ค. จํานวน รวมทั้งหมด 51) 1 สกุล 1 และช่วงฤดูร้อน (ส.ค. สกุล 51) และดิวิชั่น 53 ชวงฤดูหนาว สกุล (เม.ย. โดยมีปริมาณ<br />

52) (ธ.ค. Chromophyta และคลอโรฟลล 51) จํานวน และชวงฤดูรอน 51 51 สกุล สกุล เอ บริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธ<br />

จํานวน (เม.ย. 52) 53 51 53 สกุล สกุล รวมทั้งหมด 53 สกุล โด<br />

155 แพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ จํานวน 1 สกุล และดิวิชั่น 7,440.80 Chromophyta หนวยตอลิตร จํานวน ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

51 สกุล รวมทั้งหมด 53 สกุล โดยมีปริมาณ<br />

155<br />

ากับ 557,440.80 155 155 หนวยตอลิตร 138 155 แพลงกตอนพืชรวมเฉลี่ยเทากับ ในชวงฤดูฝน (ส.ค. 51) ชวงฤดูหนาว 7,440.80 (ธ.ค. 51) หนวยตอลิตร และชวงฤดูรอน (เม.ย. 52)<br />

92.14 และกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลต ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

(dinoflagellate)<br />

6.20 7,440.80 ร้อยละ 2.38<br />

156 156 เขียวแกมน้ําเงินรอยละ 6.20 กลุมสาหรายสีเขียวรอยละ 7,440.80 หนวยตอลิตร 0.001 ซึ่งประกอบดวยแพลงกตอนพืชกลุมสาหรายสี<br />

45<br />

0.001<br />

สกุล กลุมไดอะตอมรอยละ รวมทั้งหมด 46 สกุล โดยมีปริมาณแพลงก์ตอนพืชรวมเฉลี่ย<br />

91.64 91.64 และกลุมไดโน<br />

กลุมสาหรายสีเขียวรอยละ 56<br />

156 156 156 เขียวแกมน้ําเงินรอยละ 6.20 0.001 กลุมไดอะตอมรอยละ 91.64 และ<br />

(ภาพที่ 4)<br />

0.001 กลุมไดอะตอมรอยละ 6.20 2.15 91.64 และกลุมไดโน 4) 0.001 91.64 157 157 แฟลกเจลเลตรอยละ 6.20 2.15 กลุมสาหรายสีเขียวรอยละ (ภาพที่ 4) โดยแพลงกตอนพืชที่เปนสกุลเดนของทุกชวงฤดูกาล 0.001 กลุมไดอะตอมรอยละ 91.64 และกลุมไดโน<br />

เท่ากับ 5,135.50 หน่วยต่อลิตร ซึ่งประกอบด้วยแพลงก์ตอนพืชกลุ่ม<br />

ไดแก<br />

557<br />

(ภาพที่ 4) 157 โดยแพลงกตอนพืชที่เปนสกุลเดนของทุกชวงฤดูกาล 157 157 แฟลกเจลเลตรอยละ<br />

ในช่วงฤดูหนาว (ธันวาคม 2551)<br />

2.15 2.15 พบแพลงก์ตอนพืชดิวิชั่น<br />

(ภาพที่ 4) 4) 4) ไดแก<br />

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินร้อยละ 1.03 กลุ่มไดอะตอมร้อยละ ไดแก<br />

158 158 Chaetoceros, Rhizosolenia 2.15 (ภาพที่ และ และ Thalassioneme 4) โดยแพลงกตอนพืชที่เปนสกุลเดนของทุกชวงฤดูกาล ซึ่งเปนแพลงกตอนพืชในกลุมของไดอะตอม<br />

ไดแก<br />

95.52<br />

และ 58 Thalassioneme 158 Cyanophyta 158 158 ซึ่งเปนแพลงกตอนพืชในกลุมของไดอะตอม<br />

Chaetoceros, จำนวน Rhizosolenia 1 สกุล และดิวิชั่น และ และ Chromophyta Thalassioneme Thalassioneme ซึ่งเปนแพลงกตอนพืชในกลุมของไดอะตอม<br />

