18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ที่ศึกษาแลวทําการทดสอบสมมติฐานของ<br />

ADF test อีกครั้งจนไดคุณสมบัติ<br />

stationary<br />

ซึ่งโดยสวนมากจะทําการ<br />

difference ไมเกิน 2 ครั้งเทานั้น<br />

การทดสอบความเปนเหตุเปนผล<br />

การทดสอบความเปนเหตุเปนผลระหวางปริมาณความตองการน้ํานมดิบของโรงงานและตัว<br />

แปรที่นํามาศึกษาในครั้งนี้<br />

เพื่อดูถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรวาสงผลตอกันอยางไร<br />

เปนสาเหตุ<br />

เปนผล เปนทั้งเหตุและผลตอกัน<br />

หรือตัวแปรทั้งสองไมมีความเกี่ยวของกัน<br />

โดยจะใชวิธีการทดสอบ<br />

ที่เรียกวา<br />

The Granger Causality Test<br />

The Granger Causality Test (Gujarati, 2003: 696) ในการศึกษาการวิเคราะหสมการถดถอย<br />

(Regression Analysis) โดยทั่วไปนั้นแมจะแสดงใหเห็นถึงขนาดและทิศทางของความสัมพันธของ<br />

ตัวแปรในแบบจําลองก็ตาม แตก็มิไดแสดงใหเห็นวาตัวแปรใดเปนสาเหตุ (Cause) ตัวแปรใดเปนผล<br />

(Effect) แตสวนที่บอกความเปนเหตุเปนผลที่แทจริงคือทฤษฏี<br />

ในเรื่องความสัมพันธระหวางปริมาณ<br />

ความตองการน้ํานมดิบของโรงงานและตัวแปรที่นํามาศึกษานั้นมีแนวความคิดที่เห็นวา<br />

เปนทั้ง<br />

สาเหตุ และเปนผลของตัวแปรตางๆ กลาวอีกนัยหนึ่งคือไมสามารถยืนยันไดวาปริมาณความตองการ<br />

น้ํานมดิบของโรงงานนั้นเปนเหตุใหเกิดผลกระทบตอตัวแปรตางๆ<br />

หรือไม<br />

กระบวนการทางสถิติที่เปนที่นิยมในการวิเคราะหถึงทิศทางของความเปนเหตุเปนผล<br />

คือ วิธี<br />

ของ C.W.J. Granger โดยมีพื้นฐานมาจาก<br />

VAR (Vector Autoregressive) ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้จะเปน<br />

การทดสอบระหวางปริมาณความตองการน้ํานมดิบของโรงงานกับตัวแปรตางๆ<br />

ที่นํามาศึกษา<br />

ในการ<br />

ตั้งแบบจําลองในการทดสอบ<br />

Causality นั้นมีแบบจําลองดังนี้<br />

t<br />

n<br />

i=<br />

1<br />

i<br />

t-i<br />

m<br />

Y = ∑ α X + ∑β<br />

Y + µ<br />

(3.13)<br />

t<br />

i<br />

n<br />

1<br />

i<br />

t-i<br />

j=<br />

1<br />

m<br />

j=<br />

1<br />

j<br />

j<br />

t-<br />

j<br />

t-<br />

j<br />

1t<br />

X = ∑ λ X + ∑φ<br />

Y + µ<br />

(3.14)<br />

โดยสมมติวา Disturbance Term ( 1t<br />

2 t<br />

µ และµ 2t<br />

) ไมมีสหสัมพันธตอกัน<br />

35

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!