18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การปองกันหมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

Power Transformer Protection<br />

โดย<br />

นายอิสรา ศิริตันหยง<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(วิศวกรรมไฟฟา)<br />

พ.ศ. 2547<br />

ISBN 974-274-183-2


กิตติกรรมประกาศ<br />

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี<br />

เนื่องจากไดรับความชวยเหลือและความ<br />

อนุเคราะหอยางดียิ่งของรองศาสตราจารย<br />

ดร. ตฤณ แสงสุวรรณ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ<br />

ซึ่ง<br />

ไดใหคําแนะนําและแนวทางในการทําวิทยานิพนธที่เปนประโยชนดวยดีตลอดมา<br />

นอกจากนี้<br />

ขาพเจาขอขอบพระคุณ คณะกรรมการที่ปรึกษาทุกทานซึ่ง<br />

ประกอบดวย อาจารย ดร. ปานจิต ดํารงกุลกําจร และอาจารย ดร. ชูเกียรติ การะเกตุ ที่ไดสละเวลา<br />

ตรวจสอบแกไขและใหคําแนะนําในการทําวิทยานิพนธจนสําเร็จลุลวงดวยดี<br />

สุดทายนี้<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ มารดาและผูที่มีพระคุณทุกทานที่ใหการ<br />

สนับสนุนแกขาพเจาตลอดมาจนสําเร็จการศึกษา<br />

นายอิสรา ศิริตันหยง<br />

เมษายน 2547


สารบัญ<br />

สารบัญ…………………………………………………………………………………….……..(1)<br />

สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………….(3)<br />

สารบัญภาพ………………………………………………………………………………………(5)<br />

คําอธิบายสัญลักษณ คํายอและอักษรยอ.......................................................................................(14)<br />

คํานํา………………………………………………………………………………………………..1<br />

วัตถุประสงค…………………………………………………………………………………...…..2<br />

การตรวจเอกสาร……………………………………………………………………………….…..3<br />

ทฤษฎีเบื้องตนของหมอแปลง..............…………………………………….……………..3<br />

โครงสรางหมอแปลง......................................................………….………………..……13<br />

การแบงชนิดหมอแปลง............................................................……………….…………33<br />

ระบบฉนวนหมอแปลง.......................…………………………………………………...35<br />

การตอหมอแปลงและกลุมเวกเตอร…………..……………………………………….....40<br />

การทดสอบหมอแปลง…………………………………………………………………..48<br />

หมอแปลงแบบออโต……………………………………………………………...……..74<br />

หมอแปลงกระแส........…………………………………………………………………..80<br />

กระแสพุงเขา...................………………………………………………………………..86<br />

ฮารมอนิกในหมอแปลง...………………………………………………………………..89<br />

ประเภทของความผิดพรองที่เกิดขึ้นในหมอแปลง...……………………………………..93<br />

การปองกันหมอแปลง..……………...…………………………………………………..98<br />

การขนานหมอแปลง........................................................................................................108<br />

อุปกรณและวิธีการ……………………………………………………………….….…………..111<br />

อุปกรณ……………………………………………………………………..…………..111<br />

วิธีการ……………………………………...………………………………..………….111<br />

ผลและวิจารณ ………………………………………………………………………………….115<br />

สรุป………………………………………………………………….………………………..…210<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง….…………………………………………………………………………220<br />

(1)<br />

หนา


สารบัญ (ตอ)<br />

ภาคผนวก………………………...………………………………………………………...……223<br />

ภาคผนวก ก ไดอะแกรมการตอรีเลยปองกันหมอแปลง……………...…….……….…224<br />

ภาคผนวก ข โครงสราง องคประกอบอื่นๆและ<br />

การตั้งคาอุปกรณปองกันหมอแปลง...249<br />

ภาคผนวก ค วิธีระบายความรอนของหมอแปลง..………………………………….....268<br />

ภาคผนวก ง รีเลยปองกันหมอแปลงรุนตางๆของบริษัทผูผลิต......................................276<br />

(2)<br />

หนา


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 ชนิดของการไหลเวียน.......................................................................................................27<br />

2 วิธีระบายความรอนของหมอแปลง....................................................................................28<br />

3 กลุมเวกเตอรหมอแปลงที่ใชงานทั่วไป.....................................................................….…46<br />

4 กลุมเวกเตอรหมอแปลงที่ใชเฉพาะงาน..............................................................................47<br />

5 ตารางแสดงการตอขดลวด กลุมเวกเตอร<br />

และแผนภาพเฟสเซอรของแรงดัน<br />

สําหรับหมอแปลงสามเฟส………………………………………………………………53<br />

6 ตารางแสดงการตอขดลวด กลุมเวกเตอร<br />

และแผนภาพเฟสเซอรของแรงดัน<br />

สําหรับหมอแปลงหกเฟส..................................................................................................54<br />

7 แสดงคาระดับแรงดันที่ใชทดสอบหมอแปลง....................................................................66<br />

8 แสดงการแบงประเภทเพื่อแบงระดับความแข็งแรงทางกลของหมอแปลง........................70<br />

9 แสดงตารางสรุปการทดสอบสําหรับหมอแปลงแบบแหง.................................................71<br />

10 แสดงตารางสรุปการทดสอบสําหรับหมอแปลงแบบฉนวนเหลว.................................72-73<br />

11 ความสัมพันธระหวางฮารมอนิกที่<br />

3 กับการตอขดลวดหมอแปลง……………………….92<br />

12 ตารางการเลือกใชงานบุคโฮลซรีเลย................................................................................120<br />

13 ตารางการเลือกคาเปอรเซ็นตความชัน..............................................................................130<br />

14 การเซตติ้งฟงกชันกระแสเกิน-เวลา..................................................................................137<br />

15 ตารางการเลือกพิกัดกระแสตอเนื่องของฟวส...................................................................139<br />

16 การเปรียบเทียบอัตราสวนการปองกันระหวางหมอแปลงกับกับดักเสิรจ………………142<br />

17 ตารางกับดักเสิรจของบริษัท GE………………………………………………………..142<br />

18 ขั้นตอนการเซตติ้งของรีเลยผลตางกรณีศึกษาที่<br />

3........………………...………………156<br />

19 ตารางคาคงที่ของรีเลยกระแสเกินรุน<br />

MCO …..….……………………………………159<br />

20 การเปรียบเทียบการเซตติ้งรีเลยทั้งสามชนิด…………………………………..….….…203<br />

21 การเปรียบเทียบฟงกชันรีเลยทั้งสามชนิด….………………………………………..….204<br />

22 การเปรียบเทียบรีเลยกระแสเกินทั้งสามชนิด………………………………………..….204<br />

(3)


สารบัญตาราง(ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

23 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแต<br />

1 ~ 5,000 kVA.....................211<br />

24 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงตั้งแตขนาด<br />

มากกวา5,000 kVA ~ ต่ํากวา10<br />

MVA...........................................................................212<br />

25 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไป...................213<br />

26 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต<br />

1 ~ 5,000 kVA……………215<br />

27 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวตั้งแตขนาด<br />

มากกวา 5,000 ~ แตไมเกิน10 MVA…………………………………………………..216<br />

28 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต10<br />

MVA ขึ้นไป...................217<br />

29 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต10<br />

MVA ขึ้นไป...................218<br />

30 สถิติความเสียหายหมอแปลงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย...…...................219<br />

(4)


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 กระแสของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะไมมีโหลด.............................................................6<br />

2 แผนภาพเวกเตอรของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะไมมีโหลด.............................................7<br />

3 กระแสของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด………………………………………..…8<br />

4 วงจรสมมูลยของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด.........................................................8<br />

5 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดรีซิสทีฟ(cos<br />

ϕ2 = 1)………….………………………..11<br />

6 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดอินดักทีฟ(cos<br />

ϕ2 < )......................................................11<br />

7 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดอินดักทีฟ(cos<br />

ϕ2 < 1)....................................................12<br />

8 เสนแรงสนามแมเหล็กของวิธีการมวนรอน(Hot rolled sheet steel)……….…….………14<br />

9 เสนแรงสนามแมเหล็กของวิธีแผนเหล็กมวนเย็นที่มีการเรียงตัวของผลึกคริสตัล<br />

( Cold rolled grain oriented silicon steel )..……….…………………………..….……..14<br />

10 ชนิดของแกนเหล็กแบบคอรของหมอแปลง 1 เฟสและหมอแปลง 3 เฟส………….……16<br />

11 แกนเหล็กแบบเชลของหมอแปลง 1 เฟสและหมอแปลง 3 เฟส.........................................17<br />

12 โครงสรางแกนเหล็กแบบตาง……………………………………………..………..……19<br />

13 ลักษณะของตัวนําที่ใชพันขดลวดหมอแปลง…………………………………….….…..20<br />

14 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบกนหอย แบบแผนจานและแบบทรงกระบอก.….21<br />

15 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบกนหอย(Helical winding)....................................21<br />

16 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบแผนจาน(Disk winding)……………………......22<br />

17 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบทรงกระบอก(Cylindrical winding)………….....22<br />

18 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบสลับขามบนลาง(Cross over winding)………....23<br />

19 ลักษณะของขดลวดหมอแปลงแบบเชล...........................................................................23<br />

20 ตัวถังแบบเรียบ(Plain tank)..............................................................................................25<br />

21 ตัวถังแบบมีทอไหลเวียนน้ํามัน(Tank<br />

with tube)…………………………………….....25<br />

22 ตัวถังแบบมีแผงระบายความรอน(Tank with radiator)....................................................26<br />

23 ตัวถังแบบติดตั้งตัวระบายความรอนแยกจากตัวถัง(Tank<br />

with separate cooler)..............26<br />

24 การระบายความรอนโดยอากาศตามธรรมชาติ (Natural air cooling ; AN)…………......29<br />

25 การระบายความรอนโดยการเปาอากาศ (Forced air cooling ; FA)……………...……...29<br />

(5)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

26 การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของอากาศและน้ํามัน……….…...30<br />

27 การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของน้ํามันและเปาอากาศ…...........30<br />

28 การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและอากาศไหลเวียนตามธรรมชาติ<br />

และสูบและฉีดน้ํามันผานปมและเปาอากาศ<br />

( OFAN/ OFAF)……………….…………31<br />

29 การระบายความรอนโดยน้ํามันไหลผานขดลวดโดยตรงและเปาอากาศ………………..32<br />

30 การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและใชน้ําไหลเวียน…………….…...32<br />

31 โครงสรางหมอแปลงชนิดแหง(Dry-Type Transformers)…………………...………….35<br />

32 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังปด (Sealed Tank)………………………………...36<br />

33 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังคอนเซอเวเตอร (Conservator tank)………….…...37<br />

34 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังปดที่มีกาซ-น้ํามัน<br />

(Gas-Oil Seal)………..…..…...38<br />

35 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบความดันกาซอัตโนมัติ (Automatic Gas Pressure)…..39<br />

36 การตอหมอแปลง3 เฟสแบบตางๆ....................................................................................41<br />

37 การตอหมอแปลงแบบวี-วี.................................................................................................42<br />

38 การตอหมอแปลงแบบซิกแซก..........................................................................................43<br />

39 การตอหมอแปลงแบบสก็อต.............................................................................................44<br />

40 การตอหมอแปลงแบบสกอตตเมื่อตอเขากับโหลด...........................................................44<br />

41 การตอหมอแปลงแบบเลอบล็อง........................................................................................45<br />

42 วงจรบริดจของทอมสันบริดจ(Thomson Bridge)………………………………………..49<br />

43 วงจรทดสอบวิธีโวลตมิเตอร-แอมปมิเตอร…………………………………………..….50<br />

44 สภาพขั้วบวกและสภาพขั้วลบ..........................................................................................50<br />

45 วงจรทดสอบของวิธีแรงดันกระแสสลับ(Alternating Voltage)…………………………51<br />

46 วงจรทดสอบของวิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method)………………………………...52<br />

47 วงจรทดสอบของวิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge)…………………………….....52<br />

48 วงจรทดสอบของวิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method)……………………..………….55<br />

49 วงจรทดสอบของวิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge Method)………………..…….56<br />

50 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ไมใชหมอแปลงเครื่องมือวัด.............................57<br />

(6)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

51 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ใชหมอแปลงเครื่องมือวัดตอรวม......................57<br />

52 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่ใชหมอแปลงเครื่องมือวัดตอรวม......................57<br />

53 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ไมมีหมอแปลงเครื่องมือวัด...............................58<br />

54 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่มีหมอแปลงเครื่องมือวัด……………………....59<br />

55 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่มีหมอแปลงเครื่องมือวัด……………………....59<br />

56 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซ.............................................................................60<br />

57 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซแบบรีซิสเตอร-คาปาซิสเตอร...............................60<br />

58 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซแบบอัตราสวนหมอแปลง....................................60<br />

59 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลงออโตที่ไมมีหมอแปลงเครื่องมือวัด……………………61<br />

60 วงจรสมมูลยแบบสตารของหมอแปลงสามขดลวด..........................................................61<br />

61 วงจรทดสอบอิมพีแดนซลําดับศูนย……………………………………………………..62<br />

62 วงจรทดสอบแรงดันอิมพัลส……………………………………………………………63<br />

63 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบสวิทชิ่ง.................................................................................63<br />

64 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบฟาผา....................................................................................64<br />

65 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบเต็มรูปคลื่นสับตามลําดับ………………………………….64<br />

66 วงจรทดสอบแรงดันประยุกตใชงาน................................................................................65<br />

67 วงจรทดสอบวิธีจายโหลดกลับแบบ 1 เฟส......................................................................69<br />

68 วงจรทดสอบวิธีจายโหลดกลับแบบ 3 เฟส......................................................................69<br />

69 การเปรียบเทียบระหวางหมอแปลงแบบแยกขดลวดกับหมอแปลงออโต........................74<br />

70 แผนภาพของมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบสตาร......................75<br />

71 แผนภาพของมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบเดลตา.....................76<br />

72 แผนภาพของมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบซิกแซก-สตาร........77<br />

73 ทิศทางการไหลของกระแสในกรณีที่ไมมีขดลวดตติยภูมิ<br />

ของหมอแปลงแบบแยกขดและหมอแปลงออโต.............................................................79<br />

74 ทิศทางการไหลของกระแสในกรณีที่ไมมีขดลวดตติยภูมิ<br />

ของหมอแปลงแบบแยกขดและหมอแปลงออโต..............................................................79<br />

(7)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

75 วงจรสมมูลยของหมอแปลงกระแส………………………………..…………………..81<br />

76 แผนภาพเฟสเซอรของหมอแปลงกระแส........................................................................82<br />

77 วงจรสมมูลยของหมอแปงกระแส...................................................................................84<br />

78 ปรากฎการณของกระแสพุงเขาในตอนเริ่มตน………………………………………….86<br />

79 ลักษณะของกระแสพุงเขาในตอนเริ่มตน<br />

( ก.) เมื่อหมอแปลง<br />

ตอแบบสตารและ( ข.) เมื่อหมอแปลงตอแบบเดลตา.......................................................87<br />

80 กระแสพุงเขาจากแรงดันกลับคืน.....................................................................................87<br />

81 กระแสพุงเขาจากผลกระทบของหมอแปลงที่ขนานกันตอเขาใชงานในระบบ................88<br />

82 ฟลักซเปนรูปคลื่นซายนแตกระแสไมมีโหลดกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่3…89<br />

83 กระแสไมมีโหลดเปนรูปคลื่นซายนแตฟลักซกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่3…90<br />

84 การปองกันแบบผลตางของหมอแปลงแปลง 1 เฟส........................................................98<br />

85 แสดงคุณลักษณะผลตางเปอรเซ็นตทางปฏิบัติ...............................................................100<br />

86 การปองกันกระแสเกินดวยรีเลย 50 และรีเลย 51............................................................101<br />

87 การปองกันความผิดพรองลงดินของขดลวดเดลตาและสตารโดยใชรีเลย 87N………..102<br />

88 การปองกันความผิดพรองลงดินของขดลวดเดลตาและสตารโดยใชรีเลย 67N…….….103<br />

89 การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณ………………………………………104<br />

90 การปองกันแบบผสมระหวางการวัดคาผลตางและการปองกัน<br />

ความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณ………………………………………………...106<br />

91 การปองกันความผิดพรองจากถังลงดิน..........................................................................106<br />

92 การขนานหมอแปลง 1 เฟส……………………………………………………………108<br />

93 การตอขั้วสายหมอแปลง<br />

3 เฟส สําหรับการขนานหมอแปลง…………………………110<br />

94 อุปกรณปลอยความดัน(Pressure Relief Device)............................................................116<br />

95 รีเลยความดันทันทีทันใด(Sudden Pressure Relay)……………………………….........117<br />

96 บุคโฮลซรีเลย(Buchholz Relay)………………………………………………………..118<br />

(8)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

97 การปองกันการสะสมของกาชในตัวถังหมอแปลง………………………………….….118<br />

98 การปองกันความดันสูงทันทีทันใด.................................................................................119<br />

99 การปองกันตัวถังหมอแปลงรั่ว........................................................................................119<br />

100 อุปกรณระบายความดันและวัดความดัน.........................................................................121<br />

101 ตัวตรวจจับกาชและถุงยาง..............................................................................................121<br />

102 อุปกรณวัดอุณหภูมิหมอแปลง........................................................................................123<br />

103 กราฟคุณลักษณะรีเลยผลตางแบบไมมีการไบแอส……………….…………………....124<br />

104 การปองกันผลตางแบบไมมีการไบแอส……………………………………………….124<br />

105 กราฟคุณลักษณะรีเลยผลตางแบบเปอรเซนตไบแอส.....................................................125<br />

106 การปองกันผลตางแบบเปอรเซนตไบแอส……………………………….………….....125<br />

107 การปองกันผลตางแบบอิมพีแดนซสูง.............................................................................126<br />

108 เสนโคงเปอรเซ็นตความชันของรีเลยแบบดิจิตอล..........................................................135<br />

109 วงจรการปองกันหมอแปลงจายโหลดสํารอง(RAT)ของโรงไฟฟาพระนครใต………..143<br />

110 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยปองกัน50/51RAT………………………...145<br />

111 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยปองกัน51GT…………….………………..146<br />

112 การปองกันหมอแปลงไฟฟาของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมวังนอย อยุธยา................147<br />

113 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยกระแสเกินรุน<br />

IFC53A ที่ความถี่<br />

50 Hz…..154<br />

114 วงจรการปองกันหมอแปลงของสถานีไฟฟา MS………………………………………155<br />

115 กราฟแสดงเสนโคงของความไวและคามิสแมทชของรีเลยรุน<br />

HU……………….........157<br />

116 การจัดลําดับการปองกันกระแสเกินที่เฟส.......................................................................163<br />

117 การจัดลําดับการปองกันกระแสเกินลงดิน.......................................................................163<br />

118 การปองกันผลตาง(87MT)...............................................................................................164<br />

119 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87MT)…………………….…….…………168<br />

120 การปองกันผลตาง(87UT)………………………..……………………………………..168<br />

121 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87UT)……………………………..……….171<br />

122 การปองกันผลตาง(87GT)................................................................................................172<br />

(9)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

123 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87GT)……………………………………..176<br />

124 การปองกันการลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(51NGT)……………………......177<br />

125 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(51NGT).......178<br />

126 ปองกันการลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(50/51UT)…………………………..178<br />

127 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันกระแสเกิน(50/51UT)……………………………..180<br />

128 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันแรงดันตอความถี่......................................................181<br />

129 การปองกันหมอแปลงไฟฟาของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี............................182<br />

130 กราฟคุณลักษณะของรีเลยปองกันผลตาง 87T (SR745)……………….………………183<br />

131 กราฟแสดงการปองกันกระแสเกินที่เฟส(51T)…………………………………………184<br />

132 กราฟแสดงการปองกันกระแสเกินที่จุดตอลงดิน(51TN)……………………………….185<br />

133 ขั้นตอนการระเบิดของหมอแปลง....................................................................................187<br />

134 ชุดอุปกรณของระบบปองกัน...........................................................................................188<br />

135 ชุดลดระดับความดัน(Depressurisation Sets)………………………………………..…189<br />

136 ชุดกําจัดกาช(Explosive gas elimination sets)………………………………………….190<br />

137 ชุดแยกน้ํามันออกจากกาช(Oil-gases<br />

separation sets)………………………………….190<br />

138 วาลวปดถังคอนเซอรเวเตอร(Conservator shutter)……………………………………..191<br />

139 แผงควบคุม(Control box)………………………………………………………………191<br />

140 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด...............................................................193<br />

141 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด...............................................................193<br />

142 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด...............................................................193<br />

143 ลอจิกไดอะแกรมของการปองกันการระเบิด...................................................................194<br />

144 ลอจิกไดอะแกรมของการดับไฟ.......................................................................................194<br />

(10)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพผนวกที่<br />

หนา<br />

1 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy1……………143<br />

2 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy11..…………144<br />

3 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd1……………145<br />

4 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd11…..………146<br />

5 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz1……………147<br />

6 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz11……… …148<br />

7 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy0……………149<br />

8 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy6……………150<br />

9 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd0……………151<br />

10 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd6……….……152<br />

11 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz0……….……153<br />

12 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz6……….……154<br />

13 การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลย 87 โดยใชหมอแปลงกระแสชวย………………155<br />