จำนวน<br />

และกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตร้อยละ 3.45 (ภาพที่ 4)<br />

ย.<br />

59<br />

159 159<br />

159 159 159<br />

หนวยตอลิตร<br />

แพลงกตอน<br />

พืช<br />

แอมโมเนีย แอมโมเนีย ไนไตรท ไนไตรท ไนเตรท ไนเตรท ออรโธ ออรโธ<br />

ฟอสเฟต ฟอสเฟต คลอโรฟลล คลอโรฟลล เอ (ไมโครกรัม เอ (ไมโครกรัม<br />

ตอลิตร) ตอลิตร)<br />

10<br />

8<br />

เดือน<br />

เดือน<br />

160 160<br />

เดือน<br />

เดือน<br />

เดือน<br />

เดือน เดือน<br />

60 160 160<br />

161 160 161<br />

(a) (a)<br />

(b) (b)<br />

61 161<br />

ภาพที่<br />

161<br />

162 161 1624 ปริมาณแพลงก์ตอนพืช (a) (b) (a)<br />

(a) (a) และองค์ประกอบความหนาแน่นของกลุ่มแพลงก์ตอนพืช (b) (b) (b) (b) ที่พบบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ (b)<br />

62 162 162<br />

163 162 163<br />

ภาพที่ ในช่วงฤดูฝน 4 4 ปริมาณแพลงกตอนพืช (ส.ค. 51) ช่วงฤดูหนาว (a) (a) และองคประกอบความหนาแนนของกลุมแพลงกตอนพืช (ธ.ค. 51) และช่วงฤดูร้อน (เม.ย. 52)<br />

(b) (b) ที่พบ ที่พบ<br />

นพืช 63 (a) และองคประกอบความหนาแนนของกลุมแพลงกตอนพืช ภาพที่ 163 163 163 ภาพที่ 4 ภาพที่ 4 4 ปริมาณแพลงกตอนพืช 4 (a) (a) (a)(b) ที่พบ<br />

(b) (b) ที่พบ ที่พบ (<br />

164 บริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธในชวงฤดูฝน (a) และองคประกอบความหนาแนนของกลุมแพลงกตอนพืช<br />

(ส.ค. (ส.ค. 51) 51) ชวงฤดูหนาว (ธ.ค. (ธ.ค. 51) 51) และชวงฤดู<br />

(b) ที่พบ<br />

164<br />

ประจวบคีรีขันธในชวงฤดูฝน 64 164 164 164<br />

(ส.ค. 51) (ส.ค. (ธ.ค. 51) ชวงฤดูหนาว (ธ.ค. 51) และช<br />

Wasana<br />

(ส.ค. บริเวณชายฝงอาวประจวบคีรีขันธในชวงฤดูฝน รอน 51)<br />

Arkronrat, ชวงฤดูหนาว (เม.ย. 52) Vutthichai<br />

(ธ.ค. 51)<br />

Oniam<br />

และชวงฤดู (ส.ค. 51) (ธ.ค. 51) 165 รอน (เม.ย. 52)<br />

(ส.ค. 51) ชวงฤดูหนาว (ธ.ค. 51) และชวงฤดู<br />

165<br />

and Likhit Chuchit / Burapha Sci. J. 17 (2012) 1 : 108-116 111<br />

65 165 165 165 รอน รอน รอน รอน (เม.ย. (เม.ย. 52)<br />

52) 52)<br />

35<br />

35<br />

30<br />

30<br />

อุณหภูมิ อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ความเค็ม ความเค็ม<br />

