18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

International Trade) และทฤษฎีนโยบายการคา (The Theory of Trade Policy) (นิฐิตา เบญจมสุทิน<br />

และนงนุช พันธกิจไพบูลย, 2547)<br />

3.1 ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ เปนทฤษฎีวาดวยการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ<br />

ระหวางประเทศ โดยการคาระหวางประเทศของทุกๆ ประเทศจะตองประกอบดวยสินคาออก<br />

(Export) และสินคาเขา (Import) กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนสินคาขึ้น<br />

เนื่องจากความแตกตางใน<br />

ผลิตภาพ (Productivity) ตนทุนการผลิต และพื้นฐานความแตกตางของทรัพยากร<br />

(Factor<br />

Endowment) รวมทั้งระดับของเทคโนโลยี<br />

ดังนี้<br />

ผลผลิตที ่เกิดขึ้นจากประเทศที่มีทรัพยากรที่<br />

แตกตางกันจึงมีความแตกตางกันอันเนื่องมาจากการผลิตที่แตกตางกันในแตละประเทศ<br />

3.2 ทฤษฎีนโยบายการคาระหวางประเทศ เปนทฤษฎีวาดวยการกําหนดขอจํากัดบาง<br />

ประการเกี่ยวกับการคา<br />

อาทิเชน ขอจํากัดดานภาษีศุลกากร (Tariff Trade Barrier) ขอจํากัดที่ไมใช<br />

ภาษี (Non-Tariff Trade Barriers) ตลอดจนนโยบายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ<br />

(Economic<br />

Integration Policy) สําหรับในการศึกษาครั้งนี้จะขออธิบายเฉพาะนโยบายการรวมกลุมทาง<br />

เศรษฐกิจและผลของนโยบายโควตาภาษีนําเขาพอสังเขปดังนี้<br />

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ<br />

(Economic Integration)<br />

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศตางๆ<br />

จัดทําขึ้นเพื่อลดหรือยกเลิกอุปสรรคกีด<br />

ขวางทางการคา (Trade Restriction) ทั้งในรูปของภาษีศุลกากร<br />

(Tariffs) และอุปสรรคที่มิใชภาษี<br />

(Non-tariff Barrier to Trade, NTBs) อีกทั้งยังเปนการขยายการคาภายในกลุมใหกวางขวางยิ่งขึ้น<br />

และเพิ่มความสามารถในการแขงขัน<br />

ตลอดจนการขยายผลประโยชนทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ<br />

สมาชิกในกลุมดวยกันเอง<br />

และสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก การรวมกลุม<br />

ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตและปจจุบันมีมากมายหลายกลุม<br />

ทั้งในประเทศที่พัฒนาแลว<br />

และ<br />

ประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งมีรูปแบบและเปาหมายของการรวมกลุมที่แตกตางกันออกไป<br />

โดยสามารถ<br />

แบงรูปแบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่สําคัญได<br />

5 รูปแบบ ดังนี้<br />

(นิฐิตา เบญจมสุทิน และ<br />

นงนุช พันธกิจไพบูลย, 2547)<br />

1. เขตการคาเสรี (Free Trade Area / Agreement, FTA) เปนการรวมกลุมที่มีการยกเวน<br />

ภาษีศุลกากรระหวางประเทศสมาชิกของกลุม<br />

แตประเทศสมาชิกมีอิสระในการกําหนดอัตราภาษี<br />

ศุลกากรกับประเทศคูคานอกกลุม<br />

ตัวอยางของเขตการคาเสรี ไดแก เขตการคาเสรียุโรป (European<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!