14 การปองกันแบบวัดคาผลตางแบบสมดุลยอยางหยาบ......................................................156<br />

15 การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่มีหนึ่งแหลงจาย.......................................................157<br />

16 การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่แหลงจายทั้งสองดาน…………………………..…158<br />

17 การปองกันการลัดวงจรลงดิน.........................................................................................159<br />

18 การปองกันการลัดวงจรในสายเฟสและการลัดวงจรลงดิน.............................................160<br />

19 การปองกันแบบวัดคาผลตางของหมอแปลงที่ตอลงดิน..................................................161<br />

20 การปองกันกระแสเกินของหมอแปลงที่ตอลงดิน...........................................................162<br />

21 การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณของหมอแปลงที่ตอลงดิน.....................163<br />

22 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T)..................................................................................164<br />

23 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชันกระแสเกิน(51G)……………………..165<br />

24 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชันกระแสเกิน (51N)……………………..165<br />

25 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชัน (87N)…………………………………166<br />

(11)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพผนวกที่<br />

หนา<br />

26 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบคอร.........................................................................248<br />

27 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเชล..........................................................................248<br />

28 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด……………………….....249<br />

29 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด....................................249<br />

30 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด......................................................................250<br />

31 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด...........................................................................251<br />

32 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด...........................................................................252<br />

33 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด...........................................................................252<br />

34 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด...........................................................................253<br />

35 อุปกรณความดันทันทีทันใด..........................................................................................254<br />

36 อุปกรณปลอยความดันชนิดตั้งคาใหมไดดวยตัวเอง(Self<br />

reset)………………………255<br />

37 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยในสถานะแรกเมื่อเกิดการสะสมกาช...............................256<br />

38 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยในสถานะสองเมื่อเกิดการพุงชนของน้ํามัน.....................257<br />

39 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยทั้งสองสถานะเมื่อเกิดการรั่วของน้ํามัน...........................257<br />

40 ลักษณะโครงสรางของบุคโฮลซรีเลย............................................................................258<br />

41 วงจรหนาสัมผัสของบุคโฮลซรีเลย................................................................................259<br />

42 อุปกรณระบายความดันและสูญญากาศ.........................................................................259<br />

43 อุปกรณวัดระดับน้ํามันแบบเเมกเนติค(Magnetic<br />

type)……………………….…..…..260<br />

44 อุปกรณวัดระดับน้ํามันแบบหนาปด(Dial<br />

type)……………………………….….......260<br />

45 อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันที่ติดตั้งที่ดานขางตัวถังหมอแปลง.....................261<br />

46 แสดงตัวอยางวงจรการวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันโดยใชตัวเทอรโมมิเตอร............262<br />

47 โครงสรางภายในตัวกรองอากาศ..................................................................................263<br />

48 ลักษณะโครงสรางของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร................................264<br />

49 แสดงสภาวะปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร..................................264<br />

50 แสดงสภาวะผิดปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร<br />

เมื่อมีกาซบางสวนเกิดขึ้นภายในตัวตรวจจับ................................................................265<br />

(12)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพผนวกที่<br />

หนา<br />

51 แสดงสภาวะผิดปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร<br />

เมื่อมีกาซเกิดขึ้นเต็มภายในตัวตรวจจับ……………………………………………....265<br />

52 ถุงยางในถังคอนเซอรเวเตอร........................................................................................265<br />

53 หมอแปลงแบบเเหงที่ระบายความรอนดวยอากาศรอบขางและ<br />

ระบายความรอนแบบ AA………………………………………………………..…269<br />

54 หมอแปลงแบบเเหงที่มีพัดลมระบายความรอนและระบายความรอนแบบ<br />

AA/FA....270<br />

55 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN……………………….270<br />

56 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN/ONAF/ONAF.............271<br />

57 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN/OFAF/OFAF………..271<br />

58 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

OFAF…..................................272<br />

59 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

OFWF….................................272<br />

60 ไดอะแกรมการระบายความรอนของหมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มี<br />

การระบายความรอนแบบ OFWF...............................................................................273<br />

(13)


คําอธิบายสัญลักษณ คํายอและอักษรยอ<br />

IEEE ยอมาจาก Institute of Electrical and Electronics Engineers<br />

ANSI ยอมาจาก Amercan National Standard Institute<br />

IEC ยอมาจาก International Electrotechnecal<br />

MMF คือ แรงดันแมเหล็ก(Magneto motve force)<br />

H คือ ความเขมสนามแมเหล็ก(Field intensity)<br />

∅ คือ ฟลักแมเหล็ก(Magnetic flux)<br />

B คือ ความหนาแนนของฟลักแมเหล็ก(Flux density)<br />

µ คือ ความซึมซาบจําเพาะ(Absolute permeability)<br />

ℜ คือ ความตานทานฟลักแมเหล็ก(Reluctance)<br />

σ คือ คาความนําจําเพาะ(Conductivity)<br />

(14)


การปองกันหมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

Transformer Protection<br />

คํานํา<br />

หมอแปลงไฟฟากําลังเปนอุปกรณหลักที่สําคัญในระบบสงจายและระบบจําหนายไฟฟา<br />

ซึ่งจะทําหนาที่เพิ่มและลดระดับแรงดันใหเหมาะสมกับการใชงาน<br />

ถาเกิดความเสียหายขึ้นที่ตัวหมอ<br />

แปลงจะทําใหระบบไฟฟาที่เกี่ยวของไมสามารถใชงานได<br />

ดังนั้นการปองกันหมอแปลงจึงเปนสิ่งที่<br />

สําคัญ โดยทั่วไปหมอแปลงไฟฟากําลังที่ใชกันมีตั้งแตขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญตามพิกัด<br />

โวลต-แอมป การปองกันของหมอแปลงแตละขนาดจึงมีความแตกตางกันออกไป ซึ่งการปองกัน<br />

หมอแปลงมีหลายประเภทตามลักษณะการใชงานเชน การปองกันทางไฟฟา(กระแสและแรงดัน)<br />

การปองกันทางความรอน(อุณหภูมิของน้ํามันและขดลวด)<br />

การปองกันทางดานความดันภายใน<br />

หมอแปลง<br />

สําหรับวิทยานิพนธฉบับนี้<br />

จะเปนการรวบรวม วิเคราะห สรุปและเปรียบเทียบการปองกัน<br />

หมอแปลงไฟฟากําลังประเภทตางๆที่ใชงานในอาคารเชิงพานิชและอุโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ระบบ<br />

จําหนายแรงต่ํา<br />

ระบบสงจายไฟฟาแรงสูง และระบบผลิตไฟฟา<br />

1


วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาความแตกตางทางดานโครงสรางที่มีผลตอการออกแบบหมอแปลงเพื่อ<br />

นําไปใชเปนขอมูลในการเลือกใชและรวมถึงนําไปใชในการออกแบบขอกําหนดในการจัดหาหรือ<br />

เลือกซื้อ<br />

หมอแปลง<br />

2. จากการศึกษาทําใหทราบถึงใหทราบถึงความสําคัญ หนาที่<br />

หลักการทํางาน และการเซต<br />

ติ้งคาของอุปกรณปองกันรวมทั้งขอดีขอเสีย<br />

3. สามารถนําไปเปนขอมูลในการปองกันหมอแปลงตามลักษณะโครงสรางและลักษณะ<br />

การใชงาน<br />

2


1. วงจรเเมเหล็ก(Magnetic circuit)<br />

การตรวจเอกสาร<br />

ทฤษฎีเบื้องตนของหมอแปลงไฟฟา<br />

คือเสนทางการเดินของฟลักแมเหล็กในแกนเหล็กหมอแปลงซึ่งในวงจรแมเหล็กจะ<br />

ประกอบดวยคาพารามิเตอรตางๆดังตอไปนี้(มงคล,<br />

ม.ป.ป.)<br />

1.1 ฟลักแมเหล็ก(Magnetic Flux ; ∅) เปรียบเทียบไดกับกระแสไฟฟาในวงจรไฟฟามีทิศ<br />

ทางการไหลเปลี่ยนแปลงไดเหมือนกระแสไฟฟามีหนวยเปนเวเบอร(Wb)โดยที่<br />

1 เวเบอร เทากับ<br />

10 8 เสน(lines)<br />

1.2 ความหนาแนนของฟลักแมเหล็ก(Flux Density ; B) เมื่อทราบคาฟลักแมเหล็ก(∅)และ<br />

พื้นที่หนาตัดของเสนทางเดินฟลักแมเหล็ก(A)มีหนวยเปนตารางเมตร<br />

สามารถหาคาความหนาแนน<br />

ของฟลักแมเหล็กไดเทากับ<br />

φ<br />

B =<br />

A<br />

Wb / m<br />

1.3 แรงดันแมเหล็ก(Magneto Motve Force ; MMF) ทําหนาที่สรางฟลักแมเหล็กในวงจร<br />

แมเหล็กสามารถหาไดจากผลคูณระหวางจํานวนรอบของขดลวด(N)กับกระแสไฟฟาที่จายใหกับ<br />

ขดลวด(I)จะไดวา<br />

MMF = NI<br />

(MMF)ตอความยาวของเสนทางเดินฟลักแมเหล็ก( l)สามารถเขียนเปนสมการไดวา<br />

2<br />

(1)<br />

A (2)<br />

1.4 ความเขมสนามแมเหล็ก(Field Intensity ; H) คืออัตราสวนระหวางแรงดันแมเหล็ก<br />

MMF NI<br />

H = =<br />

l l<br />

A / m<br />

(3)<br />

3


1.5 ความซึมซาบจําเพาะ(Absolute Permeability ; µ) คือคาที่แสดงคุณสมบัติของวัสดุที่<br />

ใชทําแกนเหล็กแตละชนิดวายอมใหเกิดสนามแมเหล็กไดมากหรือนอย คาความซึมซาบจําเพาะ(µ)<br />

ประกอบดวยความซึมซาบของอากาศ(Permeability of Free space ; µo) และความซึมซาบสัมพัทธ<br />

(Relative Permeability ; µr)นอกจากนี้ความซึมซาบจําเพาะ(µ)ในวงจรแมเหล็กแบงออกไดสอง<br />

กรณีไดแก กรณีแรกความซึมซาบจําเพาะ(µ)ของชองวางอากาศ(Air gap)โดยที่ในชองวางอากาศคา<br />

ความซึมซาบสัมพัทธ(µr)มีคาเทากับ 1 ดังนั้นเขียนเปนสมการไดวา<br />

µ = µ 0<br />

H / m (4)<br />

และกรณีที่สองความซึมซาบจําเพาะ(µ)ของวัสดุที่ใชทําแกนเหล็กจะเขียนเปนสมการไดวา<br />

โดยที่คาประกอบดวยความซึมซาบของอากาศ(µo)มีคาเทากับ<br />

µ = µ . µ<br />

H / m<br />

(5)<br />

r<br />

0<br />

µ = 4π× 10<br />

o<br />

−7<br />

H / m (6)<br />

เนื่องจากความซึมซาบจําเพาะ(µ)ของวัสดุที่ใชทําแกนเหล็กแตละชนิดขึ้นอยูกับความ<br />

หนาแนนของฟลักแมเหล็ก(B)และความเขมสนามแมเหล็ก(H)ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการแสดง<br />

ความสัมพันธไดดังนี้<br />

B<br />

µ = (7)<br />

H<br />

1.6 ความตานทานฟลักแมเหล็ก(Reluctance ; ℜ) คือตัวตานทานการไหลของฟลัก<br />

แมเหล็กในวงจรแมเหล็กสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้<br />

MMF<br />

ℜ= A / Wb<br />

(8)<br />

φ<br />

หรือถานําไปเทียบกับความตานทานทางไฟฟา(R)ของขดลวดทองแดง<br />

ρl<br />

l<br />

R = =<br />

A σ A<br />

4<br />

(9)


โดยที่<br />

σ คือคาความนําจําเพาะ(Conductivity)ซึ่งเทียบเทาคาความซึมซาบจําเพาะ(µ)<br />

ในวงจรแมเหล็กดังนั้นเราจะไดคาความตานทานแมเหล็ก(ℜ)<br />

เทากับ<br />

ℜ=<br />

µ A<br />

l<br />

2. แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในขดลวด(Induced<br />

Voltage in Winding)<br />

จากวงจรแมเหล็กที่กลาวขางตน(ศุภชัย,<br />

2543)เมื่อฟลักแมเหล็ก(∅max)สูงสุดวิ่งผานขดลวด<br />

ที่มีจํานวนรอบเทากับ<br />

N รอบดวยความถี่<br />

(f) กระแสสลับทําใหเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา(E)ที่ขดลวด<br />

ดังสมการที่<br />

(11) โดยที่มีคาฟอรมแฟคเตอรของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํารูปคลื่นซายน(Kf)เทากับ<br />

1.11<br />

E = 4K Nfφ= 4.44fNφ<br />

3. หมอแปลงในอุดมคติ(Ideal Transformer)<br />

f<br />

max max<br />

5<br />

(10)<br />

V (11)<br />

คือหมอแปลงที่ไมมีความสูญเสียใดๆและแกนเหล็กจะมีคาความซึมซาบสนามแมเหล็ก<br />

เปนอนันต ฟลักเเมเหล็กที่ถูกสรางขึ้นจากดานปฐมภูมิจะวิ่งไปยังดานทุติยภูมิโดยไมมีการรั่วไหล<br />

หรือไมมีฟลักแมเหล็กรั่วเกิดขึ้นและแบงออกไดเปนสองกรณีคือหมอแปลงในอุดมคติขณะไมมี<br />

โหลดและหมอแปลงในอุดมคติขณะมีโหลด(ศุภชัย, 2543)<br />

3.1 หมอแปลงในอุดมคติขณะไมมีโหลด สามารถเขียนสมการแรงดันเหนี่ยวนําทั้งดาน<br />

ปฐมภูมิและทุติยภูมิไดดังนี้<br />

E = 4.44 fNφm<br />

V (12)<br />

1 1<br />

E = 4.44 fN φm<br />

V<br />

(13)<br />

2 2<br />

ความสัมพันธระหวางแรงดันเหนี่ยวนําและจํานวนรอบของขดลวดหมอแปลงทั้งสอง<br />

ดานทําใหไดคาอัตราสวนการแปลง(Transformation Ratio ; a)<br />

E N<br />

a<br />

E N<br />

1 1 = = (14)<br />

2 2


3.2 หมอแปลงในอุดมคติขณะมีโหลด คือหมอแปลงที่นําโหลด(Z)มาตอทางดานทุติยภูมิ<br />

ทําใหไดความสัมพันธระหวางกระแสและแรงดันเหนี่ยวนําทั้งดานปฐมภูมิและทุติยภูมิไดดังนี้<br />

I<br />

E<br />

Z<br />

2<br />

2 = A (15)<br />

NI 1 1= NI 2 2<br />

E N I<br />

1 1 a = = =<br />

E2 N2 I<br />

2<br />

1<br />

4. หมอแปลงที่ใชงานจริงขณะไมมีโหลด(Practrical<br />

Transformer at No Load)<br />

หมอแปลงที่ใชงานจริงจะมีคาสูญเสียทางแกนเหล็กที่เกิดจากปรากฎการณฮีสเตอรีซิสและ<br />

กระแสไหลวนในแกนเหล็ก(ศุภชัย, 2543) และความซึมซาบสนามแมเหล็กของวัสดุแกนเหล็กมีคา<br />

คอนขางต่ําเมื่ออยูในสภาวะไมมีโหลดกระแสดานทุติยภูมิเทากับศูนย<br />

มีแตกระแสกระตุน<br />

สนามแมเหล็ก(Exciting current ; IO)ทางดานปฐมภูมิซึ่งประกอบดวยกระแสที่ทําใหเกิดความ สูญเสียในแกนเหล็ก(IC)และกระแสที่สรางสนามแมเหล็ก(IM) ดังแสดงในภาพที่<br />

1 และเวกเตอร<br />

ไดอะแกรมในภาพที่<br />

2<br />

I1 I 2 = 0<br />

IO<br />

IC M I<br />

+ +<br />

V1 2 V<br />

E1 2 E<br />

RC X m<br />

- -<br />

ภาพที่<br />

1 กระแสของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะไมมีโหลด<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

6<br />

(16)<br />

(17)


IO<br />

φm<br />

V1 1 E<br />

Im<br />

θo<br />

ภาพที่<br />

2 แผนภาพเวกเตอรของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะไมมีโหลด<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

และสามารถเขียนเปนสมการแสดงความสัมพันธไดดังนี้<br />

I<br />

C<br />

I = I + Ic<br />

(18)<br />

2 2<br />

o m<br />

I = I sinθ<br />

(19)<br />

m o<br />

I = I cosθ<br />

θ<br />

c o<br />

I<br />

7<br />

(20)<br />

−1<br />

m<br />

o = tan (21)<br />

Ic<br />

5. หมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด(Practrical<br />

Transformer Under Load)<br />

หมอแปลงที่ใชงานจริงเมื่อนํามาตอเขากับโหลดทางดานทุติยภูมิจะทําใหมีกระแสไหลใน<br />

วงจรหมอแปลงทั้งสองดาน(ศุภชัย,<br />

2543)ดังแสดงในภาพที่<br />

3 และสามารถเขียนความสัมพันธของ<br />

คาพารามิเตอรตางๆเปนสมการไดดังนี้<br />

I = I + I<br />

(22)<br />

1 o<br />

'<br />

1<br />

' I2<br />

I1<br />

= (23)<br />

a


V1<br />

'<br />

I I<br />

I 2 = 0<br />

1<br />

IO<br />

IC M I<br />

RC X m<br />

1<br />

+ +<br />

E1 2 E<br />

- -<br />

ภาพที่<br />

3 กระแสของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

LOAD<br />

6. วงจรสมมูลยของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด(Equivalent<br />

circuit of practrical<br />

transformer under load)<br />

หมอแปลงที่ใชงานจริงสามารถเขียนเปนวงจรสมมูลยทางไฟฟาเพื่อใชในการคํานวณคา<br />

กระแสไฟฟา แรงดันไฟฟา กําลังไฟฟาที่ใชงาน(ศุภชัย,<br />

2543)และกําลังไฟฟาที่สูญเสียภายในตัว<br />

หมอแปลงดังแสดงในภาพที่<br />

4<br />

I I a<br />

'<br />

I1 1 2 I2<br />

/ =<br />

R1 2 R<br />

X1 2 X<br />

IO<br />

IC M I<br />

+ +<br />

V1 2 V<br />

E1 2 E<br />

RC X<br />

LOAD<br />

m<br />

- -<br />

ภาพที่<br />

4 วงจรสมมูลยของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

V2<br />

8


โดยมีคาพารามิเตอรตางๆดังนี้<br />

V1 คือแรงดันที่ขั้วตอสายดานปฐมภูมิ<br />

V2 คือแรงดันที่ขั้วตอสายดานทุติยภูมิ<br />

E1 คือแรงดันเหนี่ยวนําที่ขดลวดดานปฐมภูมิ<br />

E2 คือแรงดันเหนี่ยวนําที่ขดลวดดานทุติยภูมิ<br />

I1 คือกระแสอินพุตดานปฐมภูมิ<br />

I2 คือกระแสเอาพุตดานทุติยภูมิ<br />

’<br />

I1 คือกระแสที่ไหลในขดลวดหมอแปลงดานปฐมภูมิ<br />

I0 คือกระแสกระตุนสนามแมเหล็ก<br />

IC คือกระแสที่ทําใหเกิดความสูญเสียในแกนเหล็ก<br />

IM คือกระแสที่สรางสนามแมเหล็ก<br />

R1 คือคาความตานทานขดลวดดานปฐมภูมิ<br />

R2 คือคาความตานทานขดลวดดานทุติยภูมิ<br />

RC คือคาความตานทานของหมอแปลงขณะไมมีโหลด<br />

X1 คือคารีแอคแตนซขดลวดดานปฐมภูมิ<br />

X2 คือคารีแอคแตนซขดลวดดานทุติยภูมิ<br />

Xm คือคารีแอคแตนซของหมอแปลงขณะไมมีโหลด<br />

7. เวกเตอรไดอะแกรมของหมอแปลงที่ใชงานจริงขณะมีโหลด(<br />

Vector Diagram of Practrical<br />

Transformer Under Load)<br />

เวกเตอรไดอะแกรมของหมอแปลงสามารถแบงออกไดเปนสามลักษณะโดยแบงตาม<br />

ความสัมพันธของมุมเฟส(cos ϕ2) ระหวางกระแสเอาพุตดานทุติยภูมิกับแรงดันที่ขั้วตอสายดาน<br />

ทุติยภูมิ(ศุภชัย, 2543)ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของโหลดวาเปนแบบโหลดรีซิสทีฟ(cos<br />