(psu) (psu)<br />

ซิลิเกต ซิลิเกต (ไมโครกรัมตอลิตร)<br />

ปริมาณออกซิเจน<br />

พีเอช ปริมาณออกซิเจน<br />

6 6<br />

อุณหภูมิ พีเอช 6 6 6<br />

10000<br />

100% 100%<br />

10000<br />

100% 10000<br />

80% 100%<br />

80%<br />

ไดโนแฟลกเจล 80%<br />

100% 80%<br />

ไดโนแฟลกเจล<br />

100%<br />

5000 5000<br />

80% 60% 80%<br />

5000<br />

60%<br />

40%<br />

20%<br />

40% 60%<br />

80% 60%<br />

ไดโนแฟลกเจล<br />

60%<br />

40%<br />

5000<br />

40%<br />

เลต<br />

เลต<br />

20%<br />

20%<br />

40% 60% 40%<br />

เลต เลต<br />

5000<br />

60% 20%<br />

เลต<br />

0 0<br />

แพลงกตอน<br />

40% 20%<br />

เลต<br />

20%<br />

20%<br />

ไดอะตอม<br />

00%<br />

0 0 0<br />

ส.ค. ส.ค.<br />

เม.ย. เม.ย.<br />

แพลงกตอน<br />

พืช แพลงกตอน พืช ไดอะตอม แพลงกตอน0%<br />

0% 0%<br />

ส.ค. ส.ค.<br />

ธ.ค. ธ.ค.<br />

เม.ย. เม.ย. 0% ไดอะตอม<br />

ไดอะตอม<br />

ส.ค.<br />

ส.ค.<br />

51 ส.ค. 51 เม.ย. ธ.ค. เม.ย.<br />

52<br />

เม.ย.<br />

52<br />

พืช พืช พืช พืช<br />

ส.ค. ส.ค.<br />

51 ส.ค. ธ.ค. 51 ธ.ค.<br />

51 ธ.ค. เม.ย. 51 เม.ย.<br />

52 เม.ย. 52 ส.ค. ธ.ค.<br />

สาหรายสีเขียว<br />

51<br />

51<br />

51 51 52 52<br />

52<br />

สาหรายสีเขียว<br />

51 51<br />

51 51 51 52 52 52 สาหรายสีเขียว<br />

51 51<br />

หนวยตอลิตร<br />

หนวยตอลิตร<br />

หนวยตอลิตร<br />

6<br />

หนวยตอลิตร<br />

หนวยตอลิตร<br />

หนวยตอลิตร<br />

หนวยตอลิตร<br />

เม.ย.<br />

52<br />

ไดโนแ<br />

เลต<br />

ไดอะ<br />

สาหร


ตารางที่ 1 ชนิดของแพลงก์ตอนพืชที่พบบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบคีรีขันธ์ตามช่วงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในรอบปี พ.ศ. 2551-<strong>2552</strong><br />

ชนิดของแพลงก์ตอนพืช<br />

Division Cyanophyta (Blue-green algae)<br />

Class Cyanophyceae<br />

Division Chlorophyta (Green algae)<br />

Class Chlorophyceae<br />

Division Chromophyta<br />

Class Bacillariophyceae (Diatom)<br />

ช่วงฤดูฝน<br />

(ส.ค. 51)<br />

ช่วงฤดูหนาว<br />

(ธ.ค. 51)<br />

ช่วงฤดูร้อน<br />

(เม.ย. 52)<br />

Oscillatoria √ √ √<br />

Richelia √<br />

Geminella √<br />

Scenedesmus √ √<br />

Cyclotella √ √<br />

Lauderia √ √ √<br />

Planktoniella √ √ √<br />

Skeletonema √ √ √<br />

Stephanodiscus √<br />

Thalassiosira √ √<br />

Azpeitia √<br />

Melosira √ √ √<br />

Paralia √ √ √<br />

Corethron √ √ √<br />

Coscinodiscus √ √ √<br />

Palmeria √ √<br />

Pseudoguinardia √ √ √<br />

Actinoptychus √ √ √<br />

Asteromphalus √ √ √<br />

Dactyliosolen √ √ √<br />

Guinardia √ √ √<br />

Proboscia √ √ √<br />

Pseudosolenia √ √ √<br />

Rhizosolenia √ √ √<br />

Eucampia √ √ √<br />

Hemiaulus √ √ √<br />

112<br />

วาสนา อากรรัตน์, วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และลิขิต ชูชิต / วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 17 (2555) 1 : 108-116


