18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การตรวจเอกสาร<br />

รายงานผลงานวิจัยที่ผานมา<br />

จากการคนควาและศึกษาขอมูลการควบคุมแบบ Fuzzy PID และการควบคุมอุณหภูมิ<br />

อัตโนมัติในถังหมักโคจิพบวา ปญหาที่เกิดขึ้นในการใชถังแพคเบดในการหมักโคจิคือ<br />

ความรองที่<br />

เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาการเจริญเติบโตของจุลินทรียจะเพิ่มอุณหภูมิในถังแพคเบด<br />

จนกระทั้งอุณหภูมิ<br />

ภายในถังแพคเบดมีคาสูงกวาชวงอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการทํางานของจุลินทรีย<br />

ทําใหผลผลิตที่ได<br />

จากการหมักลดลงหรืออาจเนาเสียไดดังนั้นจึงจําเปนตองมีการควบคุมอุณหภูมิ<br />

โดยการควบคุม<br />

แบบ Fuzzy ไดมีผูที่ทําการวิจัยมาแลวดังนี้<br />

ในป ค.ศ.1992 M. Mizumoto ไดเสนอเทคนิคการควบคุมแบบ Fuzzy PID ดวย Productsum-gravity<br />

method และ Simplified fuzzy reasoning method<br />

ในป ค.ศ.1996 J.S. Taur, C.W. Tao และ C.C. Tsai ไดเสนอวิธีการควบคุมอุณหภูมิของถัง<br />

สกัดพลาสติกโดยใช PID Fuzzy Controllers<br />

ในป พ.ศ.1998 Jan Jantzen ไดเสนอเทคนิคในการ Tuning Fuzzy PID Controllers<br />

ในป พ.ศ.2546 ปุณณา จารุรัตน ไดทําการหาแบบจําลองทางคณิตศาสตรการถายเทความ<br />

รอนและมวลแบบลัมปของการหมักแหงถั่งเหลืองในถังหมักชนิดแพคเบด<br />

ในป พ.ศ.2546 พงษประวัติ พิมพการัง ไดทําการออกแบบอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ<br />

อัตโนมัติแบบคํานวณตัวแปรภายในถังแพคเบด<br />

ในป พ.ศ.2547 ณัฐวุฒิ ชินธเนศ ไดทําการการหาแบบจําลองของระบบแขนหุ<br />

นยนตโดย<br />

ใช Adaptive Neuro-Fuzzy Models<br />

3

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!