ϕ2 = 1) โหลดอิน<br />

ดักทีฟ(cos ϕ2 < 1) หรือโหลดคาปาซิทีฟ(cos ϕ2 > 1) เวกเตอรไดอะแกรมแตละชนิดของโหลด<br />

แสดงในภาพที่<br />

5 ถึงภาพที่<br />

7<br />

7.1 เวกเตอรไดอะแกรม เมื่อเปนโหลดรีซิสทีฟ(cos<br />

ϕ2 = 1)<br />

I = I ∠ ° (24)<br />

2 2 0<br />

9


E = V ∠ 0 °+ ( R + jX ) I ∠ 0°<br />

(25)<br />

2 2 2 2 2<br />

[ 0 ( ) 0 ]<br />

E =− aE =−a V ∠ °+ R + jX I ∠ ° (26)<br />

1 2 2 2 2 2<br />

' I2∠<br />

(180 ° )<br />

I1 = I0 + I1 = I0∠<br />

(180 °− θ0)<br />

+ (27)<br />

a<br />

V = E + I ( R + X )<br />

(28)<br />

1 1 1 1 1<br />

[ 0 ( ) 0 ]<br />

∴ V =−a V ∠°+ R + jX I ∠°<br />

1 2 2 2 2<br />

⎡ I2∠<br />

(180 ° ) ⎤<br />

=+<br />

⎢<br />

I0∠ (180 °− θ0)<br />

+ ( R1+ jX )<br />

⎣ a ⎥<br />

1<br />

⎦<br />

7.2 เวกเตอรไดอะแกรม เมื่อเปนโหลดอินดักทีฟ(cos<br />

ϕ2 < 1)<br />

I2 = I2∠ ϕ2°<br />

E = V ∠ 0 °+ ( R + jX ) I ∠ ϕ °<br />

2 2 2 2 2 2<br />

E = V + I (cosϕ − jsin ϕ )( R + jX )<br />

2 2 2 2 2 2 2<br />

[ (cosϕ sin ϕ )( ) ]<br />

1 2 2 2 2 2 2<br />

10<br />

(29)<br />

(30)<br />

(31)<br />

(32)<br />

E =− aE =− a V + I − j R + jX<br />

(33)<br />

2<br />

' I2∠<br />

(180 °−ϕ2)<br />

I1 = I0 + I1 = I0∠<br />

(180 °− θ0)<br />

+ (34)<br />

a<br />

V = E + I ( R + X )<br />

(35)<br />

1 1 1 1 1<br />

[ (cosϕ sin ϕ )( ) ]<br />

∴ V1 =− a V2 + I2 2 − j 2 R2 + jX2<br />

⎡ I2∠<br />

(180 °−ϕ2)<br />

⎤<br />

=+<br />

⎢<br />

I0∠ (180 °− θ0)<br />

+ ( R1+ jX )<br />

⎣ a ⎥<br />

1<br />

⎦<br />

(36)


7.3 เวกเตอรไดอะแกรม เมื่อเปนโหลดคาปาซิทีฟ(cos<br />

ϕ2 > 1)<br />

E = V + I (cosϕ + jsin ϕ )( R + jX )<br />

2 2 2 2 2 2 2<br />

[ (cosϕ sin ϕ )( ) ]<br />

1 2 2 2 2 2 2<br />

11<br />

(32)<br />

E =− aE =− a V + I + j R + jX2<br />

(33)<br />

' I2∠<br />

(180 °+ ϕ2)<br />

I1 = I0 + I1 = I0∠<br />

(180 °− θ0)<br />

+ (34)<br />

a<br />

[ (cosϕ sin ϕ )( ) ]<br />

∴ V =− a V + I + j R + jX2<br />

(35)<br />

1 2 2 2 2 2<br />

⎡ I2∠<br />

(180 °+ ϕ2)<br />

⎤<br />

=+<br />

⎢<br />

I0∠ (180 °− θ0)<br />

+ ( R1+ jX )<br />

⎣ a ⎥<br />

1<br />

⎦<br />

ภาพที่<br />

5 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดรีซิสทีฟ(cos<br />

ϕ2 = 1)<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

ภาพที่<br />

6 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดอินดักทีฟ(cos<br />

ϕ2 < 1)<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

(36)


ภาพที่<br />

7 แผนภาพเวกเตอรเมื่อเปนโหลดอินดักทีฟ(cos<br />

ϕ2 < 1)<br />

ที่มา<br />

: ศุภชัย (2543)<br />

12


โครงสรางหมอแปลง<br />

ในหัวขอนี้เราจะกลาวถึงโครงสรางหมอแปลงและองคประกอบอื่นๆ<br />

ของหมอแปลงโดย<br />

จะเนนที่หมอแปลงไฟฟากําลังและหมอแปลงไฟฟาในระบบจําหนาย<br />

โครงสรางและองคประกอบ<br />

ที่ใชในหมอแปลงขึ้นอยูกับขนาดของหมอแปลง<br />

1. แกนเหล็กหมอแปลง(Transformer Core)<br />

1.1 วัสดุที่ใชทําแกนเหล็ก<br />

วัสดุที่นํามาใชเปนแกนเหล็กหมอแปลงจะทําจากเหล็กผสม<br />

ซิลิกอน(Silicon)ประมาณ 4 ถึง 5 เปอรเซนตของน้ําหนัก<br />

ถาสวนผสมของซิลิกอนเกินกวา 5<br />

เปอรเซนตของน้ําหนักจะทําใหแผนเหล็กแตกหักงายไมสามารถนํามาตัดหรือปมขึ้นรูปเปนแกน<br />

เหล็กได และยังทําใหสูญเสียความออนตัว(Ductility) โดยที่แกนเหล็กจะถูกทําใหเปนแผนบางๆมี<br />

ความหนาประมาณ 0.33 มิลลิเมตร แลวนํามาเรียงซอนกันเพื่อลดกระแสไหลวนในแกนเหล็ก(Eddy<br />

Current)ซึ่งทําใหเกิดความสูญเสียทางแกนเหล็ก(Core<br />

Loss) นอกจากนี้แผนเหล็กที่ผสมซิลิกอน<br />

จะตองมีคาความตานทานสูง(High Resistivity) เพื่อลดกระแสไหลวนในแกนเหล็กดวยอีกทางและ<br />

มีคาความสูญเสียฮีสเตอรีซิสต่ํา(Low<br />

Hysteresis) กรรมวิธีในการผลิตแกนเหล็กหมอแปลง<br />

สามารถแบงไดสองวิธีคือ วิธีแรกเปนแบบแผนเหล็กมวนรอน(Hot-rolled Sheet Steel) และวิธีที่<br />

สองเปนแบบแผนเหล็กมวนเย็น(Coid-rolled Sheet Steel) โดยวิธีแผนเหล็กมวนรอนนั้นผลึก<br />

คริสตัลภายในแผนเหล็กจะเรียงตัวแบบสุมจะไมเรียงตัวไปในทิศทางเดียวกันและไมเรียงตัวตาม<br />

ทิศทางของการมวนแผนเหล็ก ทําใหไดคาความซึมซาบสนามแมเหล็กที่ต่ํา(Low<br />

Permeability)<br />

เหมาะสมกับหมอแปลงขนาดเล็กที่ไมตองการพิกัดกําลังที่สูง<br />

วิธีที่สองคือวิธีแผนเหล็กมวนเย็นซึ่ง<br />

ในการออกแบบหมอแปลงขนาดใหญที่ตองการพิกัดกําลังที่สูงจะใชวิธีที่เรียกวา<br />

แผนเหล็กมวนเย็น<br />

ที่มีการเรียงตัวของผลึกคริสตัล<br />

( Cold-rolled Grain Oriented Silicon Steel ) ซึ่งวิธีการนี้ทําให<br />

คริสตัลเรียงตัวในทิศทางเดียวกับทิศทางการมวนแผนเหล็กทําใหเกิดคาความซึมซาบสนามแมเหล็ก<br />

สูงสุดและทําใหเกิดคาความสูญเสียฮีสเตอรีซิสต่ํา<br />

วิธีที่สองจะทําใหลดความสูญเสียทางแกนเหล็ก<br />

และทําใหมีคุณสมบัติของเสนโคงสนามแมเหล็ก(B-H Curve) ดีกวาวิธีแรก ในภาพที่<br />

8 และ 9<br />

แสดงเสนแรงแมเหล็กของวิธีการมวนแผนเหล็กทั้งสองแบบ(Mark,<br />

1995)<br />

13


ภาพที่<br />

8 เสนแรงสนามแมเหล็กของวิธีการมวนรอน(Hot-rolled Sheet Steel)<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

เสนแรงสนามแมเหล็ก<br />

เสนแรงสนามแมเหล็ก<br />

ภาพที่<br />

9 เสนแรงสนามแมเหล็กของวิธีแผนเหล็กมวนเย็นที่มีการเรียงตัวของผลึกคริสตัล<br />

( Cold-rolled Grain Oriented Silicon Steel )<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

14


1.2 โครงสรางสนามแมเหล็กของหมอแปลง หมอแปลงในระบบไฟฟากําลังสามารถแบง<br />

ตามโครงสรางสนามแมเหล็กโดยการจัดวางรูปแบบของแกนเหล็กซึ่งแบงได<br />

2 ชนิดคือแกนเหล็ก<br />

แบบคอร(Core-form Cores )และแกนเหล็กแบบเชล(Shell-form Cores)<br />

1.2.1 แกนเหล็กแบบคอร โครงสรางแบบนี้ขดลวด(Coil)จะพันรอบขาแกน<br />

เหล็ก(Leg) รูปแบบของแกนเหล็ก สามารถแบงไดเปน 5 ชนิดไดแก<br />

ก. แกนเหล็กแบบ 1 เฟส 2 ขา โครงสรางแบบนี้เปนโครงสรางทั่วไป<br />

ของหมอแปลง 1 เฟสโดยที่ขดลวดดานแรงสูงและดานแรงต่ําจะแยกกันอยูในแตละขาและ<br />

พื้นที่หนาตัดแกนเหล็กในแตละขาจะเทากับพื้นที่หนาตัดแกนเหล็กของโยค(Yoke)<br />

นิยมใชกับหมอ<br />

แปลงที่มีขนาดพิกัดเล็กจนถึงพิกัดปานกลาง<br />

ข. แกนเหล็กแบบ 1 เฟส 3 ขา โครงสรางแบบนี้ขดลวดดานแรงสูงและ<br />

ดานแรงต่ําจะอยูบนแกนเหล็กขากลาง(Main<br />

Leg) พื้นที่หนาตัดแกนเหล็กขาจะใหญกวาแกนเหล็ก<br />

ขาดานขาง(Side Leg)และแกนเหล็กของโยค(Yoke) ประมาณสองเทา เหมาะสําหรับหมอแปลงที่มี<br />

ขนาดพิกัดใหญและมีพิกัดแรงดันไมสูงมาก<br />

ค. แกนเหล็กแบบ 1 เฟส 4 ขา โครงสรางแบบนี้ขดลวดดานแรงสูงและ<br />

ดานแรงต่ําจะแยกกันอยูบนแกนเหล็กขาที่<br />

2 และขาที่<br />

3 (Main Leg) พื้นที่หนาตัดแกนเหล็กขาที่<br />

2<br />

และขาที่<br />

3 จะใหญกวาแกนเหล็กขาดานขาง(Side Leg) ขาที่<br />

1 และขาที่<br />

4 และแกนเหล็กของโยค<br />

(Yoke) ประมาณสองเทา เหมาะสําหรับหมอแปลงที่มีขนาดพิกัดใหญและมีพิกัดแรงดันสูงมาก<br />

ง. แกนเหล็กแบบ 3 เฟส 3 ขา โครงสรางหมอแปลงแบบนี้เปน<br />

โครงสรางทั่วไปของหมอแปลง<br />

3 เฟสโดยขดลวดดานแรงสูงและดานแรงต่ําของแตละเฟสจะอยู<br />

รวมกันในขาแกนเหล็กเดียวกัน พื้นที่หนาตัดแกนเหล็กในแตละขาจะเทากับพื้นที่หนาตัดแกนเหล็ก<br />

ของโยค เหมาะสําหรับหมอแปลงพิกัดเล็กถึงพิกัดปานกลาง<br />

จ. แกนเหล็กแบบ 3 เฟส 5 ขา โครงสรางแบบนี้การจัดวางขดลวดจะ<br />

เหมือนกับแบบ 3 เฟส 3 ขาแตจะมีแกนเหล็กขาดานขางเพิ่มขึ้นมา<br />

2 ขา พื้นที่หนาตัดแกนเหล็กขา<br />

หลัก(ขาที่<br />

2 ถึงขาที่<br />

4 )จะใหญกวาแกนเหล็กขาดานขาง(ขาที่<br />

1 และ ขาที่<br />

5)และแกนเหล็กของโยค<br />

ประมาณ 2 เทาใชกับหมอแปลงพิกัดใหญ<br />

แกนเหล็กแบบคอรสําหรับหมอแปลงพิกัดใหญ(Large Capacity<br />

Transformer)จะมีปญหาเรื่องฟลักซรั่วไหล(Leakage<br />

Flux) ที่เพิ่มขึ้นตามพิกัดหมอแปลงและ<br />

ขอจํากัดดานความสูงของหมอแปลงในการขนสง โดยทั่วไปหมอแปลง<br />

3 เฟสจะใชแบบ 3 ขาและ<br />

หมอแปลง 1 เฟสจะใชแบบ 2 ขา ดังนั้นหมอแปลงพิกัดใหญ<br />

3 เฟสใชแบบ 5 ขา และหมอแปลง 1<br />

เฟสใชแบบ 3 ขาหรือแบบ 4 ขาในการแกปญหาขางตน โดยที่ขาดานขาง(Side<br />

Leg) ที่เพิ่มขึ้นมาจะ<br />

15


ชวยเปนเสนทางเดินของฟลักซทําใหลดปริมาณฟลักซรั่วไหลที่เกิดขึ้นและยังชวยเพิ่มความแข็งแรง<br />

ของตัวถังอีกดวย ในสวนพื้นที่หนาตัดแกนเหล็กของโยคทั้งดานบนและดานลางมีขนาดเล็กลงดาน<br />

ละ 50 เปอรเซนตทําใหความสูงของหมอแปลงลดลงมาไดมาก(Toshiba International Corporation,<br />

1996) ภาพที่<br />

10 แสดงชนิดของแกนเหล็กหมอแปลงแบบคอร<br />

HV LV HV&LV HV LV<br />

1 เฟส 2 ขา<br />

1 เฟส 3 ขา<br />

1 เฟส 4 ขา<br />

A B<br />

C A B<br />

C<br />

3 เฟส 3 ขา 3 เฟส 5 ขา<br />

ภาพที่<br />

10 ชนิดของแกนเหล็กแบบคอรของหมอแปลง 1 เฟสและหมอแปลง 3 เฟส<br />

ที่มา:<br />

Toshiba International Corporation (1996)<br />

1.2.2 แกนเหล็กแบบเชล โครงสรางแบบนี้แกนเหล็กจะลอมรอบขดลวดซึ่งมี<br />

การยึดจับและรองรับขดลวดไดดีกวาทําใหมีความเเข็งแรงตอแรงทางกลในขณะที่เกิดการลัดวงจร<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

11 คือชนิดของแกนเหล็กหมอแปลงแบบเชลทั้ง<br />

1 เฟส และ 3 เฟส(Mitsubishi<br />

Electric Corporation, 1990)<br />

16


ขดลวด แกนเหล็ก ขดลวด แกนเหล็ก<br />

1 เฟส 3 เฟส<br />

ภาพที่<br />

11 แกนเหล็กแบบเชลของหมอแปลง 1 เฟสและหมอแปลง 3 เฟส<br />

ที่มา:<br />

Mitsubishi Electric Corporation (1990)<br />

มุมมองดานบน<br />

มุมมองดานขาง<br />

1.3 โครงสรางแกนเหล็กหมอแปลง ในหมอแปลงขนาดเล็กโครงสรางแกนเหล็กรูปแบบ<br />

ตางๆสามารถที่จะปมขึ้นรูป(Punch)แผนเหล็กใหมีลักษณะตามที่ตองการไดในครั้งเดียว<br />

แตจะให<br />

สิ้นเปลืองแผนเหล็กในขบวนการผลิตและถานําวิธีนี้มาใชกับหมอแปลงขนาดใหญจะทําใหขั้นตอน<br />

ในการประกอบขดลวดมีความยุงยากมาก<br />

ดังนั้นในหมอแปลงขนาดใหญจึงนิยมทําแกนเหล็กให<br />

เปนรูปทรงตางๆเพื่อความสะดวกในการประกอบขดลวดเขากับแกนเหล็ก<br />

ซึ่งรูปทรงแกนเหล็กแต<br />

ละแบบจะทําใหเกิดชองวางอากาศ(Air gap) ที่รอยตอระหวางแผนแกนเหล็ก<br />

ทําใหมีผลตอกระแส<br />

กระตุนสนามแมเหล็ก(Magnetizing<br />

Current) เนื่องจากอากาศมีคาความซึมซาบสนามแมเหล็กต่ํา<br />

กวาเหล็ก ถาเกิดชองวางอากาศมากจะทําใหกระแสกระตุนสนามแมเหล็กสูงขึ้นซึ่งไมใชผลดี<br />

ที่<br />

รอยตอระหวางแกนเหล็กควรวางใหแนนและวางเหลื่อมกัน(Over<br />

lap)ทําใหผลของการเกิดฟลักซ<br />

17


กระโดดขามชองวางอากาศมีผลกระทบนอยที่สุด(GIBBS,<br />

1950) รูปทรงแกนเหล็กที่ใชกันทั่วไป<br />

แสดงในภาพที่<br />

12 จะมีลักษณะคลายตัวอักษรภาษาอังกฤษไดแก<br />

รูปทรงตัว I ใชสําหรับหมอแปลงแบบคอรขนาดเล็กชนิด 1 เฟส 2 ขา<br />

และแบบเชลชนิด 1 เฟส<br />

รูปทรงตัว E ใชสําหรับหมอแปลงแบบเชลขนาดเล็กชนิด 1 เฟส<br />

รูปทรงตัว L ใชสําหรับหมอแปลงในระบบจําหนายขนาดเล็กแบบคอร<br />

ชนิด 1 เฟส 2 ขาและแบบเชลชนิด 1 เฟส<br />

รูปทรงตัว C ใชกับหมอแปลงแบบเชลในระบบจําหนายทั่วไปจนถึงพิกัด<br />

100 กิโลโวลต-แอมปและใชกับหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

โดย<br />

จะใชแกนเหล็กรูปตัว C หรือ U สองอันประกบเขาหากัน<br />

รูปทรงตัว D เปนรูปแบบสําหรับหมอแปลงขนาดใหญถึงใหญที่สุดและใชได<br />

กับหมอแปลงแบบคอรและแบบเชล โดยจะมีลักษณะเปนแผน<br />

เหล็กตรงที่ปลายทั้งสองดานทํามุม<br />

45 องศา นํามาประกอบเปน<br />

รูปสี่เหลี่ยมหรือรูปตัว<br />

D<br />

2. ขดลวดหมอแปลงไฟฟา<br />

ตัวนํา(Conductor)ของขดลวดหมอแปลงไฟฟาในระบบไฟฟากําลังจะมีลักษณะเปนแผน<br />

ทองแดงสี่เหลี่ยมผืนผาถูกหุมดวยฉนวนกระดาษสีน้ําตาล(Kraft<br />

Paper) สามารถแบงลักษณะของ<br />

ตัวนําที่ใชพันขดลวดเปน<br />

3 แบบคือ ตัวนําเดี่ยว(Single<br />

Conductor) ตัวนําหลายตัวนํา(Multi<br />

Conductor)และสายตัวนําแบบสลับไปมา(Transposed wire) ดังแสดงในภาพที่<br />

13 นอกจากนี้<br />

ลักษณะการจัดวางและการพันขดลวดหมอแปลงยังแบงไดตามลักษณะโครงสรางแกนเหล็กหมอ<br />

แปลงไดดังนี้<br />

(Austen and Franklin, 1973)<br />

2.1 การพันขดลวดหมอแปลงแบบคอร คือการพันขดลวดหมอแปลงแบบวางซอนกัน<br />

(Concentric Winding)ระหวางขดลวดแรงสูงและขดลวดแรงต่ําภายในขาแกนเหล็ก(Limb)เดียวกัน<br />

โดยที่ขดลวดแรงต่ําจะอยูดานในและขดลวดแรงสูงจะอยูดานนอกและสามารถแบงชนิดของการ<br />

พันไดดังนี้<br />

18


2.1.1 การพันขดลวดแบบกนหอย(Helical Winding) ลักษณะการพันจะใชตัวนํา<br />

หลายเสนมาเรียงซอนกันตามแนวดานแบน ซึ่งตัวนําจะตอขนานกันแลัวนํามาพันรอบปลอกพัน<br />

ขดลวดแบบกนหอย(Helix) ตั้งแตปลายดานหนึ่งจนถึงปลายอีกดานหนึ่ง<br />

การประยุกตใชงาน<br />

จะเหมาะสําหรับใชเปนขดลวดหมอแปลงดานแรงต่ําหรือขดลวดหมอแปลงที่รับกระแสสูงดังแสดง<br />