ตารางที่ 1 (ต่อ)<br />

ชนิดของแพลงก์ตอนพืช<br />

Division Chromophyta<br />

Class Bacillariophyceae (Diatom)<br />

Class Dinophyceae (Dinoflagellate)<br />

ช่วงฤดูฝน<br />

(ส.ค. 51)<br />

ช่วงฤดูหนาว<br />

(ธ.ค. 51)<br />

ช่วงฤดูร้อน<br />

(เม.ย. 52)<br />

Bacteriastrum √ √ √<br />

Chaetoceros √ √ √<br />

Ditylum √ √ √<br />

Odontella √ √ √<br />

Triceratium √ √ √<br />

Asterionella √ √ √<br />

Thalassionema √ √ √<br />

Thalassiothrix √ √ √<br />

Amphora √ √<br />

Gyrosigma √ √ √<br />

Meunier √ √ √<br />

Navicula √ √ √<br />

Pleurosigma √ √ √<br />

Cocconeis √ √<br />

Bacillaria √ √ √<br />

Nitzschia √ √ √<br />

Pseudonitzschia √ √ √<br />

Cylindrotheca √ √ √<br />

Epithemia √ √<br />

Entomoneis √ √ √<br />

Surirella √ √ √<br />

Dinophysis √ √ √<br />

Ornithocercus √ √ √<br />

Mesoporos √ √ √<br />

Porocentrum √ √ √<br />

Phalacroma √ √ √<br />

Noctiluca √ √ √<br />

Ceratium √ √ √<br />

Pyrophacus √ √ √<br />

Peridinium √ √ √<br />

Protoperidinium √ √ √<br />

Wasana Arkronrat, Vutthichai Oniam and Likhit Chuchit / Burapha Sci. J. 17 (2012) 1 : 108-116<br />

113


ในช่วงฤดูร้อน (เมษายน <strong>2552</strong>) พบแพลงก์ตอนพืชดิวิชั่น<br />

Cyanophyta จำนวน 1 สกุลดิวิชั่น Chlorophyta จำนวน 1 สกุล<br />

และดิวิชั่น Chromophyta จำนวน 51 สกุล รวมทั้งหมด 53 สกุล<br />

โดยมีปริมาณแพลงก์ตอนพืชรวมเฉลี่ยเท่ากับ 7,440.80 หน่วยต่อลิตร<br />

ซึ่งประกอบด้วยแพลงก์ตอนพืชกลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน<br />

ร้อยละ 6.20 กลุ่มสาหร่ายสีเขียวร้อยละ 0.001 กลุ่มไดอะตอม<br />

ร้อยละ 91.64 และกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตร้อยละ 2.15 (ภาพที่ 4)<br />

โดยแพลงก์ตอนพืชที่เป็นสกุลเด่นของทุกช่วงฤดูกาล ได้แก่<br />

Chaetoceros, Rhizosolenia และ Thalassioneme ซึ่งเป็น<br />

แพลงก์ตอนพืชในกลุ่มของไดอะตอม<br />

ส่วนการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำบริเวณ<br />

ชายฝั่งอ่าวประจวบฯ กับปริมาณแพลงก์ตอนพืชรวมทั้งหมด พบว่า<br />

แพลงก์ตอนพืชทั้งหมดมีความสัมพันธ์กับปริมาณไนไตรท์ และ<br />

ซิลิเกตอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดย<br />

มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณซิลิเกต (r = 1.00,<br />

P


ธาตุอาหารเหล่านี้แพลงก์ตอนพืชจะนำไปใช้ในการเจริญเติบโต<br />

(จารุมาศ เมฆสัมพันธ์, 2542) และเป็นธาตุอาหารที่มีอิทธิพล<br />

ต่อการเพิ่มจำนวนของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งเป็นอย่างมาก<br />

(Raymont, 1963) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์<br />

น้ำทะเลเปลี่ยนสี เช่น สถานการณ์เกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี<br />

