18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วศัน สุทธินุน<br />

2552: การทดสอบกําลังรับแรงเฉือนประสิทธิผลของดินเหนียวออน<br />

กรุงเทพฯ โดยการทดสอบ Unconfined compression test ชนิดวัดแรงดูด ปริญญา<br />

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรม<br />

โยธา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก:<br />

อาจารยอภินิติ โชติสังกาศ, Ph.D. 113 หนา<br />

งานวิจัยนี้ทําการศึกษาและพัฒนาการทดสอบเพื่อหาพารามิเตอรกําลังรับแรงเฉือน<br />

ประสิทธิผล ( c′ , φ′ ) ของดินเหนียวออนกรุงเทพฯ โดยใชวิธีการทดสอบ Unconfined<br />

compression test ชนิดวัดแรงดูด หรือแรงดันน้ําในชองวางดินที่เปนลบ<br />

ของตัวอยางดินในขณะทํา<br />

การทดสอบโดยใชเครื่องมือเทนซิโอมิเตอร<br />

(Tensiometer) ซึ่งไดรับการพัฒนาขึ้นที่<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และทําการเปรียบเทียบกับการทดสอบแรงอัดสามแกน (Triaxial<br />

Compression Test) รวมถึงใชพารามิเตอรที่ไดจากการทดสอบดังกลาวในการวิเคราะหโดยใช<br />

แบบจําลองพฤติกรรมของดิน (Modified Cam Clay) กับกรณีงานขุด เพื่อประเมินความเหมาะสม<br />

ของวิธีทดสอบที่ไดพัฒนาขึ้นใหม<br />

จากการศึกษาพบวา เมื่อประเมินความสอดคลองระหวางการทดสอบ<br />

การทดสอบ<br />

Suction - monitored unconfined compression test (SUC Test) กับการทดสอบ Triaxial<br />

compression test ในชวง Effective mean stress หรือ Suction เทากับ 0 ถึง 80 กิโลปาสคาล และทํา<br />

การแปลผลโดยอาศัยทฤษฎี Critical state ซึ่งกําหนดให<br />

c′ = 0 พบวา ที่คาดัชนีพลาสติกซิตี้<br />

(Plasticity Index, PI) เทากับ 44, 60 และในชวง 62 - 68 ไดคามุมเสียดทาน (Friction Angle, φ′ )<br />

เทากับ 26, 23 และ 25 องศา ตามลําดับ และเมื่อศึกษาพฤติกรรมการยุบอัดตัว<br />

Isotropic<br />

compression ที่ไดจากการทดสอบซึ่งใชเครื่องมือ<br />

Triaxial test มีลักษณะพฤติกรรมใกลเคียงกัน<br />

กับ Isotropic drying โดยใชเครื่องมือ<br />

Tensiometer และ Pressure plate เมื่อดินอยูในสภาวะใกล<br />

อิ่มตัว<br />

และจากการวิเคราะหพฤติกรรมของดินดวยแบบจําลอง Modified Cam Clay พบวาสําหรับ<br />

การวิเคราะหงานขุดลึก 6.30 เมตร สามารถนําพารามิเตอรกําลังรับแรงเฉือนที่ไดจากการทดสอบ<br />

นี้ในการวิเคราะหได<br />

เนื่องจากคา<br />

Effective mean stress ที่เกิดขึ้นที่ความลึก<br />

11.50 เมตร มีคานอย<br />

กวา 80 กิโลปาสคาล<br />

ลายมือชื่อนิสิต<br />

ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก<br />

/ /


Wasan Sutthinun 2009: Determination of Effective Strength Parameters of Soft<br />

Bangkok Clay Using Suction - monitored Unconfined Compression Tests. Master of<br />

Engineering (Civil Engineering), Major Field: Civil Engineering, Department of Civil<br />

Engineering. Thesis Advisor: Mr. Apiniti Jotisankasa, Ph.D. 113 pages.<br />

This research is on the determination of effective strength parameters for soft Bangkok<br />

Clay using Unconfined Compression Test with measurement of soil suction during testing,<br />

compared with those obtained from Triaxial Compression Test. Suction measurements were<br />

performed during Unconfined Compression Test using miniature tensiometers developed by<br />

Kasetsart University. The studies also include the application of the parameters from SUC Test<br />

in the numerical analysis of excavation work<br />

The Suction - monitored unconfined compression test employs the tensiometers which<br />

work satisfactorily for suction range of 10 to 80 kPa. The values of the effective angle of<br />

shearing resistance, φ′ , obtained from these tests are 26°, 23° and 25° at the plasticity index<br />

(PI) of 44, 60 and 62 - 68 respectively, with effective cohesion equal to zero (using the critical<br />

state theory). The behaviour of isotropic compression obtained from Triaxial test and isotropic<br />

drying using, tensiometer and pressure plate agree reasonably well for the clay with degree of<br />

saturation greater than 95%. Finally since the value of effective mean stress is less than 80 kPa,<br />

as obtained from the finite element analysis of excavation to deep - 6.30 meter, the Suction -<br />

monitored unconfined compression test (SUC Test) proposed on his study can be employed in<br />

such application.<br />

Student’s signature Thesis Advisor’s signature<br />

/ /

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!