ในภาพที่<br />

14(a) และภาพที่<br />

15<br />

แกนเหล็กรูปตัว I แกนเหล็กรูปตัว E<br />

แกนเหล็กรูปตัว L แบบคอรและแบบเชล แกนเหล็กรูปตัว C หรือ U<br />

ภาพที่<br />

12 โครงสรางแกนเหล็กแบบตาง<br />

ที่มา:<br />

GIBBS (1950)<br />

แกนเหล็กรูปตัว D<br />

19


2.1.2 การพันขดลวดแบบแผนจาน(Disk Winding) ลักษณะการพันจะใชตัวนําหนึ่ง<br />

ตัวหรือหลายตัว(ตอขนานกัน)โดยจะพันรอบปลอกพันขดลวดอยางตอเนื่องและจะมีลักษณะคลาย<br />

แผนจานในแตละรอบ การประยุกตใชงานจะเหมาะสําหรับใชเปนขดลวดหมอแปลงดานแรงสูง<br />

มากกวาดังแสดงในภาพที่<br />

14(b) และภาพที่<br />

16<br />

ตัวนําเดี่ยว<br />

(Single conductor)<br />

ตัวนําหลายตัวนํา<br />

(Multi conductor)<br />

สายตัวนําแบบสลับไปมา<br />

(Transposed wire)<br />

ภาพที่<br />

13 ลักษณะของตัวนําที่ใชพันขดลวดหมอแปลง<br />

ที่มา:<br />

Toshiba International Corporation (1996)<br />

2.1.3 การพันขดลวดแบบทรงกระบอก(Cylindrical Winding) ลักษณะการพันจะใช<br />

ตัวนําหนึ่งตัวหรือหลายตัว(ตอขนานกัน)โดยจะพันรอบปลอกพันขดลวดอยางตอเนื่อง<br />

ลักษณะการ<br />

วางของขดลวดบนปลอกพันขดลวดจะไมเหมือนกับแบบแผนจานการประยุกตใชงานจะเหมาะ<br />

สําหรับหมอแปลงที่มีขนาดเล็กและขนาดกลางใชเปนไดทั้งขดลวดแรงต่ําและแรงสูง<br />

สวนใหญ<br />

นิยมใชกับหมอแปลงที่มีตัวเปลี่ยนแท็ปขณะจายโหลดเนื่องจากการพันแบบนี้จะทําใหการกระจาย<br />

ของกระแสตอรอบ(Ampere-turn)มีความสม่ําเสมอตลอดทั้งความยาวขดลวดดังแสดงในภาพที่<br />

14(c) และภาพที่<br />

17<br />

2.1.4 การพันขดลวดแบบสลับขามบนลาง(Cross Over Winding) ใชกับขดลวดดาน<br />

แรงสูงที่ในหมอแปลงขนาดเล็ก<br />

การพันแบบนี้ในแตละชุดขดลวด(Coil)ประกอบดวยขดลวดหลาย<br />

ชั้น(Layer)<br />

ในแตละชั้นจะประกอบดวยขดลวดหลายรอบ<br />

ขดลวดที่สมบูรณแบบจะเปนการนําเอา<br />

ชุดขดลวดมาตอเขาดวยกันโดยปลายตัวนําดานในจะตอกับปลายตัวนําดานนอกของชุดขดลวดที่อยู<br />

ติดกัน ดังแสดงในภาพที่<br />

18<br />

20


2.2 การพันขดลวดหมอแปลงแบบเชล คือการพันขดลวดที่นําชุดขดลวด(Coil)มาวางซอน<br />

กันหลายชั้นเปนขดลวดที่สมบูรณซึ่งสามารถวางซอนสลับไปมาระหวางขดลวดแรงสูงและขดลวด<br />

แรงต่ํามีผลทําใหคาฟลักซรั่วไหลมีคานอยและยังสามารถกําหนดคารีเเอคเเตนซรั่วไหลในการออก<br />

เเบบหมอแปลงไดดวย ลักษณะของขดลวดแบบเชลแสดงดังภาพที่<br />

15<br />

(a) (b) (c)<br />

ภาพที่<br />

14 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบกนหอย แบบแผนจาน และแบบทรงกระบอก<br />

ที่มา:<br />

Hitachi, Ltd. (1995)<br />

ภาพที่<br />

15 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบกนหอย(Helical Winding)<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

21


ภาพที่<br />

16 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบแผนจาน(Disk Winding)<br />

ที่มา:<br />

Hitachi, Ltd. (1995)<br />

ภาพที่<br />

17 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบทรงกระบอก(Cylindrical Winding)<br />

ที่มา:<br />

Hitachi, Ltd. (1995)<br />

22


ภาพที่<br />

18 ลักษณะการพันขดลวดหมอแปลงแบบสลับขามบนลาง(Cross Over Winding)<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

ภาพที่<br />

19 ลักษณะของขดลวดหมอแปลงแบบเชล<br />

ที่มา:<br />

Mitsubishi Electric Corporation (1990)<br />

23


3. ตัวถังหมอแปลง(Tanks)<br />

วัสดุที่ใชคือเหล็กที่ความแข็งแรงและสามารถระบายความรอนไดดี(Bernard,<br />

1987)และ<br />

แบงออกไดเปน 4 ชนิดคือ<br />

3.1 ตัวถังแบบเรียบ(Plain Tank) ใชกับฉนวนน้ํามันระบายความรอนผานพื้นผิวตัวถังใช<br />

กับหมอแปลงระบบจําหนายขนาดเล็กจนถึงพิกัดประมาณ 50 กิโลโวลต-แอมป ตัวถังมีความหนา<br />

ประมาณ 3 มิลลิเมตรทําจากแผนเหล็กผิวเรียบจะพบเห็นไดตามเสาไฟฟาทั่วไปแสดงในภาพที่<br />

20<br />

3.2 ตัวถังแบบมีทอไหลเวียนน้ํามัน(Tank<br />

with Tube) ใชกับฉนวนน้ํามันโดยจะมีทอทรง<br />

กลมยื่นออกมาตัวถังตอระหวางตัวถังดานบนกับดานลางเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวของตัวถังใหสัมผัสอากาศ<br />

ภายนอก โดยอาศัยหลักการน้ํามันที่มีอุณหภูมิสูงจะลอยตัวขึ้นสูดานบน<br />

ทําใหเกิดการไหลเวียน<br />

ของน้ํามันจากบนลงลาง<br />

ตัวถังแบบนี้ใชกับหมอแปลงที่มีพิกัดไมเกิน<br />

3000 กิโลโวลต-แอมปแสดง<br />

ในภาพที่<br />

21<br />

3.3 ตัวถังแบบมีแผงระบายความรอน(Tank with Radiator) ใชักับหมอแปลงที่พิกัดตั้งแต<br />

5000 ถึง 10000 กิโลโวลต-แอมป ที่ตัวถังจะมีแผงระบายความรอนและอาศัยการระบายความรอน<br />

ตามธรรมชาติ สําหรับหมอแปลงที่มีขนาดใหญกวา<br />

10000 กิโลโวลต-แอมปขึ้นไปจะใชอุปกรณ<br />

ระบายความรอนเชน พัดลมหรือปมน้ํามัน<br />

หรือทั้งพัดลมทํางานรวมกับปมน้ํามัน<br />

นอกจากนี้หมอ<br />

แปลงที่ติดตั้งใกลกับแหลงน้ําเชนในโรงไฟฟาพลังน้ําอาจจะใชแผงระบายความรอนที่ใชน้ําเขามา<br />

เปนตัวกลางระบายความรอนแสดงในภาพที่<br />

22<br />

3.4 ตัวถังแบบติดตั้งตัวระบายความรอนแยกจากตัวถัง(Tank<br />

with Separate Cooler)ใน<br />

กรณีที่หมอแปลงมีพิกัดกําลังสูงมากจนไมสามารถติดตั้งแผงระบายความรอนที่ตัวถังไดเพียงพอ<br />

จึง<br />

จําเปนตองติดตั้งตัวระบายความรอนแยกออกจากตัวถังหมอแปลง<br />

โดยจะเดินทอน้ํามันระหวาง<br />

ตัวถังหมอแปลงกับแผงระบายความรอนแสดงในภาพที่<br />

23<br />

24


ภาพที่<br />

20 ตัวถังแบบเรียบ(Plain Tank)<br />

ที่มา:<br />

Bernard (1987)<br />

ภาพที่<br />

21 ตัวถังแบบมีทอไหลเวียนน้ํามัน(Tank<br />

with Tube)<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

25


ภาพที่<br />

22 ตัวถังแบบมีแผงระบายความรอน(Tank with Radiator)<br />

ที่มา:<br />

Bernard (1987)<br />

ภาพที่<br />

23 ตัวถังแบบติดตั้งตัวระบายความรอนแยกจากตัวถัง(Tank<br />

with separate cooler)<br />

ที่มา:<br />

Bernard Hochart (1987)<br />

26


4. วิธีระบายความรอน(Cooling Methods)<br />

ในระหวางที่หมอแปลงไฟฟากําลังทํางานจายโหลดอยูนั้น<br />

จะเกิดความสูญเสียพลังงานใน<br />

ตัวหมอแปลงซึ่งทําใหเกิดความรอนขึ้นและแหลงกําเนิดความสูญเสียพลังงานที่ตัวหมอแปลงสอง<br />

สาเหตุใหญ สาเหตุแรกคือวงจรแมเหล็กไฟฟาของหมอแปลง เปนที่หนึ่งของการเปลี่ยนแปลงฟ<br />

ลักซกระแสสลับในแกนเหล็ก ซึ่งมีผลตอการเหนี่ยวนําแรงดันที่ใชงาน(Applied<br />

voltage) สาเหตุที่<br />

สองคือขดลวดหมอแปลง เปนที่ๆทําใหเกิด<br />

ความสูญเสียแบบ I 2 R และกระแสไหลวนในแกนเหล็ก<br />

(Eddy Current) ซึ่งมีความสัมพันธกับกระแสและโหลด<br />

หมอแปลงสามารถแบงออกตามระบบ<br />

ฉนวนไดสองชนิด(IEEE Standard C57.12.00, 2000)ไดแก หมอแปลงฉนวนแชในน้ํามัน<br />

(Immersed Transformer) และหมอแปลงฉนวนแหง(Dry-type Transformer) และการระบายความ<br />

รอนของหมอแปลงจะใชสัญลักษณที่เปนตัวอักษรแทนชนิดของการไหลเวียนของตัวกลางระบาย<br />

ความรอนดังแสดงในตารางที่<br />

1 นอกจากนี้ยังใชตัวอักษรแทนชนิดของตัวกลางระบายความรอนคือ<br />

อากาศ(Air ; A) น้ํามัน(Oil<br />

; O) และน้ํา(Water<br />

;W) ซึ่งวิธีการระบายความรอนของหมอแปลงทั้ง<br />

แบบฉนวนแหงและแบบฉนวนแชในน้ํามันสรุปไวในตารางที่<br />

2 นอกจากนี้ภาพที่<br />

24 ถึงภาพที่<br />

30<br />

แสดงการระบายความรอนชนิดตาง<br />

ตารางที่<br />

1 ชนิดของการไหลเวียน<br />

ชนิดของการไหลเวียน(Type of Circulation)<br />

1. แบบธรรมชาติ (Natural)<br />

2. แบบสูบและฉีดผานปมแบบฉนวนแชในน้ํามัน<br />

หรือ เปาอากาศสําหรับ<br />

ฉนวนแหงและฉนวนแชในน้ํามัน<br />

(Forced)<br />

3. แบบไหลผานขดลวดโดยตรง (Directed through the Winding)<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

สัญลักษณ<br />

N<br />

F<br />

D<br />

27


ตารางที่<br />

2 วิธีระบายความรอนของหมอแปลง<br />

วิธีระบายความรอน(Methods of Cooling)<br />

หมอแปลงฉนวนแหง<br />

1. การระบายความรอนโดยอากาศตามธรรมชาติ (Natural Air Cooling)<br />

2. การระบายความรอนโดยการเปาอากาศ (Forced Air Cooling)<br />

หมอแปลงฉนวนแชในน้ํามัน<br />

1. การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของอากาศและน้ํามัน<br />

(Natural Circulation of Air and Oil)<br />

2. การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของน้ํามันและเปา<br />

อากาศ(Natural Oil Circulation and Forced Air Circulation )<br />

3. การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและอากาศไหลเวียนตาม<br />

ธรรมชาติ (Forced Oil and Natural Circulation of Air )<br />

4. การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและเปาอากาศ<br />

(Forced Oil and Air Circulation )<br />

5. การระบายความรอนโดยน้ํามันไหลผานขดลวดโดยตรงและเปาอากาศ<br />

(Directed Oil through the Winding and Forced Air Circulation )<br />

6. การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและใชน้ําไหลเวียน<br />

(Forced Oil and Water Circulation )<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

สัญลักษณ<br />

AN or AA<br />

FA<br />

ONAN<br />

ONAF<br />

OFAN<br />

OFAF<br />

ODAF<br />

OFWF<br />

28


ภาพที่<br />

24 การระบายความรอนโดยอากาศตามธรรมชาติ (Natural Air Cooling ; AN or AA)<br />

ที่มา:<br />

ABB, Ltd. (2003)<br />

ภาพที่<br />

25 การระบายความรอนโดยการเปาอากาศ (Forced Air Cooling ; FA)<br />

ที่มา:<br />

Mitsubishi Electric Corporation (1990)<br />

29


ภาพที่<br />

26 การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของอากาศและน้ํามัน<br />

(Natural Circulation of Air and Oil ; ONAN)<br />

ที่มา:<br />

SIEMENS, Ltd. (2002)<br />

ภาพที่<br />

27 การระบายความรอนโดยการไหลเวียนตามธรรมชาติของน้ํามันและเปาอากาศ<br />

(Natural Oil Circulation and Forced Air Circulation ; ONAF )<br />

ที่มา:<br />

SIEMENS, Ltd. (2002)<br />

30


ภาพที่<br />

28 การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและอากาศไหลเวียนตามธรรมชาติ<br />

และสูบและฉีดน้ํามันผานปมและเปาอากาศ<br />

( OFAN/ OFAF) ทํางานรวมกันสองขั้นโดย<br />

ที่เปนหมอแปลงแบบสองพิกัดโวลต-แอมปในตัวเดียว<br />

ภาพดานบนแสดงทิศทางการ<br />

ไหลของน้ํามันและภาพดานลางแสดงภาพจริงของหมอแปลงที่มีสองพิกัดโวลต-แอมป<br />

ที่มา:<br />

Mitsubishi Electric Corporation (1990)<br />

31


ภาพที่<br />

29 การระบายความรอนโดยน้ํามันไหลผานขดลวดโดยตรงและเปาอากาศ<br />

(Directed Oil through the Winding and Forced Air Circulation ; ODAF )<br />

ที่มา:<br />

SIEMENS, Ltd. (2002)<br />

ภาพที่<br />

30 การระบายความรอนโดยสูบและฉีดน้ํามันผานปมและใชน้ําไหลเวียน<br />

(Forced Oil and Water Circulation ; OFWF)<br />

ที่มา:<br />

SIEMENS, Ltd. (2002)<br />

32


1. หมอแปลงที่แบงตามขนาด<br />

การแบงชนิดหมอแปลง<br />

1.1 หมอแปลงในระบบจําหนาย(Distribution Transformer) คือหมอแปลงที่ใชถายโอน<br />

พลังงานไฟฟาจากวงจรจําหนายไฟฟาหลักไปยังวงจรจําหนายไฟฟายอย หรือวงจรไฟฟาของผูใช<br />

ไฟ เชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย ที่พักอาศัย<br />

ซึ่งสวนใหญจะใชเปนหมอแปลงตัว<br />

สุดทายที่เชื่อมโยงระหวางแหลงผลิตไฟฟากับโหลดและจะติดตั้งบนเสาไฟฟา<br />

ภายในอาคารหรือ<br />

ในตูสวิตซเกียร<br />

(Stephen, 1999)<br />

1.2 หมอแปลงไฟฟากําลัง(Power Transformer) คือหมอแปลงที่ใชถายโอนหลังงานไฟฟา<br />

จากเครื่องกําเนิดไฟฟาไปยังวงจรจําหนายไฟฟาหลัก<br />

และโดยทั่วไปมีขนาดใหญเกินกวาที่จะติดตั้ง<br />

บนเสาไฟฟา แตจะติดตั้งบนแทนคอนกรีต<br />

มีพิกัดโวลต-แอมป และระดับแรงดันที่สูง<br />

จะไดเห็น<br />

ตามโรงไฟฟาไดแกหมอแปลงแปลงแรงดันใหสูงขึ้น<br />

(Step up Transformer ) หรือในสถานีไฟฟาที่<br />

ใชเชื่อมโยงเพิ่ม<br />

และลดระดับแรงดันระบบสายสงไฟฟา<br />

2. ชนิดของหมอแปลงที่แบงตามลักษณะของฉนวนปองกัน<br />

2.1 หมอแปลงแบบแหง(Dry-type Transformer) คือหมอแปลงที่มีลักษณะการจัดวาง<br />

โครงสรางของแกนเหล็กและขดลวดที่ใชฉนวนแบบแหงหรือใชฉนวนที่เปนกาซมาเปนตัวกลาง<br />

ฉนวน (Insulation Medium)โดยหมอแปลงแบบแหงนี้จะใชเปนหมอแปลงในระบบจําหนายที่มี<br />

ขนาดเล็ก ถึงปานกลางติดตั้งภายในอาคารหรือในตูสวิตซเกียร<br />

2.2 หมอแปลงแบบฉนวนเหลว(Liquid Filled Transformer) คือหมอแปลงที่มีลักษณะการ<br />

จัดวางแกนเหล็กและขดลวดแชอยูในฉนวนเหลว<br />

สวนใหญใชฉนวนน้ํามัน<br />

ใชเปนหมอแปลงใน<br />

ระบบจําหนายที่ติดตั้งภายนอกอาคารและหมอแปลงไฟฟากําลังที่มีพิกัดโวลตแอมปสูง<br />

33


3. ชนิดของหมอแปลงที่แบงตามลักษณะการใชงาน<br />

3.1 หมอแปลงแบบปรับแรงดันขณะจายโหลด(Load Tap Changer Transformer) คือหมอ<br />

แปลงที่ใชกับวงจรที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับแรงดันบอยๆ<br />

เชนหมอแปลงในสถานีไฟฟาโดยจะมี<br />

ตัวเปลี่ยนแท็ป(Tap<br />

Changer) ชวยในการปรับแรงดัน และมีลักษณะการพันขดลวดจะมีแทปของ<br />

ขดลวดหลายแทป นํามาตอเขากับตัวเปลี่ยนแทป<br />

ภายในตัวหมอแปลง<br />

3.2 หมอแปลงแบบรักษาระดับเอาทพุตใหคงที่(Regulating<br />

Transformer) คือหมอแปลงที่<br />

ใชกับวงจรที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับแรงดัน<br />

หรือมุมเฟสของทางดานวงจรเอาทพุต ทําหนาที่<br />

ควบคุมเอาทพุตของหมอแปลงใหอยูภายในขีดจํากัดที่ระบุไว<br />

นอกจากนี้ยังชดเชยการแกวงไปมา<br />

ของโหลดและแรงดันอินพุต<br />

3.3 หมอแปลงแบบเลื่อนมุมเฟส(Phase-shifting<br />

Transformer) คือหมอแปลงที่ทําหนาที่<br />

เพิ่ม<br />

หรือหนวง ความสัมพันธมุมเฟสแรงดันจากวงจรไฟฟาหนึ่งกับอีกวงจรไฟฟา<br />

3.4 หมอแปลงเตาหลอม(Furnace Transformer) คือหมอแปลงที่สรางขึ้นมาเพื่อใชกับการ<br />

หลอมโลหะดวยไฟฟาโดยเฉพาะ<br />

3.5 หมอแปลงที่ตอแบบสก็อตหรือที(Scott<br />

or T Connection Transformer) คือหมอแปลง<br />

ที่ใชถายโอนพลังงานจากวงจรสามเฟสไปเปนวงจรสองเฟส<br />

หรือจากสองเฟสเปนสามเฟสโดย<br />

ลักษณะของโครงสรางขดลวดจะมีแท็ปกึ่งกลาง<br />

สําหรับการตอภายใน(Inter Connection) และจะใช<br />

แกนเหล็กแบบ 3 ขา(3-leg core) ขดลวดหลัก(main coil) และขดลวดทีสเซอร(Teasor Coil) จะพันที่<br />

ขาดานขางทั้งสองสวนขากลางจะไมมีขดลวด<br />

แตมีไวเพื่อเปนทางเดินแมเหล็กรวม<br />

3.6 หมอแปลงตอลงดิน(Grounding Transformer) คือหมอแปลงที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อเพิ่ม<br />

ระบบกราวนใหกับวงจรที่ตอแบบเดลตาใชสําหรับการปองกันการลัดวงจรลงดิน<br />

3.7 หมอแปลงเครื่องวัด(Instrument<br />

Transformer) คือหมอแปลงที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อลด<br />