จาก Noctiluca scintillans ที่มีรายงานว่ามีความสัมพันธ์ใน<br />

ทิศทางเดียวกันกับปริมาณออร์โธฟอสเฟต และปริมาณแอมโมเนีย<br />

ค่อนข้างมาก (สมภพ รุ่งสุภา และคณะ, 2546) Turner et al. (2003)<br />

รายงานว่าฟอสฟอรัส และซิลิเกต เป็นปัจจัยที่สำคัญเท่าๆ กับ<br />

ไนโตรเจน และอาจมีผลต่อการเจริญเติบโต และชนิดของ<br />

แพลงก์ตอนพืชที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีขึ้นได้<br />

นอกจากนี้ Yang & Hodgkiss (2003) ได้รายงานว่าปรากฏการณ์<br />

น้ำทะเลเปลี่ยนสีในฮ่องกง ในปี 1998 มีสาเหตุมาจากการที่<br />

น้ำทะเลเริ่มมีความเข้มข้นของ NH 4+ -N, Total Kjeldahl<br />

Nitrogen (TKN) และ PO 43 -P สูงขึ้น ดังนั้น ในช่วงฤดูฝน ถึง<br />

ฤดูหนาวควรมีการเฝ้าระวังการเพิ่มจำนวนของแพลงก์ตอนพืช<br />

กลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้เกิด<br />

ปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม<br />

บริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ ได้ เพราะน้ำทะเลบริเวณอ่าวประจวบฯ<br />

ในช่วงนี้จะมีปริมาณธาตุอาหารสูง ประกอบกับไดโนแฟลกเจลเลต<br />

เป็นแพลงก์ตอนพืชกลุ่มหนึ่งที่มีการบลูม หรือการแพร่พันธ์ุ<br />

อย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้นในแถบชายฝั่งทะเลจนทำให้เกิด<br />

ปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี ซึ่งสกุลของไดโนแฟลกเจลเลตที่<br />

ก่อให้เกิดการบลูมมีหลายสกุล เช่น Prorocentrum, Ceratium,<br />

Noctiluca, Dinophysis และ Gymnodinium เป็นต้น (สมภพ<br />

รุ่งสุภา และคณะ, 2546) และนอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้พบว่า<br />

ปริมาณแพลงก์ตอนพืชในบริเวณอ่าวประจวบฯ มีความสัมพันธ์ใน<br />

ทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณไนไตรท์-ไนโตรเจน กล่าวคือ ในช่วง<br />

ที่มีปริมาณไนไตรท์ในน้ำสูง จะพบปริมาณแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด<br />

มีความหนาแน่นต่ำ และในช่วงที่มีปริมาณไนไตรท์ต่ำจะพบปริมาณ<br />

แพลงก์ตอนพืชทั้งหมดมีความหนาแน่นสูง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ<br />

แพลงก์ตอนพืชได้มีการใช้สารประกอบไนโตรเจนในรูปอื่นก่อน<br />

โดยรูปแบบของไนโตรเจนที่แพลงก์ตอนพืชนำไปใช้จะเรียงลำดับ<br />

ดังนี้ แอมโมเนีย ยูเรีย ไนเตรท และไนไตรท์ (Joint et al., 2001)<br />

ส่วนแพลงก์ตอนพืชในกลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และกลุ่ม<br />

สาหร่ายสีเขียวในบริเวณอ่าวประจวบฯ พบว่า มีการแพร่กระจาย<br />

ทุกสถานีเก็บตัวอย่าง แต่จะไม่พบทุกช่วงฤดูกาล และบางชนิด<br />

ก็ไม่พบในทุกสถานีเก็บตัวอย่าง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าปริมาณ<br />

ธาตุอาหารในบริเวณอ่าวประจวบฯ บางช่วงฤดูกาลอาจมีไม่เพียงพอ<br />

ต่อความต้องการของแพลงก์ตอนพืชกลุ่มนี้<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำ และแพลงก์ตอน<br />

พืชบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า<br />

แพลงก์ตอนพืชมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณ<br />

ซิลิเกต และมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณ<br />

ไนไตรท์ โดยแพลงก์ตอนพืชที่เป็นสกุลเด่นของทุกช่วงฤดูกาล คือ<br />

แพลงก์ตอนพืชในกลุ่มของไดอะตอม และนอกจากนี้พบว่า ค่า<br />

คุณภาพน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวประจวบฯ ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน<br />

