18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สะสมความรอนภายในเบด เนื่องจากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสวนมากเปนปฏิกิริยาแบบคายความรอน<br />

(exothermic reaction) และการจัดเรียงตัวของของแข็งภายในเบดคอนขางหนาแนนสงผลใหการ<br />

ถายเทความรอนภายในเบดเปนไปยากดังนั้นความรอนจึงสะสมอยูภายในเบด<br />

สําหรับปฏิกิริยาที่<br />

เกี่ยวของกับตัวเรงปฏิกิริยา<br />

ความรอนที่สะสมจะทําใหอุณหภูมิภายในเบดสูงและเกิดอันตรายตอ<br />

ระบบ ดั้งนันปฏิกิริยาการเจริญเติบโตของจุลินทรียที่อุณหภูมิสูงจะสงผลใหการทํางานของจุลินท<br />

รียลดลงหรือตายได (เพ็ญจิตร และ มณีรัตน, 2541) ดังนั้นการควบคุมความรอนภายในถังแพคเบด<br />

จึงมีความสําคัญ และสามารถดําเนินการไดหลายวิธี แตวิธีที่นิยมใชเนื่องจากมีประสิทธิภาพและใช<br />

งานงาย มีอยู<br />

2 วิธี คือ<br />

1. การควบคุมความรอนดวยการนําความรอน (conductive cooling) เชน การควบคุมความ<br />

รอนโดยใชน้ําหลอเย็น<br />

(cooling water) ไหลผานแจคเก็ต (cooling jacket) หรือผานทอขด (cooling<br />

coil)<br />

2. การควบคุมความรอนดวยการพาความรอน (convective cooling) เชน การควบคุมความ<br />

รอนดวยการพาความรอนออกจากระบบโดยการเปาหรือดูดอากาศ หรืออาศัยการระเหยของน้ําที่ใช<br />

พลังงานภายในระบบในการเปลี่ยนสถานะ<br />

(evaporative cooling)<br />

การหมักโคจิแบบแหงในถังแพคเบด<br />

การหมักโคจิ เปนขั้นตอนสําคัญในกระบวนการผลิตซีอิ้วและเตาเจี้ยว<br />

โดยปกติการผลิต<br />

ซีอิ้วและเตาเจี้ยวจะประกอบไปดวยขั้นตอนการผลิต<br />

2 ขั้นตอน<br />

คือ การหมักโคจิ และ การหมักโม<br />

โรมิเพื่อเปลี่ยนโคจิใหเปนซีอิ้วหรือเตาเจี้ยว<br />

วัตถุดิบที่ใชในการหมักโคจิคือ<br />

ถั่วเหลือง<br />

สวน<br />

เชื้อจุลินทรียที่ใชในการหมักคือ<br />

รา Aspergillus oryzae ดังภาพที่<br />

2 เนื่องจากราชนิดนี้เพาะเลี้ยงงาย<br />

มีประสิทธิภาพสูงในการสรางเอนไซมที่มีบทบาทตอกลิ่นและรสชาติของซีอิ้วและเตาเจี้ยว<br />

ราชนิด<br />

นี้เปนราประเภทที่ตองการออกซิเจนในกระบวนการเจริญเติบโต<br />

ชอบสภาวะที่มีคาความเปนกรด/<br />

ดางต่ํา<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการทํางานอยูในชวง<br />

25-30 องศาเซลเซียส และไมควรเกิน 40 องศา<br />

เซลเซียส ซึ่งจะทําใหราตาย<br />

ความชื้นในชวงเริ่มการหมักควรมีคาเทากับ<br />

50-70% (ปุณณา, 2546)<br />

กลไกที่เกิดภายในถังหมักโคจิคือ<br />

ราจะผลิตเอนไซมเพื่อยอยถั่วเหลืองและแปงใหเปนสารโมเลกุล<br />

เล็กลงและละลายน้ําได<br />

ซึ่งเปนแหลงพลังงานของแบคทีเรียและยีสตในการหมักขั้นโมโรมิ<br />

5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!