ระดับกระแสและแรงดันจากวงจรไฟฟาหลัก(Primary Circuit) ลงมาทางดานวงจรไฟฟารอง<br />

(Secondary Circuit) ใชสําหรับวงจรการปองกันอุปกรณไฟฟา<br />

34


ระบบฉนวนหมอแปลงไฟฟา(Transformer Insulation Systems)<br />

ฉนวนหมอแปลงประกอบดวยองคประกอบหลายอยางไมวาจะเปนแกนเหล็กหรือขดลวด<br />

ตางก็ถูกหอหุมดวยฉนวนที่หลากหลายชนิด<br />

รวมไปถึงพลาสติกไม กระดาษ วานิช น้ํามันหมอ<br />

แปลงและอื่นๆ<br />

แกนเหล็กและขดลวดถูกแชในตัวกลาง(Medium) เพื่อเปนฉนวนและระบายความ<br />

รอน ในหมอแปลงขนาดเล็ก ตัวกลางอาจจะเปนอีพ็อกซี่แข็ง<br />

(Solid Epoxy) หรืออากาศ ขณะที่<br />

หมอแปลงขนาดใหญจะใชฉนวนเหลวเชนน้ํามันหมอแปลง<br />

(SAWHNEY, 1977)<br />

1. หมอแปลงชนิดแหง(Dry-Type Transformers)<br />

คือหมอแปลงที่ไมมีของเหลวเปนฉนวนและระบายความรอน<br />

หมอแปลงแบบแหงสวน<br />

ใหญจะใชอากาศเปนตัวฉนวนและระบายความรอน นอกจากนี้อาจจะนํากาซไนโตรเจนและกาซ<br />

ฟลูโอคารบอนมาใชเปนตัวกลางได ภาพที่<br />

31 แสดงลักษณะของแกนเหล็กและขดลวดของหมอ<br />

แปลงแบบแหง แกนเหล็กและขดลวดถูกยึดอยูกับอีพ็อกซี่เรซิน<br />

(Epoxy Resin) ตัวอีพ็อกซี่เปน<br />

ฉนวนไฟฟาที่ดีและมีความแข็งแรง<br />

ภาพที่<br />

31 โครงสรางหมอแปลงชนิดแหง(Dry-Type Transformers)<br />

ที่มา:<br />

Mitsubishi Electric Corporation (1990)<br />

35


2. หมอแปลงชนิดเติมฉนวนเหลว(Liquid-Filled Transformers)<br />

หมอแปลงไฟฟากําลังสวนใหญและหมอแปลงไฟฟาในระบบจําหนายขนาดใหญ จะใช<br />

น้ํามันเปนฉนวนและเปนตัวกลางระบายความรอน<br />

หมอแปลงประเภทนี้สามารถแบงออกไดเปน<br />

5<br />

แบบตามลักษณะการออกแบบดังนี้<br />

2.1 แบบถังเปด (Open Tank) หมอแปลงแบบนี้จะมีตอตอจากตัวถังใหอากาศภายนอก<br />

ไหลเขาและออกจากหมอแปลงได โดยทอจะเปนแบบทอเปดหรือเปนแบบดีไฮเดรติ้งบรีทเทอร<br />

(dehydrating breather) ซึ่งทอแบบหลังนี้จะใชซิลิกาเจลดูดความชื้นจากอากาศ<br />

หมอแปลงแบบถัง<br />

เปดจะพบในหมอแปลงรุนเกา<br />

ขอเสียของหมอแปลงแบบนี้คือจะตองมีการตรวจสอบตัวดีไฮเดร<br />

ติ้งบรีทเทอรอยางสม่ําเสมอ<br />

2.2 แบบถังปด (Sealed Tank) หมอแปลงแบบนี้พัฒนามาจากแบบถังเปด<br />

แกนเหล็ก<br />

ขดลวด และน้ํามันถูกหอหุมในถังหมอแปลงโดยไมมีทอแสดงในภาพที่<br />

32 บางครั้งในหมอแปลง<br />

ขนาดใหญ จะมีการเติมกาซหอหุมในถัง<br />

ปกติจะใชกาซไนโตรเจน หมอแปลงแบบนี้ออกแบบเพื่อ<br />

ปองกันอากาศจากภายนอกเขาไปสัมผัสกับน้ํามัน<br />

ตัวถังจะใชการเชื่อมปดแทนการใชนอตขัน<br />

หมอ<br />

แปลงแบบนี้สวนใหญจะเปนชนิดแรงดันต่ําและติดตั้งบนเสาไฟฟา<br />

ชองวางดานบน<br />

น้ํามัน<br />

ภาพที่<br />

32 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังปด (Sealed Tank)<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

ตัวถัง<br />

36


2.3 แบบถังคอนเซอเวเตอร (Conservator tank) หมอแปลงแบบนี้จะมีถังอีกหนึ่งถังติด<br />

ตั้งอยูดานบนของตัวถังหลัก<br />

ที่ตัวถังหลัก<br />

ที่ตัวถังหลักจะมีน้ํามันเติมจนเต็ม<br />

และในสวนถังคอน<br />

เซอเวเตอรจะมีน้ํามันประมาณครึ่งถัง<br />

ซึ่งจะมีปริมาณน้ํามันประมาณ<br />

3-10% ของน้ํามันทั้งหมด<br />

หมอแปลงแบบนี้จะมีการถายเทอากาศผานตัวดีไฮเดรติ้งบรีทเทอรที่ติดตั้งบนถังคอนเซอเวเตอร<br />

เมื่อน้ํามันในหมอแปลงขยายและหดตัว<br />

อากาศภายนอกจะถูกดูดเขาสูถึงคอนเซอเวเตอร<br />

อากาศที่<br />

ไมดีและถูกดูดเขาสูถังคอนเซอเวเตอร<br />

และถูกดูดลงสูบอดักอากาศ<br />

(sump) และจะดูดทิ้งออกจาก<br />

หมอแปลง ดังแสดงในภาพที่<br />

33 ถังคอนเซอเวเตอรรุนใหมจะมีถุงสังเคราะหติดตั้งภายในถัง<br />

ซึ่งทํา<br />

ใหน้ํามันแยกออกจากอากศภายนอกอยางสมบูรณแบบแสดงไวในภาคผนวก<br />

ง<br />

ระดับน้ํามัน<br />

น้ํามัน<br />

ทอระบายความดัน<br />

อากาศ<br />

แผนไดอะแฟรม<br />

ถังคอนเซอเวเตอร<br />

บอดักอากาศ<br />

วาลวระบาย<br />

ภาพที่<br />

33 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังคอนเซอเวเตอร (Conservator tank)<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

2.4 แบบถังปดที่มีกาซ-น้ํามัน<br />

(Gas-Oil Seal) หมอแปลงแบบนี้จะมีถังอีกหนึ่งถังอยู<br />

ดานบน โดยถังนี้ถูกแบงออกเปนสองสวน<br />

สวนแรกจะเชื่อมตอระหวางชองวางดานบนของตัวถัง<br />

หลักกับถังดานบนโดยมีกาซเปนตัวกั้น<br />

สวนที่สองคือชองระบายอากาศผานชองหายใจ<br />

(breather)<br />

ทั้งสองสวนแยกจากกันโดยใชกาซและน้ํามันเมื่ออุณหภูมิของหมอแปลงสูงขึ้น<br />

น้ํามันขยายตัว<br />

การ<br />

ขยายตัวนี้จะดันกาซไนโตรเจนเขาสูถังดานบน<br />

เมื่อความดันกาซเพิ่มขึ้น<br />

น้ํามันในถังดานบนจะถาย<br />

37


เทสูชองระบาย<br />

เมื่อหมอแปลงเย็นลงกาซไนโตรเจนจะไหลกลับเขาสูตัวถังหลัก<br />

น้ํามันหมอแปลง<br />

ในถังหลังจะไมมีโอกาสสัมผัสกับน้ํามันในถังดานบนดังแสดงในภาพที่<br />

34<br />

วาลวสําหรับ<br />

กาชตัวอยาง<br />

น้ํามัน<br />

กาช<br />

ที่กั้น<br />

น้ํามัน<br />

กาช<br />

อากาศ<br />

ทอระบายอากาศ<br />

น้ํามัน<br />

ชองหายใจ<br />

(breather)<br />

ภาพที่<br />

34 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบถังปดที่มีกาซ-น้ํามัน<br />

(Gas-Oil Seal)<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

2.5 แบบความดันกาซอัตโนมัติ (Automatic Gas Pressure) ตัวถังหมอแปลงจะถูกปดสนิท<br />

และมีกาซหอหุมภายในอยูเหนือน้ํามันที่ความดันบวกภายนอกจะมีถังกาซตั้งอยูกับหมอแปลงและ<br />

ตอกับถังหมอแปลงดานบนผานอุปกรณรักษาระดับกาซ นอกจากนี้ยังมีสัญญาณเตือนตอกับชุด<br />

รักษาระดับกาซ เมื่อระดับกาซในถังกาซต่ําลงมาก<br />

เมื่อกาซในถังสามารถรักษาระดับความดันบวก<br />

ในถังหมอแปลงไวได จะไมมีอากาศเขาถึงน้ํามันหมอแปลงได<br />

ถากาซในถังหมดเมื่อเวลาเกิดน้ํามัน<br />

ขยายตัวจะดันกาซในถังหมอแปลงสูอากาศภายนอก<br />

และเมื่อน้ํามันหดตัว<br />

อากาศภายนอกอาจจะเขา<br />

สูตัวถังหมอแปลงได<br />

ซึ่งการทํางานของหมอแปลงแบบนี้นิยมใชกับหมอแปลงขนาดใหญ<br />

แสดงใน<br />

ภาพที่<br />

35<br />

38


กาช<br />

น้ํามัน<br />

วาลว<br />

อุปกรณควบคุมความดัน<br />

ภาพที่<br />

35 หมอแปลงชนิดเติมของเหลวแบบความดันกาซอัตโนมัติ (Automatic Gas Pressure)<br />

ที่มา:<br />

Mark (1995)<br />

กาช<br />

39


1. การแบงกหมอแปลง(Transformer Banks)<br />

การตอหมอแปลงและกลุมเวกเตอรหมอแปลง<br />

คือการตอขั้วสายหมอแปลงทั้งขดลวดดานแรงสูงและแรงต่ําใหสามารถตอใชงานในระบบ<br />

ไฟ3 เฟสรวมถึงการนําเอาหมอแปลง 1 เฟส ตั้งแตสองตัวขึ้นไปมาตอรวมกันเพื่อใชงานในระบบ<br />

ไฟ3 เฟสหรือหลายเฟสโดยที่วิธีการตอขดลวดมีหลายแบบเชนการตอแบบสตาร-เดลตาหรือแบบ<br />

เดลตา-เดลตาซึ่งมีผลทําใหอัตราสวนแรงดันทั้งสองดานมีการเปลี่ยนแปลงตามลักษณะการตอขั้ว<br />

สายในกรณีการแบงกหมอแปลงหมอแปลงแบบ 3 เฟส ทําโดยการตอขั้วสายภายใน(Interconnect)<br />

ของขดลวดดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

มีผลทําใหเกิดการเลื่อนเฟส(Phase<br />

Shift)ระหวางขดลวดทั้งสอง<br />

ดานคุณลักษณะของการเลื่อนเฟสสามารถเปลี่ยนจํานวนเฟสไดเชนแปลงระบบไฟ3<br />

เฟสเปน2 เฟส<br />

6 เฟสหรือ12 เฟสเปนตน และในกรณีการแบงกหมอแปลงแบบ 1 เฟส สามตัว คาพิกัดโวลต-<br />

แอมป รวมทั้งหมดจะเทากับผลรวมของหมอแปลง<br />

1 เฟส ที่มาตอรวมกัน(Austen<br />

and Franklin,<br />

1973)<br />

2. การตอหมอแปลง 3 เฟส<br />

2.1 การตอแบบเดลตา-เดลตา เปนการตอหมอแปลงในระบบไฟ 3 เฟสที่ไมมีจุดนิวตรอล<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

36(A) แรงดันที่ครอมขดลวดจะเทากับแรงดันที่ขั้วตอสายกระแสที่ไหลแตละ<br />

ขดลวด (IP)จะเทากับ 58 เปอรเซนตของกระแสที่ขั้วสาย(Terminal)<br />

มุมเฟสระหวางแรงดันดานแรง<br />

สูงและแรงต่ําจะตรงกัน(Inphase)โดยไมเกิดการเลื่อนเฟสในการตอแบบ<br />

เดลตา-เดลตา<br />

2.2 การตอแบบสตาร-สตาร การตอแบบนี้มีผลทําใหแรงดันที่ครอมแตละขดลวดเทากับ<br />

58 เปอรเซนตของแรงดันที่ขั้วตอสาย<br />

ในขณะที่กระแสที่ไหลในแตละขดลวดจะเทากับกระแสที่<br />

ขั้วตอสายและมุมเฟสระหวางแรงดันดานแรงสูงและแรงต่ําเทากันศูนยหรือมุมตรงกัน(Inphase)ไม<br />

เกิดการเลื่อนเฟสในการตอแบบนี้<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

36(B)<br />

2.3 การตอแบบ เดลตา-สตาร การตอแบบนี้ทางดานขดลวดแรงสูง<br />

ความสัมพันธของ<br />

กระแสและแรงดันจะเปนไปตามคุณสมบัติการตอแบบเดลตา และทางดานขดลวดแรงต่ํา<br />

ความสัมพันธของกระแสและแรงดันจะเปนไปตามคุณสมบัติการตอแบบสตาร ดังแสดงในภาพที่<br />

40


36(C) มุมเฟสระหวางแรงดันดานแรงสูง และแรงต่ําจะมีการเลื่อนเฟสหางกัน<br />

30 องศา มีเวกเตอร<br />

แรงดันดวยกันสองลักษณะคือ การตอแบบแรงดันดานแรงต่ํานําหนาแรงดันดานแรงสูง30<br />

องศา<br />

(Dy11) และแรงดันดานแรงต่ําตามหลังแรงดันดานแรงสูง<br />

30 องศา(Dy1)<br />

2.4 การตอแบบสตาร-เดลตา ความสัมพันธของกระแสและแรงดันจะเหมือนกับการตอ<br />

แบบเดลตา-สตาร เพียงแตสลับดานกันดังแสดงในภาพที่<br />

36(D) และมุมเฟสระหวางแรงดันดานแรง<br />

สูงและแรงต่ํามีการเลื่อนเฟสหางกัน30<br />

องศาเหมือนกับแบบเดลตา-สตาร โดยมีเวกเตอรแรงดัน<br />

แบงเปนสองเเบบคือแรงดันดานแรงต่ํานําหนาแรงดันดานแรงสูง<br />

30 องศา(Yd11) และแรงดันดาน<br />

แรงต่ําตามหลังแรงดันดานแรงสูง<br />

30 องศา(Yd1)<br />

(A)<br />

(B)<br />

(C)<br />

(D)<br />

A<br />

B<br />

C<br />

A<br />

B<br />

C<br />

A<br />

B<br />

C<br />

A<br />

B<br />

C<br />

VL= VP<br />

I = 3. I<br />

I = 3. I<br />

L P<br />

V = 3V<br />

L P<br />

VL= VP<br />

I = 3. I<br />

IP IP<br />

IL IP<br />

L P<br />

V = 3V<br />

L P<br />

L P<br />

= I L = I P<br />

IP<br />

IL = IP<br />

ภาพที่<br />

36 การตอหมอแปลง3 เฟสแบบตางๆ<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

I L = I P<br />

I = 3. I<br />

L P<br />

VL= VP<br />

V = 3V<br />

L P<br />

V = 3V<br />

IP<br />

L P<br />

VL= VP<br />

2.5 การตอแบบวี-วี ในกรณีที่หมอแปลง1<br />

เฟสสามตัวตอรวมกันเปนระบบไฟ3 เฟสแลว<br />

เกิดมีหมอแปลง1 ตัวเกิดความเสียหายการตอแบบวี-วี เปนวิธีหนึ่งที่สามารถนํามาใชตอหมอแปลง<br />

a<br />

b<br />

c<br />

a<br />

b<br />

c<br />

a<br />

b<br />

c<br />

a<br />

b<br />

c<br />

41


ที่เหลืออีกสองตัว<br />

ใหใชเปนระบบไฟ 3 เฟสไดแตพิกัดโวลต-แอมป ของหมอแปลงที่นํามาแบงกกัน<br />

จะเทากับ86.6 เปอรเซนตของผลรวมพิกัดโวลต-แอมปของหมอแปลงทั้งสองการตอหมอแปลง<br />

แบบนี้ไมมีผลตอการกระจายแรงดันระหวางเฟส<br />

มุมเฟสดานแรงดันต่ําจะเทากับดานแรงดันสูงดัง<br />

แสดงในภาพที่<br />

37<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ภาพที่<br />

37 การตอหมอแปลงแบบวี-วี<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

3. การตอแบบซิกแซก (Zig zag)<br />

การตอแบบเดลตา-สตารหรือสตาร-เดลตา ทําใหมุมเฟสระหวางแรงดันดานแรงสูงและแรง<br />

ต่ํามีมุมเฟสนําหนาและลาหลังหางกัน30<br />

องศาโดยที่มุมเฟสดานแรงสูงอยูที่ศูนยองศาตลอด<br />

การตอ<br />

แบบซิกแซกมีผลทําใหมุมเฟสของแรงดันดานแรงต่ําเลื่อนไปเปนมุมศูนยองศา<br />

เทากับดานแรงสูง<br />

และเลื่อนไปเปนมุม<br />

180 องศาตรงขามกับดานแรงสูง โดยที่ยังมีจุดตอนิวตรอลเหมือนการตอแบบ<br />

สตารดังแสดงในภาพที่<br />

38ในขณะการตอแบบสตาร-สตาร มุมเฟสของแรงดันดาน แรงต่ําจะมีสอง<br />

แบบคือ มุมเฟสเทากับศูนยองศา(Yy0) และมุมเฟสเทากับ180 องศา(Yy6) ดังนั้นถานําเอาขดลวด<br />

แบบสตาร ดานแรงสูงหรือดานแรงต่ํามาจัดรูปแบบการตอใหเปนแบบซิกแซก<br />

ผลที่ไดจะทําใหมุม<br />

เฟสของแรงดันดานแรงต่ํานําหนาและลาหลังมุมเฟสดานแรงสูง<br />

30 องศา ทําใหไดเวคเตอรแรงดัน<br />

Yz1, Zy1, Yz11, Zy11 ในสวนของแรงดันที่เกิดขึ้นภายในขดลวดซิกแซก<br />

U1 คือแรงดันเฟสของ<br />

แตละครึ่งของขดลวด<br />

และ U2 คือแรงดันเฟสของแตละครึ่งของขดลวดเมื่อเทียบเทาขดลวดแบบ<br />

สตาร จะไดวา<br />

U = U cos30 °= U . 3 / 2<br />

2 1 1<br />

U1 = 2 / 3. U2<br />

= 1.15U2<br />

U U U U<br />

= 2. 2× 3 = 2. 3 1×<br />

3 / 2 = 3 1<br />

a<br />

b<br />

c<br />

42


ดังนั้นการตอแบบซิกแซกตองการจํานวนรอบของขดลวดเพิ่มขึ้นมากกวาการตอแบบสตาร<br />

15<br />

เปอรเซนตที่ระดับแรงดันเทากันทําใหเพิ่มน้ําหนักของตัวนําทองแดง<br />

15 เปอรเซนต นอกจากนี้<br />

หมอแปลงที่มีการตอแบบซิกแซกจะมีราคาสูงกวาเนื่องจากจะตองเพิ่มจุดตอภายในทําใหไมนิยมใช<br />

ที่พิกัดสูงกวา<br />

50 kVA<br />

ภาพที่<br />

38 การตอหมอแปลงแบบซิกแซก<br />

ที่มา:<br />

GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

4. การตอแบบสกอตต (Scott)<br />

C<br />

N<br />

B<br />

U1<br />

U2<br />

คือการนําหมอแปลง1 เฟสสองตัวมาตอรวมกัน โดยดานหนึ่งเปนระบบไฟ3<br />

เฟสและอีก<br />

ดานหนึ่งตอเปนระบบ2<br />

เฟสแบบสามสายหรือสี่สายก็ไดใชสําหรับเชื่อมระหวางระบบไฟ3<br />

เฟสกับ<br />

2 เฟสหรือจายโหลดสองเฟสหรือจากระบบไฟ 3 เฟสพิกัดกําลังของหมอแปลงจะเทากับ 86.6<br />