ที่กำหนดไว้สำหรับมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง แต่ก็ควรมีการ<br />

เฝ้าระวังต่อการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีในบริเวณอ่าว<br />

ประจวบฯ อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ถึงฤดูหนาว<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

คณะผู้วิจัยขอขอบคุณประธานชุมชน และคณะกรรมการ<br />

ชมชุนปากคลองบางนางรมที่ช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวก<br />

ในการเก็บตัวอย่าง และขอขอบคุณคุณกนกพร เกษสุวรรณ<br />

นักวิชาการประมง สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งกรมประมง<br />

ที่ช่วยเหลือในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำบางประการ<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

กรมควบคุมมลพิษ. (2543). มาตรฐานคุณภาพน้ำและเกณฑ์ระดับ<br />

คุณภาพน้ำในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตร์<br />

เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. 210 หน้า.<br />

จารุมาศ เมฆสัมพันธ์. (2542). กำลังผลิตเบื้องต้นของแหล่งน้ำ.<br />

กรุงเทพฯ: เอกสารประกอบการสอน, คณะประมง,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 77 หน้า.<br />

ลัดดา วงศ์รัตน์. (2542). แพลงก์ตอนพืช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 851 หน้า.<br />

ลัดดา วงศ์รัตน์ และโสภณา บุญญาภิวัตน์. (2546). คู่มือวิธีการ<br />

เก็บและวิเคราะห์แพลงก์ตอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 270 หน้า.<br />

ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี กรมประมง. (2550).<br />

การจำแนกชนิดแพลงก์ตอนในบ่อเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลและ<br />

ชายฝั่งทะเล ตามมาตรฐานปลอดภัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์<br />

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 55 หน้า.<br />

Wasana Arkronrat, Vutthichai Oniam and Likhit Chuchit / Burapha Sci. J. 17 (2012) 1 : 108-116<br />

115


สมภพ รุ่งสุภา, ชลธยา ทรงรูป, อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์,<br />

ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, อานุภาพ พานิชผล และอเนก<br />

โสภณ. (2546). สถานการณ์เกิดปรากฏการณ์น้ำทะเล<br />

เปลี่ยนสีในประเทศไทย. ใน ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์และคณะ,<br />

การตรวจเฝ้าระวังปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีใน<br />

ประเทศไทย. (หน้า 74-104.). กรุงเทพฯ: สำนักจัดการ<br />

คุณภาพน้ำ, กรมควบคุมมลพิษ, กระทรวงทรัพยากร<br />

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.<br />

APHA, AWWA & WPCF. (2009). Standard Methods for<br />

the Examination of Water and Wastewater.<br />

Washington: American Public Health Association.<br />

83 pp.<br />

Boney, A.D. (1975). Phytoplankton. London: Institute of<br />

Biology’s Studies in Biology. 116 pp.<br />

Burford, M.A. & P.C. Rothlisberg. (1999). Factors Limiting<br />

Phytoplankton Production in a Tropical Continental<br />

Shelf Ecosystem. Estuarine, Coastal and Shelf<br />

Science, 48, 541–549.<br />

Joint, I., A.P. Rees & E.S. Woodward. (2001). Primary<br />

Production and Nutrient Assimilation in the Iberian<br />

Upwelling in August 1998. Progress In Oceanography,<br />

51, 303-320.<br />

Raymont, J.E.G. (1963). Plankton and Productivity in the<br />

ocean. Oxford: Perss, Ltd. 660 pp.<br />

Turner, R.E., N.N. Rabalais, D. Justic & Q. Dortch. (2003).<br />

Future Aquatic Nutrient Limitations. Marine<br />

Pollution Bulletin, 46, 1032-1034.<br />

Yang, Z.B. & I.J. Hodgkiss. (2003). Hong Kong’s worst “red<br />

tide” causative factors reflected in a phytoplankton<br />

study at Port Shelter station in 1998. Harmful Algae,<br />

3, 149-161.<br />

116<br />

วาสนา อากรรัตน์, วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และลิขิต ชูชิต / วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 17 (2555) 1 : 108-116

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!