เปอรเซนตของทั้งสองตัวรวมกันการตอแบบสกอตประกอบดวยหมอแปลงหลัก(Main<br />

transformer)<br />

และหมอแปลงทีซเซอร(Teaser transformer) ดังแสดงในภาพที่<br />

39 ขดลวดหลักจะมีแท็ปกึ่งกลางที่<br />

50เปอรเซนตที่จุด<br />

S ซึ่งตอเขากับจุด<br />

S ของขดลวดทีสเซอรโดยที่ขดลวดทีซเซอรจะมีแท็ปนิวตรอล<br />

สําหรับเปนจุดตอลงดินใหกับโหลดดาน 3 เฟส ในรูปภาพที่<br />

40 แสดงการแบงกระแสเมื่อจายโหลด<br />

เฉพาะดานหมอแปลงหลักและจายโหลดเฉพาะดานหมอแปลงทีซเซอร<br />

5. การตอแบบเลอ-บล็อง<br />

คือการตอหมอแปลงใหใชกับระบบไฟ3 เฟสแปลงเปนระบบไฟ2 เฟสเหมือนกับการตอ<br />

แบบสกอตต แตแตกตางกันตรงที่ดาน<br />

3 เฟส ของการตอแบบเลอบล็อง ตอขดลวดแบบเดลตาดาน<br />

A<br />

U<br />

43


แรงต่ําเหมือนกัน<br />

การนําไปใชงานก็เหมือนกันแตการตอแบบเดลตาดานแรงสูงชวยใหลดผลของ<br />

แรงดันฮารมอนิคที่<br />

3 ในขดลวดดานแรงสูงได นอกจากนี้ลักษณะโครงสรางของหมอแปลงแบบ<br />

เลอบล็องแกนเหล็กจะเปนแบบ 3 เฟส 3 ขา ทําใหมีความประหยัดในดานโครงสรางและประหยัด<br />

พื้นที่ในการติดตั้งหมอแปลงเมื่อเทียบกับการตอแบบสก็อตที่ใชหมอแปลง1<br />

เฟสสองตัวดังแสดงใน<br />

ภาพที่<br />

41<br />

C S B S N<br />

MAIN TEASER<br />

b1 b2 a1 a2<br />

ภาพที่<br />

39 การตอหมอแปลงแบบสกอตต<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

115.5 A<br />

57.75 A<br />

A<br />

57.75 A<br />

b1 b2<br />

a1<br />

C<br />

S<br />

B<br />

a2<br />

100 A<br />

ภาพที่<br />

40 การตอหมอแปลงแบบสกอตตเมื่อตอเขากับโหลด<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

L<br />

C<br />

A<br />

L<br />

S<br />

100 A<br />

A<br />

B<br />

b1 b2<br />

100 A<br />

a1<br />

a2<br />

44


C1<br />

C2<br />

B1<br />

B2<br />

b1 b2<br />

ภาพที่<br />

41 การตอหมอแปลงแบบเลอบล็อง<br />

ที่มา:<br />

Austen and Franklin (1973)<br />

6. กลุมเวกเตอรหมอแปลง<br />

A1<br />

A2<br />

a1 a2<br />

ในการใชงานหมอแปลงในระบบไฟฟาสิ่งหนึ่งที่ตองพิจารณาคือลักษณะของวงจรใน<br />

ระบบไฟฟาที่นําหมอแปลงไปตอรวมเชน<br />

เปนระบบ3 เฟส 3 สายหรือเปนระบบ3 เฟส 4 สาย หรือ<br />

ใชกับโหลด1 เฟส หรือนําไปตอขนานกันในระบบสงจาย รวมถึงขอกําหนดของการไฟฟาแตละที่ๆ<br />

ตองการใหลดผลของฮารมอนิกดวย ดังนั้นหมอแปลงจึงมีลักษณะการตอที่หลากหลายและเปนผล<br />

ทําใหเกิดการเลื่อนมุมเฟสของแรงดันซึ่งสามารถแบงเวกเตอรของแรงดันไดเปนหากลุมใหญที่ใช<br />

ทั่วไปดังตารางที่<br />

3 และนอกจากนั้นยังมีอีกหากลุมเวกเตอรที่ใชเฉพาะงานไมคอยใชในงานทั่วไป<br />

ดังแสดงในตารางที่<br />

4<br />

HV<br />

LV<br />

45


ตารางที่<br />

3 กลุมเวกเตอรหมอแปลงที่ใชทั่วไป<br />

ที่มา:<br />

IEC Standard 76-1 (1993)<br />

46


ตารางที่<br />

4 กลุมเวกเตอรหมอแปลงที่ใชเฉพาะงาน<br />

ที่มา:<br />

IEC Standard 76-1 (1993)<br />

47


1. วัตถุประสงค<br />

การทดสอบหมอแปลง(Transformer Testing)<br />

วัตถุประสงคของการทดสอบเพื่อยืนยันความถูกตองในการทํางานของหมอแปลงและเพื่อ<br />

ตรวจสอบวาคุณสมบัติของตัวหมอแปลงตรงตามขอกําหนดของมาตรฐานและของผูใชงานหรือไม<br />

2. การแบงประเภทของการทดสองหมอแปลง<br />

2.1 การทดสอบทางดานคุณลักษณะ(Test on Characteristics) ไดแก<br />

2.1.1 การทดสอบวัดคาความตานทานของขดลวด<br />

2.1.2 การทดสอบสภาพขั้ว<br />

2.1.3 การทดสอบความสัมพันธระหวางเฟส<br />

2.1.4 การทดสอบลําดับเฟส<br />

2.1.5 การทดสอบอัตราสวนหมอแปลง<br />

2.1.6 การทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะไมมีโหลดและกระแสการกระตุน<br />

2.1.7 การทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะมีโหลดและแรงดันอิมพีแดนซ<br />

2.1.8 การทดสอบอิมพีแดนซลําดับศูนย<br />

2.2 การทดสอบทางดานฉนวนไฟฟา<br />

2.2.1 การทดสอบแรงดันอิมพัลส<br />

2.2.2 การทดสอบแรงดันประยุกตใชงาน<br />

2.2.3 การทดสอบแรงดันเหนี่ยวนํา<br />

2.2.4 การทดสอบเพาเวอรแฟคเตอรของฉนวน<br />

2.2.5 การทดสอบความตานทานของฉนวน<br />

2.3 การทดสอบทางดานการทํางาน<br />

2.3.1 การทดสอบอุณหภูมิเพิ่ม<br />

2.3.2 การทดสอบลัดวงจร<br />

2.3.3 การทดสอบวัดระดับเสียงรบกวน<br />

48


3. การทดสอบวัดคาความตานทานของขดลวด<br />

วัตถุประสงคเพื่อคนหาองคประกอบ<br />

I 2 R ของคาความสูญเสียของตวนําขดลวดและเพื่อ<br />

คํานวณหาอุณหภูมิสูงสุดของขดลวดที่จุดสุดทายของการทดสอบอุณหภูมิและเพื่อเปนขอมูล<br />

พื้นฐานในการประเมินความเสียหายที่อาจจะเกิดในการใชงาน<br />

โดยมีวิธีการทดสอบวัดคาความ<br />

ตานทานของขดลวดอยูสองวิธีดังนี้<br />

(IEEE Standard C57.12.90, 1999)<br />

3.1 วิธีวงจรบริดจ(Bridge Method) วิธีนี้ใชกับหมอแปลงที่มีพิกัดกระแสต่ํากวา<br />

1 แอมป<br />

และใชวัดคาความตานทานต่ําจนถึงประมาณ<br />

10,000 โอหม วิธีนี้ยังมีการตอวงจรบริดจหลายรูป<br />

แบบตามผูคิดคนดังเชน<br />

วีทสโตนบริดจ(Wheatstone Bridge) เคลวินบริดจ(Kelvin Bridge) และ<br />

ทอมสันบริดจ(Thomson Bridge) เปนตนในภาพที่<br />

42 แสดงวงจรการทดสอบของทอมสันบริดจ<br />

Rtransformer<br />

Rd RV<br />

ภาพที่<br />

42 วงจรบริดจของทอมสันบริดจ(Thomson Bridge)<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

RN<br />

R<br />

R = R<br />

transformer<br />

d<br />

RV<br />

N<br />

3.2 วิธีโวลตมิเตอร-แอมปมิเตอร(Voltmeter-Ammeter Method) วิธีนี้ใชกับหมอแปลงที่มี<br />

พิกัดกระแสตั้งแต<br />

1 แอมปขึ้นไปวงจรทดสอบแสดงในภาพที่<br />

43 ซึ่งจะทําการปอนแหลงจาย<br />

กระแสตรงและใชโวลตมิเตอรและแอมปมิเตอรทําการวัดคาแรงดันและกระแส คาความตานทานที่<br />

ไดจะเทากับแรงดันหารดวยกระแส<br />

49


แอมปมิเตอร<br />

แหลงจายกระแสตรง หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

โวลตมิเตอร<br />

ภาพที่<br />

43 วงจรทดสอบวิธีโวลตมิเตอร-แอมปมิเตอร<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

4. การทดสอบสภาพขั้ว(Polarity<br />

Test)<br />

วัตถุประสงคเพื่อนําหมอแปลงไปใชตอขนานหรือทําการแบงคหมอแปลง<br />

การทดสอบ<br />

สภาพขั้วของหมอแปลง<br />

1 เฟสและ 3 เฟสมีวิธีการทดสอบที่เหมือนกันแตจะแตกตางกันที่หมอ<br />

แปลง 3 เฟสทําการวัดทีละเฟส ผลการทดสอบตองการทราบวาหมอแปลงมีสภาพขั้วเปนบวก<br />

(Additive Polarity)หรือเปนลบ(Subtractive Polarity)ดังแสดงในภาพที่<br />

44 นอกจากนี้วิธีการ<br />

ทดสอบแบงออกไดเปน 4 วิธีไดแก<br />

สภาพขั้วบวก<br />

สภาพขั้วลบ<br />

ภาพที่<br />

44 สภาพขั้วบวก(Additive<br />

Polarity)และสภาพขั้วลบ(Subtractive<br />

Polarity)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

50


4.1 วิธีแรงดันเหนี่ยวนํา(Inductive<br />

Kick) มีขั้นตอนการทดสอบดังนี้คือตอวงจรตามภาพที่<br />

43 โดยปอนแรงดันกระแสตรงที่ดานแรงสูงของหมอแปลงที่ขั้วตอ<br />

H1และH2 และนําโวลตมิเตอร<br />

วัดที่ขั้วตอ<br />

H1และH2 ดานแรงสูง เข็มของโวลตมิเตอรจะมีการเคลื่อนที่เล็กนอย<br />

ตอจากนั้นใหยาย<br />

โวลตมิเตอรไปวัดที่ดานแรงต่ําของหมอแปลงที่ขั้วตอX1<br />

และX2 โดยที่ขั้วตอ<br />

H1ยายไปที่ X2 และ<br />

ขั้วตอ<br />

H2ยายไปที่ X1 และทําการตัดแหลงจายกระแสตรงออก และสุดทายใหสังเกตุที่เข็มของโวลต<br />

มิเตอรถาเข็มแกวงมีทิศทางตรงขามกับดานแรงสูงแสดงวามีสภาพขั้วลบ(Subtractive<br />

Polarity) แต<br />

ถามีทิศทางเดียวกับดานแรงสูงแสดงวามีสภาพขั้วบวก(Additive<br />

Polarity)<br />

4.2 วิธีแรงดันกระแสสลับ(Alternating Voltage) วิธีนี้ในสําหรับหมอแปลงที่มีอัตราสวน<br />

การแปลงประมาณ 30 เทาหรือนอยกวา วงจรทดสอบแสดงในภาพที่<br />

45 โดยที่สามารถปอนไฟที่<br />

ระดับแรงดันใดๆก็ไดตามแตสะดวกและทําการเปรียบเทียบระหวางแรงดันที่ปอนใหทางดานแรง<br />

สูงกับโวลตมิเตอร ถาแรงดันที่โวลตมิเตอรสูงกวาแสดงวามีสภาพขั้วเปนบวก(Additive<br />

Polarity)<br />

แตถาแรงดันที่โวลตมิเตอรต่ํากวาแรงดันที่ดานแรงสูงแสดงวามีสภาพขั้วเปนลบ(Subtractive<br />

Polarity)<br />

แหลงจายไฟ<br />

กระแสสลับ<br />

H1 2 H<br />

X1 2 X<br />

โวลตมิเตอร<br />

ภาพที่<br />

45 วงจรทดสอบของวิธีแรงดันกระแสสลับ(Alternating Voltage)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

4.3 วิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method) วิธีนี้จะใชหมอแปลงที่รูสภาพขั้วและมี<br />

อัตราสวนแรงดันเทากันโดยตอวงจรตามภาพที่<br />

46 โดยทําการอานคาที่โวลตมิเตอรถามีคาเทากับ<br />

ศูนยหรือมีคานอยมากๆแสดงวาหมอแปลงทั้งสองมีสภาพขั้วเหมือนกัน<br />

51


แหลงจายไฟ<br />

กระแสสลับ<br />

หมอแปลงที่ถูกทดสอบ<br />

H<br />

2<br />

H<br />

1<br />

H<br />

2<br />

H<br />

1<br />

X2<br />

X1<br />

X2<br />

X1<br />

หมอแปลงที่ทราบอัตราสวน<br />

ภาพที่<br />

46 วงจรทดสอบของวิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

โวลตมิเตอร<br />

4.4 วิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge) มีวงจรทดสอบดังแสดงในภาพที่<br />

47<br />

หมอแปลงที่ถูกทดสอบ<br />

H<br />

1<br />

H<br />

2<br />

ภาพที่<br />

47 วงจรทดสอบของวิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

5. การทดสอบความสัมพันธระหวางเฟส<br />

X1<br />

X2<br />

คือการทดสอบวัดความสัมพันธของแรงดันในแตละเฟสทั้งทางดานแรงสูงและดานแรงต่ํา<br />

โดยที่หมอแปลงที่ถูกทดสอบตองมีอัตราสวนการแปลงอยูระหวาง<br />

30 ตอ 1 หรือนอยกวาและตอง<br />

ทราบองศาของการเลื่อนมุมเฟสและลําดับเฟสที่แนนอน<br />

โดยจะมีขั้นตอนการทดสอบดังนี้<br />

R<br />

1<br />

R<br />

52


5.1 นําขั้วตอสาย<br />

H1 และX1 ตอถึงกันหลังจากนั้นจายแรงดันที่ดานแรงต่ํา<br />

5.2 ใชโวลตมิเตอรวัดแรงดันระหวางขั้วตอสายดังแสดงในตารางที่<br />

5 และ 6 ซึ่งแบงตาม<br />

กลุมเวกเตอรและลักษณะการตอขดลวด<br />

5.3 หลังจากนั้นนําคาที่วัดไดมาเปรียบเทียบลําดับความสัมพันธของขนาดแรงดันและ<br />

นํามาเขียนรูปในตรงกับตารางที่<br />

5 และ 6<br />

ตารางที่<br />

5 ตารางแสดงการตอขดลวด กลุมเวกเตอร<br />

และแผนภาพเฟสเซอรของแรงดันสําหรับหมอ<br />

แปลงสามเฟส<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

53


ตารางที่<br />

6 ตารางแสดงการตอขดลวด กลุมเวกเตอร<br />

และแผนภาพเฟสเซอรของแรงดันสําหรับหมอ<br />

แปลงหกเฟส<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

6. การทดสอบลําดับเฟส<br />

วิธีนี้เปนการทดสอบลําดับของเฟสแตจะไมทราบวาหมอแปลงที่ถูกทดสอบมีคามุมของ<br />

การเลื่อนมุมเฟส(Phase<br />

shifting angle)เทากับเทาไหร เครื่องมือที่ใชวัดลําดับเฟสอาจจะเปน<br />

มอเตอรเหนี่ยวนํา<br />

3 เฟสหรือวงจรแยกเฟส โดยมีขั้นตอนการทดสอบดังนี้<br />

6.1 ตอเครื่องมือวัดที่ดานแรงสูงกอนและจายไฟ<br />

3 เฟสที่ดานแรงต่ําโดยที่ระดับแรงดัน<br />

ตองใหเหมาะสมกับเครื่องมือวัด<br />

หลังจากนั้นทําการบันทึกทิศทางการหมุนหรือคาที่แสดงผลของ<br />

เครื่องมือวัด<br />

6.2 ยายเครื่องมือวัดมาทางดานแรงต่ําโดยที่ขั้วตอสายของเครื่องมือวัดยายจาก<br />

H1 ไปยัง X1 และ H2ไปยัง X2 และ H3ไปยัง X3 โดยที่ยังจายไฟที่ดานแรงต่ําเหมือนเดิม<br />

ใหสังเกตทิศทางการ<br />

54


หมุนของเครื่องมือวัดหรือคาที่แสดงผลของเครื่องมือวัด<br />

ถาลําดับเฟสของหมอแปลงถูกตองทิศทาง<br />

การหมุนของเครื่องมือวัดจะเหมือนกัน<br />

7. การทดสอบอัตราสวนหมอแปลง<br />

คือการทดสอบอัตราสวนจํานวนรอบของหมอแปลงระหวางจํานวนรอบดานแรงสูงกับ<br />

จํานวนรอบดานแรงต่ํา<br />

ในกรณีที่เปนหมอแปลง<br />

3 เฟสถาขั้วตอสายสามารถแยกเฟสทดสอบไดควร<br />

ทดสอบแยกแตละเฟสและในกรณีที่หมอแปลง<br />

3 เฟสแบบสตารที่ไมสามารถเขาถึงจุดนิวตรอลได<br />

ควรใชแหลงจายไฟ 3 เฟสทําการทดสอบ และกรณีที่หมอแปลงมีแท็ปเพื่อปรับอัตราสวนแรงดัน<br />

หมอแปลงควรทําการทดสอบทุกแท็ปแรงดัน โดยมีวิธีการทดสอบดังนี้<br />

7.1 วิธีโวลตมิเตอร(Voltmeter Method) คือใชโวลตมิเตอรสองตัววัดดานแรงสูงและแรง<br />

ต่ําดานละตัว<br />

และอานคาแรงดันพรอมกันโดยระดับแรงดันเริ่มตนตั้งแตคาต่ําไปจนถึงแรงดันที่พิกัด<br />

และแบงขั้นแรงดันที่ใชทดสอบไมนอยกวา<br />

4 ขั้นหรือแบงเปนขั้นละ<br />

10 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ควร<br />

ใชโวลตมิเตอรหลายชุดเพื่อปองกันการคลาดเคลื่อนของตัวโวลตมิเตอรเอง<br />

7.2 วิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method) คือการทดสอบอัตราสวนโดยการเปรียบเทียบ<br />

กันระหวางหมอแปลงที่ตองการทดสอบกับหมอแปลงที่ทราบอัตราสวนและมีอัตราสวนแรงดัน<br />

เทากันดวย โดยนําหมอแปลงทั้งสองมาตอขนานกันดังแสดงในภาพที่<br />

48 และที่ดานทุติยภูมิจะใช<br />

โวลตมิเตอรวัดผลตางของแรงดัน ถาหมอแปลงทั้งสองมีอัตราสวนเทากันผลตางของแรงดันจะ<br />

เทากับศูนยหรือมีคานอยมากๆ<br />

แหลงจายไฟ<br />

กระแสสลับ<br />

หมอแปลงที่ถูกทดสอบ<br />

H<br />

1<br />

H<br />

2<br />

ภาพที่<br />

48 วงจรทดสอบของวิธีเปรียบเทียบ(Comparison Method)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

H<br />

2<br />

H<br />

1<br />

X2<br />

X1<br />

X2<br />

X1<br />

โวลตมิเตอร<br />

หมอแปลงที่ทราบอัตราสวน<br />

55


7.3 วิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge Method) ในภาพที่<br />

49 แสดงวงจรที่ใชทดสอบ<br />

เมื่อตัวตรวจวัด(DET)<br />

อยูที่ตําแหนงสมดุลย<br />

อัตราสวนของหมอแปลงจะเทากับอัตราสวนระหวาง R<br />

กับ R1 หมอแปลงที่ถูกทดสอบ<br />

H<br />

1<br />

H<br />

2<br />

ภาพที่<br />

49 วงจรทดสอบของวิธีวงจรบริดจอัตราสวน(Ratio Bridge Method)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

8. การทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะไมมีโหลดและกระแสการกระตุน<br />

X1<br />

X2<br />

การทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะไมมีโหลดและกระแสการกระตุนสามารถทําพรอมกัน<br />

ไดในวงจรทดสอบเดียวกัน โดยคากําลังสูญเสียขณะไมมีโหลดวัดไดจากวัตตมิเตอรขณะที่กระแส<br />

การกระตุนวัดไดจากแอมปมิเตอร<br />

วิธีที่ใชในการทดสอบจะใชวิธีโวลตมิเตอรแบบแรงดันเฉลี่ย<br />

(Average-voltage Voltmeter Method) คือใชโวลตมิเตอรสองตัวตอขนานกันโดยที่โวลตมิเตอรตัว<br />

แรกเปนแรงดันเฉลี่ย(Uave)และตัวที่สองเปนแรงดันอารเอ็มเอส(Urms)<br />

และนําคาที่อานไดจากโวลต<br />

มิเตอรทั้งสองมาเขาสูตรคํานวณหาคาคาความสูญเสีย(W)ในสมการที่<br />

37 โดยในภาพที่<br />

50 คือวงจร<br />

ทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟส สวนในภาพที่<br />

51 คือวงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ใช<br />

หมอแปลงเครื่องมือวัดตอรวม<br />

และในภาพที่<br />

52 คือวงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่ใชหมอ<br />

แปลงเครื่องมือวัดตอรวม<br />

ในสวนของขดลวดที่ทําการทดสอบสามารถใชไดทั้งสองดานแต<br />

โดยทั่วไปจะใชขดลวดดานแรงต่ําทําการทดสอบ<br />

R<br />

1<br />

2<br />

W = × W 2<br />

⎛U⎞ rms 1+<br />

⎜ ⎟<br />

⎝Uave ⎠<br />

m<br />

R<br />

56<br />

(37)


แหลงจาย<br />

แอมปมิเตอร<br />

วัตตมิเตอร<br />

Wm<br />

โวลตมิเตอร<br />

U rms<br />

U ave<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

ภาพที่<br />

50 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ไมใชหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

แหลงจาย<br />

วัตตมิเตอร<br />

Wm<br />

หมอแปลงกระแส<br />

Urms<br />

หมอแปลงแรงดัน<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

U ave<br />

โวลตมิเตอร<br />

ภาพที่<br />

51 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ใชหมอแปลงเครื่องมือวัดตอรวม<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

U rms Uave<br />

U rms Uave<br />

U rms Uave<br />

ภาพที่<br />

52 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่ใชหมอแปลงเครื่องมือวัดตอรวม<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

X 0<br />

X1<br />

X 2<br />

X 3<br />

H1<br />

H 2<br />

H3<br />

57


9. การทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะมีโหลดและแรงดันอิมพีแดนซ<br />

9.1 คากําลังสูญเสียขณะมีโหลด คือคากําลังสูญเสียที่เกิดขึ้นจากโหลดที่หมอแปลงจาย<br />

อยู<br />

รวมถึงกําลังสูญเสียในขดลวด(I 2 R) ที่เกิดจากกระแสโหลดและคากําลังสูญเสียอื่นๆที่เกิดจาก<br />

กระแสวนที่ทําใหเกิดฟลักซรั่วในขดลวด<br />

ตัวยึดแกนเหล็ก แผนปองกันสนามไฟฟาและผนังตัวถัง<br />

หมอแปลง คากําลังสูญเสียขณะจายโหลดหาไดจากการลัดวงจรขดลวดดานแรงสูงหรือแรงต่ําดาน<br />

ใดดานหนึ่งและจายไฟดานที่ไมไดลัดวงจร<br />

คากําลังสูญเสียที่เกิดขึ้นภายใตสภาวะนี้จะมีคาเทากับ<br />

คากําลังสูญเสียขณะมีโหลดที่คากระแสโหลดเต็ม(Full<br />

Load Current)<br />

9.2 แรงดันอิมพีแดนซ คือแรงดันที่ทําเกิดขึ้นขณะที่กระแสโหลดเต็มไหลในขดลวดดาน<br />

หนึ่งขณะที่อีกดานหนึ่งทําการลัดวงจร<br />

โดยทั่วไปคาแรงดันอิมพีแดนซแสดงอยูในรูปเปอรเซ็นต<br />

แรงดันหรืออยูในรูปเปอรยูนิตหรือเปอรเซ็นตอิมพีแดนซ<br />

แรงดันอิมพีแดนซประกอบดวยผลรวม<br />

ทางเฟสเซอรขององคประกอบรีแอคทีฟและองคประกอบรีซิสทีฟและสามารถหาคาไดในระหวาง<br />

ทําการทดสอบวัดคากําลังสูญเสียขณะมีโหลด<br />

9.3 วิธีการทดสอบ<br />

9.3.1 วิธีวัตตมิเตอร-โวลตมิเตอร-แอมปมิเตอร เปนวิธีที่ใชหาคาความสูญเสียขณะ<br />

จายโหลดและแรงดันอิมพีแดนซ โดยในภาพที่<br />

53 เปนวงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ไมมี<br />

หมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

และในภาพที่<br />

54 เปนวงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่มีหมอแปลง<br />

เครื่องมือวัดสวนในภาพที่<br />

55 เปนวงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่มีหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

แหลงจาย<br />

แอมปมิเตอร<br />

โวลตมิเตอร<br />

วัตตมิเตอร<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

ภาพที่<br />

53 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่ไมมีหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

58


แหลงจาย<br />

หมอแปลงกระแส<br />

วัตตมิเตอร<br />

โวลตมิเตอร<br />

หมอแปลงแรงดัน<br />

ภาพที่<br />

54 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 1 เฟสที่มีหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

ภาพที่<br />

55 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลง 3 เฟสที่มีหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

H1<br />

H 2<br />

H3<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

9.3.2 วิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซ เปนอีกวงจรหนึ่งที่ใชหาคาความสูญเสียขณะจาย<br />

โหลดและแรงดันอิมพีแดนซซึ่งเปนอีกหนึ่งทางเลือกในการพิจารณาถึงสภาพแวดลอมในการวัด<br />

และอุปกรณที่สามารถหาไดในการทดสอบ<br />

วงจรทดสอบแสดงในภาพที่<br />

56 เมื่อ<br />

ET คือแรงดันที่ใช<br />

ทดสอบโดยจะทําการเปรียบเทียบแรงดันที่ตกครอม<br />

Z1 Z2 และZ3 จนกระทั่งแรงดันตกครอม<br />

Z2 เทากับ Z3 ตัวตรวจจับ DET จะเปนตัวแสดงแรงดันที่สมดุลยที่เกิดขึ้นในวงจรบริดจ<br />

ในภาพที่<br />

57<br />

และ 58 คือวงจรบริดจที่นิยมใชทดสอบโดยทั่วไป<br />

ในกรณีที่ทดสอบหมอแปลง<br />

3 เฟสจะตองใช<br />

แหลงจายไฟ 3 เฟสตอเขากับวงจรบริดจแตละเฟสและคํานวณกําลังสูญเสียทั้งหมอจากเครื่องมือวัด<br />

ในแตละเฟส<br />

X1<br />

X 2<br />

X 3<br />

59


ภาพที่<br />

56 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซ<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

Z<br />

1<br />

Z<br />

2<br />

Z<br />

3<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

ภาพที่<br />

57 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซแบบรีซิสเตอร-คาปาซิสเตอร<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

ภาพที่<br />

58 วงจรทดสอบวิธีวงจรบริดจอิมพีแดนซแบบอัตราสวนหมอแปลง<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

60


9.4 ขั้นตอนในการทดสอบ<br />

9.4.1 การทดสอบหมอแปลงสองขดลวดและหมอแปลงแบบออโต ในการทดสอบวัด<br />

คากําลังสูญเสียขณะมีโหลดและแรงดันอิมพีแดนซของหมอแปลงสองขดลวดจะใชวงจรทดสอบ<br />

ในภาพที่<br />

53 และภาพที่<br />

54 สําหรับหมอแปลง 1 เฟส และในภาพที่<br />

55 สําหรับหมอแปลง 3 เฟส<br />

สวนหมอแปลงแบบออโตจะใชวงจรทดสอบในภาพที่<br />

59 ขั้นตอนในการทดสอบคือปอนแรงดัน<br />

จากแหลง จายไฟสลับโดยเริ่มจากศูนยโวลตจนกระทั่งแอมปมิเตอรอานคากระแสไดเทากับ<br />

คากระแสที่พิกัดจากนั้นทําการอานและบันทีกคาจากวัตตมิเตอรและโวลตมิเตอร<br />

คาที่ไดจากวัตต<br />

มิเตอรคือคากําลังสูญเสียขณะมีโหลดและคาที่ไดจากโวลตมิเตอรคือแรงดันอิมพีแดนซ<br />

แหลงจาย<br />

แอมปมิเตอร<br />

วัตตมิเตอร<br />

โวลตมิเตอร<br />

หมอแปลงออโต<br />

ภาพที่<br />

59 วงจรทดสอบสําหรับหมอแปลงออโตที่ไมมีหมอแปลงเครื่องมือวัด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

9.4.2 การทดสอบหมอแปลงสามขดลวด ขั้นตอนในการทดสอบจะเหมือนกับหมอ<br />

แปลงแบบสองขดลวดเพียงแตจะทําการทดสอบที่ละคูขดลวดคือ<br />

ขดลวดชุดที่<br />

1 กับชุดที่<br />

2 ขดลวด<br />

ชุดที่<br />

1 กับชุดที่<br />

3 และขดลวดชุดที่<br />

2 กับ ชุดที่<br />

3 ดังนั้นเราจะไดขอมูลที่อานจากวัตตมิเตอร<br />

โวลต<br />

มิเตอรและแอมปมิเตอรทั้งหมดสามชุด<br />

แรงดันอิมพีแดนซในแตละชุดนํามาคํานวณหาเปอรเซ็นต<br />

อิมพีแดนซในรูปเปอรยูนิตที่ฐานกิโลโวลต-แอมปเดียวกัน<br />

เราจะไดคา Z12 Z23 และZ31 หลังจากนั้น<br />

นํามาแปลงเปนวงจรสมมูลยแบบสตารดังแสดงในภาพที่<br />

60 เราจะไดคา Z1 Z2 และ Z3 สวนคา<br />

ความสูญเสียขณะจายโหลดทั้งหมดของหมอแปลงจะเทากับผลรวมของคากําลังสูญเสียในแตละ<br />

แขนงของวงจรสมมูลยในภาพที่<br />

60<br />

Z1<br />

ภาพที่<br />

60 วงจรสมมูลยแบบสตารของหมอแปลงสามขดลวด<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

Z2<br />

Z3<br />

61


10. การทดสอบอิมพีแดนซลําดับศูนย<br />

อิมพีแดนซลําดับศูนยหรือเรียกอีกอยางวาอิมพีแดนซหนึ่งเฟสของหมอแปลงสามเฟส<br />

ซึ่ง<br />

คาอิมพีแดนซลําดับศูนยนี้จะขึ้นอยูกับลักษณะการตอขดลวดและลักษณะทางโครงสรางแกนเหล็ก<br />

การจัดวางขดลวดทางกายภาพและเสนทางเดินของฟลักซแมเหล็กของหมอแปลง ในการทดสอบจะ<br />

ทําการวัดเฉพาะขดลวดดานที่ตอแบบสตารและหมอแปลงจะตองมีขั้วตอจุดนิวตรอลยื่นออกมาภาย<br />

นอกเทานั้น<br />

คาอิมพีแดนซลําดับศูนยหาไดจากสมการที่<br />

38 และในภาพที่<br />

61 แสดงวงจรทดสอบ<br />

อิมพีแดนซลําดับศูนย<br />

โดยที่<br />

Z0 คือคาโอหมตอเฟส<br />

U คือแรงดันที่ใชทดสอบ<br />

I คือกระแสที่ใชทดสอบ<br />

U<br />

3I<br />

Z<br />

0<br />

3U<br />

I<br />

ภาพที่<br />

61 วงจรทดสอบอิมพีแดนซลําดับศูนย<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

11. การทดสอบแรงดันอิมพัลส<br />

= (38)<br />

HV LV<br />

Y d<br />

การทดสอบแรงดันอิมพัลสแบงออกไดเปนสองชนิดคือการทดสอบแรงดันอิมพัลสแบบ<br />

สวิทชิงและการทดสอบแรงดันอิมพัลสแบบฟาผา โดยใชเครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลสที่มีการชารจ<br />

แรงดันเก็บไวในตัวเก็บประจุที่ตอขนานกันและดิสชารจใหแกหมอแปลงดังแสดงในภาพที่<br />

62<br />

62


วงจรเครื่องกําเนิดแรงดันอิมพัลซ<br />

ภาพที่<br />

62 วงจรทดสอบแรงดันอิมพัลส<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

สปารกแก็ปและขดลวดหมอแปลง<br />

11.1 การทดสอบแรงดันอิมพัลสแบบสวิทชิ่ง<br />

ขั้นตอนในการทดสอบจะเริ่มตนดวย<br />

แรงดันชั่วครูที่ลดระดับ(Reduced<br />

voltage transient)ประมาณ 50-70 เปอรเซ็นตของระดับแรงดัน<br />

ทดสอบที่กําหนดจํานวนหนึ่งครั้ง<br />

และแรงดันเต็มรูปคลื่นชั่วครู(Full<br />

voltage transient)ที่ระดับ<br />

แรงดันทดสอบที่กําหนดจํานวนสองครั้ง<br />

และสามารถใชรูปคลื่นแรงดันไดทั้งขั้วบวกและขั้วลบ<br />

ลักษณะรูปคลื่นจะตองมีคายอดคลื่น(Crest<br />

value)ไมเกินระดับของฉนวนที่ออกแบบ<br />

ในภาพที่<br />

63<br />

แสดงรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบสวิทชิ่ง<br />

ภาพที่<br />

63 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบสวิทชิ่ง<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

11.2 การทดสอบแรงดันอิมพัลซแบบฟาผา ขั้นตอนในการทดสอบจะเริ่มตนดวยแรงดัน<br />

ชั่วครูที่ลดระดับ(Reduced<br />

voltage transient)ประมาณ 50-70 เปอรเซ็นตจํานวนหนึ่งครั้ง<br />

ตามดวย<br />

แรงดันเต็มรูปคลื่นสับ(Chopped<br />

wave)จํานวนสองครั้งและแรงดันเต็มรูปคลื่นชั่วครู<br />

(Full voltage<br />

transient)จํานวนหนึ่งครั้ง<br />

63


นอกจากนี้ถาตองการทดสอบดานหนาของรูปคลื่นจะเริ่ม<br />

ตนดวยแรงดันชั่วครูที่ลด<br />

ระดับ(Reduced voltage transient)ประมาณ 50-70 เปอรเซ็นตจํานวนหนึ่งครั้ง<br />

ตามดวยการทดสอบ<br />

ดานหนาของรูปคลื่น(Front-of-wave)จํานวนสองครั้งตามดวยแรงดันเต็มรูปคลื่นสับ(Chopped<br />

wave)จํานวนสองครั้งและแรงดันเต็มรูปคลื่นชั่วครู(Full<br />

voltage transient)จํานวนหนึ่งครั้ง<br />

ตามลําดับ ในสวนของขั้วแรงดันสําหรับหมอแปลงฉนวนน้ํามันจะใชรูปคลื่นแรงดันขั้วลบเพื่อลด<br />

ความเสี่ยงของการเกิดแฟลชโอเวอร(Flash<br />

over) ภายนอกของวงจรทดสอบ<br />

สําหรับการตอขดลวดแบบสตารและเดลตาที่ระดับแรงดันใชงาน<br />

25 กิโลโวลตหรือ<br />

สูงกวา หมอแปลงสามเฟสจะตองทดสอบทั้งสองดานและแรงดันที่ใชทดสอบจะตองตรงกับคาBIL<br />

ของขดลวดหมอแปลงแตละดาน สําหรับหมอแปลงที่มีระดับแรงดันใชงานเทากับ<br />

15 กิโลโวลต<br />

หรือต่ํากวาจะทําการทดสอบเฉพาะดานสตารเวนแตจะระบุใหทดสอบทั้งสองดานและในภาพที่<br />

64<br />

และภาพที่<br />

65 แสดงรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบฟาผาและรูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบเต็มรูปคลื่น<br />

สับตามลําดับ<br />

ภาพที่<br />

64 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบฟาผา<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

ภาพที่<br />

65 รูปคลื่นแรงดันอิมพัลสแบบเต็มรูปคลื่นสับตามลําดับ<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

64


12. การทดสอบแรงดันประยุกตใชงาน<br />

การทดสอบแรงดันประยุกตใชงาน(Applied voltage test)เปนการทดสอบที่ความถี่ปกติ<br />

การทดสอบแรงดันจะทําการทดสอบกับขดลวดที่ตอแบบเดลตาแตจะไมทําการทดสอบกับขดลวด<br />

ที่ตอแบบสตารยกเวนการตอแบบสตารที่เปนระบบไมตอลงดิน(Ungrounded<br />

system)<br />

ขั้นตอนการทดสอบจะตอขั้วตอสายของขดลวดในแตละดานถึงกันหมด<br />

ดานที่ไมได<br />

ทดสอบรวมถึงตัวถังและแกนเหล็กใหตอลงดิน สวนดานที่ทําการทดสอบนําไปตอกับหมอแปลง<br />

พิเศษที่ใชปอนแรงดันทดสอบดังแสดงในภาพที่<br />

66 ในสวนของระดับแรงดันที่ใชทดสอบแสดงใน<br />

ตารางที่<br />

6คอลัมนที่<br />

7 โดยคาแรงดันที่ใชทดสอบจะตองคํานึงถึงคาระดับฉนวนอิมพัลสฟาผา<br />

พื้นฐาน(BIL)<br />

แหลงจายไฟ<br />

หมอแปลงพิเศษ<br />

ที่ใชทดสอบ<br />

ภาพที่<br />

66 วงจรทดสอบแรงดันประยุกตใชงาน<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

13. การทดสอบแรงดันเหนี่ยวนํา<br />

หมอแปลงที่ถูกทดสอบ<br />

ขดลวด ตัวถังหมอแปลง<br />

แกนเหล็กหมอแปลง<br />

การทดสอบแรงดันเหนี่ยวนํา(<br />

Induced voltage test)เปนการทดสอบเพื่อพิสูจนวาไมมี<br />

ปญหาเรื่องการดิสชารจบางสวน<br />

ซึ่งใชการทดสอบสองระดับแรงดันคือระดับแรงดันหนึ่งชั่วโมง<br />

และระดับแรงดันที่ยกสูงดังแสดงในตารางที่<br />

6 โดยเริ่มตนทดสอบที่ระดับแรงดันในคอลัมนที่<br />

5 ใน<br />

ตารางที่<br />

6 เปนเวลาหนึ่งชั่วโมงและตามดวยแรงดันที่ยกสูงในคอลัมนที่<br />

6 ในตารางที่<br />

6 เปนเวลา 60<br />

วินาทีหรือ 7200 รูปคลื่นและสุดทายตามดวยการทดสอบที่ระดับแรงดันในคอลัมนที่<br />

5 ในตารางที่<br />

7 เปนเวลาหนึ่งชั่วโมง<br />

65


ตารางที่<br />

7 แสดงคาระดับแรงดันที่ใชทดสอบหมอแปลง<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.00 (2000)<br />

66


14. การทดสอบเพาเวอรแฟคเตอรของฉนวน<br />

การทดสอบเพาเวอรแฟคเตอรของฉนวน(Insulation power factor test)คืออัตราสวนของ<br />

กําลังไฟฟาที่สูญเสียไปในการฉนวนเพื่อสรางแรงดันและกระแสประสิทธิผลในรูปโวลต-แอมป<br />

คาเพาเวอรแฟคเตอรของฉนวนหนวยเปนวัตตใชในการทดสอบหมอแปลงฉนวนเหลวและใช<br />

แรงดันรูปคลื่นซายนในการทดสอบ<br />

ขั้นตอนในการทดสอบเริ่มตนดวยการลัดวงจรขดลวดแตละดานและใชวงจรทดสอบแบบ<br />

บริดจหรือใชวิธีโวลตแอมป-วัตต โดยในการทดสอบจะทําการวัดระหวางขดลวดกับดิน(Ground)<br />

และวัดระหวางขดลวดทั้งสองดาน<br />

15. การทดสอบความตานทานของฉนวน<br />

วัตถุประสงคเพื่อหาคาความตานทานของฉนวนในแตละขดลวดเทียบกับดิน(Ground)หรือ<br />

ระหวางขดลวด มีหนวยที่ใชวัดเปนเมกกะโอหมหรือคํานวณจากการวัดแรงดันที่ปอนและกระแส<br />

รั่วไหล<br />

และเครื่องมือที่ใชวัดมีสอง<br />

ชนิด แบบแรกแหลงจายไฟกระแสตรงแบบปรับแรงดันไดโดย<br />

จะทําการวัดแรงดันและกระแส(มีหนวยเปนไมโครแอมปหรือมิลลิแอมป) แบบที่สองคือเมกกะ<br />

โอหมมิเตอรใชวัดความตานทานเปนเมกกะโอหม<br />

ขั้นตอนในการทดสอบเริ่มดวนทําการลัดวงจรขดลวดแตละดาน<br />

หลังจากนั้นทําการวัด<br />

ระหวางขดลวดแรงสูงกับขดลวดแรงต่ําและขดลวดแรงสูงกับดิน(Ground)<br />

ตอจากนั้นทําการสลับ<br />

การวัดระหวาง ขดลวดแรงต่ํากับขดลวดแรงสูงและขดลวดแรงต่ํากับดิน<br />

แรงดันที่ใชทดสอบเริ่ม<br />

จาก 1 กิโลโวลตถึง 5 กิโลโวลต และการทดสอบแตละครั้งใหปอนแรงดันเปนเวลาประมาณ<br />

1 นาที<br />

16. การทดสอบอุณหภูมิเพิ่ม<br />

การทดสอบอุณหภูมิเพิ่ม(Temperature<br />

rise test)ของหมอแปลงแบบแหงจะทําการทดสอบ<br />

วัดอุณหภูมิของขดลวดเพียงอยางเดียวโดยจะทําการวัดสองชวงคือ ชวงแรกขณะหมอแปลงอยูใน<br />

สภาวะไมมีโหลดและชวงที่สองขณะที่อยูในสภาวะมีโหลดสูงสุด<br />

สวนการทดสอบอุณหภูมิเพิ่มของหมอแปลงแบบฉนวนเหลวจะทําการทดสอบทั้งขดลวด<br />

และตัวฉนวนเหลว ซึ่งสวนใหญรายละเอียดการทดสอบจะเปนการทดสอบหมอแปลงแบบฉนวน<br />

เหลว<br />

67


16.1 การวัดอุณหภูมิแวดลอมหมอแปลง หมอแปลงแบบระบายความรอนดวยอากาศ<br />

อุณหภูมิแวดลอมจะอยูในชวง<br />

10 ถึง 40 องศาเซลเซียส สวนหมอแปลงแบบระบายความรอนดวย<br />

น้ําอุณหภูมิแวดลอมทอน้ําที่ไหลเขาจะอยูในชวง<br />

20 ถึง 30 องศาเซลเซียส<br />

16.2 การวัดการอุณหภูมิเพิ่มในฉนวนเหลว<br />

อุณหภูมิฉนวนเหลวดานบนวัดโดยเทอร<br />

โมคัพเพิล(Thermocouple) หรือเทอรโมมิเตอร(Thermometer)โดยแชในของเหลวต่ํากวาระดับผิว<br />

น้ํามันประมาณ<br />

50 มิลลิเมตรหรือ 2 นิ้ว<br />

สวนอุณหภูมิเฉลี่ยในฉนวนเหลวจะเทากับ<br />

อุณหภูมิฉนวน<br />

เหลวดานบนลบครึ่งหนึ่งของผลตางระหวางอุณหภูมิของฉนวนเหลวที่ไหลเขากับฉนวนเหลวที่<br />

ไหลออก<br />

16.3 การวัดอุณหภูมิเพิ่มโดยเฉลี่ยของขดลวด<br />

สามารถหาไดจากอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของ<br />

ขดลวดลบอุณหภูมิแวดลอมหมอแปลง การวัดอุณหภูมิเฉลี่ยของขดลวดหาไดจากวิธีความตานทาน<br />

(Resistance method) โดยการอานคาความตานทานใหเร็วที่สุดหลังจากตัดไฟออกจากหมอแปลง<br />

หลังจากนั้นเอาผลที่อานไดมาคํานวณหาอุณหภูมิเฉลี่ยของขดลวดไดจากสมการที่<br />

39<br />

R<br />

T = ( Tk<br />

+ T0)<br />

− Tk<br />

(39)<br />

R<br />

0<br />

เมื่อ<br />

T คืออุณหภูมิของคาความตานทานที่วัดตอนตัดไฟออกจากหมอแปลง(R)<br />

T0 คืออุณหภูมิของคาความตานทานที่วัดตอนหมอแปลงไมไดตอเขาระบบ(R0)<br />

Tk คือคาคงที่ของขดลวดมีคาเทากับ<br />

234.5 องศาเซลเซียสสําหรับทองแดงและ คาเทากับ<br />

225.0 องศาเซลเซียสสําหรับอลูมิเนียม<br />

R คือคาความตานทานที่วัดตอนตัดไฟออกจากหมอแปลง<br />

R0 คือคาความตานทานที่วัดตอนหมอแปลงไมไดตอเขาระบบ<br />

16.4 วิธีการทดสอบอุณหภูมิเพิ่ม<br />

มีสองวิธีไดแก<br />

16.4.1 วิธีการจายโหลดจริง(Actual loading) วิธีนี้เปนวิธีที่มีความแมนยําสูงมากที่<br />

สุดแตตองใหพลังงานไฟฟามากในการวัดจึงไมเหมาะสําหรับหมอแปลงขนาดใหญจะเหมาะ<br />

สําหรับหมอแปลงขนาดเล็กโดยการจายไฟเขากับโหลดที่เปนรีโอสตาท(Rheostat)หรือตอเขากับ<br />

หลอดไฟหลายชุด<br />

68


16.4.2 วิธีจายโหลดสมมติ(Simulated loading) แบงออกไดเปนสองวิธีๆแรกคือวิธี<br />

ลัดวงจร(Short circuit method)เปนวิธีประมาณคาความสูญเสียทั้งหมดที่สรางโดยผลของกระแส<br />

ลัดวงจร วิธีที่สองคือวิธีจายโหลดกลับ(Loading<br />

back method) เปนวิธีทดสอบหมอแปลงที่เหมือน<br />

กันสองตัว โดยการตอขนานกันดังแสดงในภาพที่<br />

67 สําหรับหมอแปลงหนึ่งเฟสและในภาพที่<br />

68<br />

สําหรับหมอแปลงสามเฟส วิธีนี้ทําการวัดโดยจายแรงดันที่พิกัดดานใดดานหนึ่ง<br />

สวนดานที่เหลือ<br />

นําหมอแปลงจายโหลด(Loading transformer)มาตอรวมหลังจากนั้นทําการวัดอุณหภูมิเพิ่มของ<br />

น้ํามันที่ผิวดานบน(Top<br />

oil) เหมือนหัวขอที่<br />

16.2 ตอจากนั้นตัดหมอแปลงออกจากระบบและทําการ<br />

วัดอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของขดลวดในหัวขัอที่<br />

16.3<br />

แหลงจายไฟ<br />

ภาพที่<br />

67 วงจรทดสอบวิธีจายโหลดกลับแบบ 1 เฟส<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

แหลงจายไฟ<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

แหลงจายโหลด<br />

ภาพที่<br />

68 วงจรทดสอบวิธีจายโหลดกลับแบบ 3 เฟส<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

หมอแปลงที่ทําการทดสอบ<br />

หมอแปลงจายโหลด<br />

หมอแปลงจายโหลด<br />

แหลงจายสําหรับคาความ<br />

สูญเสียอิมพีแดนซ<br />

69


17. การทดสอบลัดวงจร<br />

การทดสอบลัดวงจรใชสําหรับหมอแปลงระบบจําหนายและหมอแปลงไฟฟากําลังที่มี<br />

ขนาดตั้งแต<br />

5 กิโลโวลตและมากกวา หมอแปลงที่ใชในการทดสอบลัดวงจรจะแบงออกเปน<br />

4<br />

ประเภทดังแสดงในตารางที่<br />

8 วัตถุประสงคของการแบงประเภทเพื่อแบงระดับความแข็งแรงทาง<br />

กลของหมอแปลงที่สามารทนตอการเกิดลัดวงจร<br />

ซึ่งในการทดสอบหมอแปลงแตละประเภทจะมี<br />

ความแตกตางกันในดานขนาดและชวงเวลาของกระแสลัดวงจร และการทดสอบนี้ตองการทดสอบ<br />

สําหรับหมอแปลงที่สรางใหมเพื่อพิสูจนคุณสมบัติของหมอแปลงโดยจะทําการทดสอบในโรงงาน<br />

หรือในหองทดลอง<br />

ตารางที่<br />

8 แสดงการแบงประเภทเพื่อแบงระดับความแข็งแรงทางกลของหมอแปลง<br />

ประเภท หมอแปลง 1 เฟส หมอแปลง 3 เฟส<br />

(กิโลโวลต)<br />

(กิโลโวลต)<br />

I 5 ถึง 500 15 ถึง 500<br />

II 501 ถึง 1667 501 ถึง 5000<br />

III 1668 ถึง 10,000 5000 ถึง 30,000<br />

IV สูงกวา 10,000 สูงกวา 30,000<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.90 (1999)<br />

18. สรุปการทดสอบ<br />

การทดสอบหมอแปลงเปนสิ่งที่จําเปนทําเพื่อตรวจสอบฟงกชั่นของหมอแปลงเพื่อการ<br />

ทํางานที่ถูกตอง<br />

เมื่อระดับแรงดันและพิกัดกําลังของหมอแปลงสูงขึ้นประเภทของการทดสอบก็จะ<br />

มากขึ้นดวย<br />

และหมอแปลงทุกตัวจะตองไดรับการทดสอบประจํา(Routine test) นอกจากนี้ในบาง<br />

กรณีหมอแปลงจะตองไดรับการทดสอบจากการออกแบบ(Design test)หรือทดสอบบางตัวใน<br />

อุปกรณรุนเดียวกันและการทดสอบอื่น(Other<br />

test) ซึ่งสรุปไวในตารางที่<br />

9 สําหรับหมอแปลงแบบ<br />

แหงและในตารางที่<br />

10 สําหรับหมอแปลงแบบฉนวนเหลว<br />

70


ตารางที่<br />

9 แสดงตารางสรุปการทดสอบสําหรับหมอแปลงแบบแหง<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.01 (1998)<br />

71


ตารางที่<br />

10 แสดงตารางสรุปการทดสอบสําหรับหมอแปลงแบบฉนวนเหลว<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.00 (2000)<br />

72


ตารางที่<br />

10 แสดงตารางสรุปการทดสอบสําหรับหมอแปลงแบบฉนวนเหลว(ตอ)<br />

ที่มา<br />

: IEEE Standard C57.12.00 (2000)<br />

73


1. หลักการทํางานพื้นฐาน<br />

หมอแปลงออโต<br />

หมอแปลงออโต คือหมอแปลงที่ใชขดลวดรวมกันระหวางดานแรงสูง<br />

และแรงต่ํา<br />

ในภาพ<br />

ที่69<br />

แสดงหลักการทํางานของหมอแปลงออโต 1 เฟสเปรียบเทียบกับหมอแปลงแบบแยกขดลวด<br />

โดยทั่วไปหมอแปลงออโตที่ใชงานมีทั้งแบบ<br />

1 เฟสและแบบ 3 เฟสหรือ การนําเอาหมอแปลงออโต<br />

1 เฟสมาตอรวมกันเปน 3 เฟสและจะมีอัตราสวนแรงดันระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําไมเกิน<br />

2 เทา<br />

U1<br />

I1<br />

I2<br />

U 2<br />

U1<br />

I1<br />

I2<br />

I1−I2 หมอแปลงแยกขดลวด 1 เฟส หมอแปลงออโต 1 เฟส<br />

ภาพที่<br />

69 การเปรียบเทียบระหวางหมอแปลงแบบแยกขดลวดกับหมอแปลงออโต<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

2. การตอขดลวดหมอแปลงออโต<br />

การใชงานหมอแปลงออโต 1 เฟส จะเหมือนกับหมอแปลงแบบสองขดลวด 1 เฟส แต<br />

สําหรับ หมอแปลงออโต 3 เฟส หรือ หมอแปลงออโต 1 เฟส ที่นํามาตอเปน<br />

3 เฟส จะมีลักษณะ<br />

การตอดังนี้<br />

(Austen and Franklin, 1973)<br />

2.1 การตอแบบสตาร เปนการตอที่นิยมใชเปนอยางมากและจุดนิวตรอลสามารถตอใช<br />

งานในระบบ 3 เฟส 4 สายได ภาพที่<br />

70 แสดงไดอะแกรมของมุมเฟสระหวางดานแรงสูง และแรง<br />

ต่ํา<br />

และแสดงลักษณะการตอขดลวดของหมอแปลงออโตซึ่งไดอะแกรมนี้ใชไดทั้งหมอแปลงออโต<br />

แบบแปลงแรงดันขึ้นและแปลงแรงดันลง<br />

U 2<br />

74


C3<br />

C2<br />

A3<br />

A2<br />

B2<br />

B3<br />

ดานแรงสูง<br />

C B A N<br />

3<br />

C2<br />

3<br />

B2<br />

ดานแรงต่ํา<br />

ภาพที่<br />

70 แผนภาพมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบสตาร<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

2.2 การตอแบบเดลตา การตอแบบนี้สามารถแบงออกไดเปน<br />

3 แบบคือแบบที่<br />

1<br />

อัตราสวนการแปลง 2 ตอ 1 แบบที่<br />

2 คือแปลงแรงดันขึ้นและมีอัตราสวนการแปลงที่ไมใช<br />

2 ตอ 1<br />

แบบที่<br />

3 คือแปลงแรงดันลงและมีอัตราสวนการแปลงที่ไมใช<br />

2 ตอ 1 การตอแบบที่<br />

2 และ 3 นี้<br />

ความแตกตางระหวางมุมเฟสดานแรงสูงและแรงต่ําจะขึ้นอยูกับอัตราสวนจํานวนรอบ<br />

ซึ่งโดยปกติ<br />

หมอแปลงออโตที่มีการปรับแรงดันในลักษณะนี้จะตองติดตั้ง<br />

ตัวเปลี่ยนแท็ปที่ดานแรงดันสูงหรือ<br />

แรงต่ําก็ไดตามลักษณะการใชงาน<br />

ในภาพที่<br />

71 แสดงไดอะแกรมของมุมเฟสระหวางดานแรงสูง<br />

และแรงต่ําและลักษณะการตอขดลวดหมอแปลงออโต<br />

2.3 การตอแบบซิกแซก-สตารหรือสตาร-ซิกแซก การตอแบบนี้จะใชในกรณีเมื่อนําไปตอ<br />

ขนานกับหมอแปลงสองขดลวดแบบ สตาร-เดลตา หรือ เดลตา-สตาร นอกจากนี้ยังแบงลักษณะ<br />

การตอออกเปนสองแบบทําให ขนาดของแรงดัน และมุมเฟสระหวางดานแรงสูง และแรงต่ํา<br />

แตกตางกันดังแสดงในภาพที่<br />

72<br />

3<br />

A2<br />

75


แบบที่<br />

1<br />

แบบที่<br />

2<br />

แบบที่<br />

3<br />

C3<br />

C3<br />

C3<br />

A2<br />

C2<br />

C2<br />

A2<br />

A2<br />

A3<br />

C2<br />

A3<br />

A3<br />

B2<br />

B2<br />

B3<br />

B2<br />

B3<br />

B3<br />

C2<br />

C3<br />

C2<br />

B3<br />

B2<br />

A3<br />

C1 1 B 1 A<br />

C3<br />

B2<br />

B3<br />

A2<br />

A3<br />

A2<br />

C1 B1 A1<br />

C3<br />

C2<br />

B3<br />

B2<br />

A3<br />

C1 1 B 1 A<br />

ภาพที่<br />

71 แผนภาพมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบเดลตา<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

A2<br />

76


แบบที่<br />

1<br />

แบบที่<br />

2<br />

B4<br />

B5<br />

C1<br />

C1<br />

A1<br />

A1<br />

A5<br />

A4<br />

C4<br />

B1<br />

C5<br />

B1<br />

C B A N<br />

4<br />

C3<br />

C2<br />

C1<br />

4<br />

B1<br />

4<br />

A1<br />

C B A N<br />

5<br />

C1<br />

5<br />

B1<br />

B3<br />

B2<br />

5<br />

A1<br />

A3<br />

A2<br />

C4 4 B 4 A<br />

C3 B3 A3<br />

C2 2 B 2 A<br />

ภาพที่<br />

72 แผนภาพมุมเฟสระหวางดานแรงสูงและแรงต่ําและการตอแบบซิกแซก-สตาร<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

3. ขอดีและขอเสียของหมอแปลงออโต<br />

3.1 ขอดี<br />

3.1.1 ลดขนาด น้ําหนัก<br />

ของโครงสรางหมอแปลง<br />

3.1.2 ลดคาความสูญเสียขณะมีโหลด และขณะไมมีโหลด<br />

3.1.3 ลดกระแสขณะไมมีโหลด และลีกเกจรีแอคแตนซ<br />

77


3.2 ขอเสีย<br />

3.2.1 ลักษณะการตอขดลวด โดยทั่วไปจะใชแบบสตาร<br />

ขณะที่การตอแบบเดลตาจะ<br />

ทําใหเกิดความแตกตางของมุมเฟสระหวางแรงดันทั้งสองดาน<br />

และทั้งสองระบบแรงดันจะตองใช<br />

จุดนิวตรอลรวมกัน ถาจุดนิวตรอลตอลงดินแบบโดยตอตรง (Solidly Earthed) ดานแรงต่ําจะไดรับ<br />

ผลกระทบ ทําใหรับแรงดันสูงขึ้น<br />

เมื่อเกิดการลัดวงจรลงดินดานแรงสูง<br />

3.2.2 หมอแปลงออโตจะตองใชฉนวนที่ทนแรงดันสูงกวาระดับปกติ<br />

เนื่องจาก<br />

ขดลวดดานแรงสูง และแรงต่ําตออนุกรมกัน<br />

และตองใชตัวตรวจจับแรงดันเสร็จเพิ่มเปนพิเศษ<br />

3.2.3 คารีแอคแตนซของหมอแปลงออโตมีคาต่ํา<br />

ทําใหทนกระแสลัดวงจรที่สูงไดไม<br />

ดี เมื่อเทียบกับหมอแปลงแบบสองขดลวด<br />

4. ผลของการตอขดลวดเทอเทียรี่แบบเดลตา<br />

โดยปกติหมอแปลงออโตจะมีขดลวดหลัก และขดลวดเทอเทียรี่<br />

ซึ่งขดลวดเทอเทียรี่นี้จะตอ<br />

แบบเดลตา และใชเมื่อขดลวดหลักตอแบบสตาร<br />

และผลของการตอขดลวดเทอเทียรี่แบบเดลตา<br />

สามารถสรุปไดดังนี้<br />

4.1 ชวยรักษาระดับแรงดันระหวางเฟสในกรณีที่จายโหลดไมสมดุล<br />

เชนจายโหลด 1 เฟส<br />

ที่แรงดันเฟสเทียบกับนิวตรอล<br />

ถาหากไมตอขดลวดเทอเทียรี่แบบเดลตา<br />

กระแสที่ไหลในอีกสอง<br />

เฟสที่ไมไดตอโหลดจะเปนกระแสที่ใชสรางสนามแมเหล็กเพียงอยางเดียว<br />

เกิดการอิ่มตัวของแกน<br />

เหล็ก ทําใหรูปคลื่นแรงดันเฟสผิดเพี้ยนและเกิดการเลื่อนจุดนิวตรอลนอกจากนี่ยังทําใหเกิดความ<br />

รอนที่ตัวถังหมอแปลงเนื่องจากฟลักซรั่วไหลดังแสดงในภาพที่<br />

73 และเมื่อมีการตอขดลวดเทอ<br />

เทียรี่ทําใหเกิดสมดุลของกระแสตอจํานวนของขดลวดทั้งสามเฟส<br />

และทําใหไมเกิดปรากฏการณ<br />

ดังกลาวไดแสดงในภาพที่<br />

74<br />

4.2 ชวยกําจัดฮารมอนิกที่สามที่เกิดจากกระแสไมมีโหลด<br />

(No-load Current) ในจุดตอลง<br />

ดินเมื่อจุดนิวตรอลถูกตอลงดิน<br />

และในกรณีที่ไมตอจุดนิวตรอลลงดิน<br />

ฮารมอนิกจะเกิดขึ้นใน<br />

แรงดัน และฟลักซเนื่องจากการแกวงไปมาของจุดนิวตรอล<br />

โดยจะแกวางขึ้นสูงกวา<br />

และต่ํากวา<br />

ระดับกราวด ซึ่งขดลวดตติยภูมิจะชวยกําจัดฮารมอนิกที่เกิดขึ้นได<br />

4.3 ชวยในการจายโหลดอื่นๆที่อยูในสถานีไฟฟา<br />

78


A<br />

B<br />

C<br />

a<br />

b<br />

c<br />

0.5I1<br />

0.5I1<br />

I1 I2<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ภาพที่<br />

73 ทิศทางการไหลของกระแสในกรณีที่ไมมีขดลวดตติยภูมิของหมอแปลงแบบแยกขด<br />

และหมอแปลงออโต<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

A<br />

B<br />

C<br />

a<br />

b<br />

c<br />

0.33I1<br />

0.33I1<br />

0.66I1 I2<br />

A<br />

B<br />

C<br />

I<br />

I<br />

I<br />

ภาพที่<br />

74 ทิศทางการไหลของกระแสในกรณีที่ไมมีขดลวดตติยภูมิของหมอแปลงแบบแยกขด<br />

และหมอแปลงออโต<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

a<br />

b<br />

c<br />

a<br />

b<br />

c<br />

79


หมอแปลงกระแส<br />

คืออุปกรณที่ทําหนาที่แปลงระดับกระแสที่มีคาสูงๆ<br />

ลงมาเหลือ 1 แอมป หรือ 5 แอมป มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อใชงานรวมกับรีเลยปองกัน<br />

โดยทางดานปฐมภูมิจะตอเขากับอุปกรณไฟฟาที่<br />

ตองการปองกัน เชน เครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

หมอแปลง และมอเตอร เปนตน สวนทางดานทุติยภูมิจะ<br />

ตอเขากับวงจรของรีเลยปองกัน(GEC ALSTOM Measurements Limited 1990)<br />

1. ชนิดของหมอแปลงกระแส<br />

1.1 หมอแปลงกระแสแบบขดลวด คือหมอแปลงกระแสที่มีขดลวดปฐมภูมิพันรอบแกน<br />

เหล็กมากกวาหนึ่งรอบ<br />

นิยมใชกับอุปกรณที่มีพิกัดกระแสต่ํา<br />

ขั้วตอสายดานปฐมภูมิจะตออนุกรม<br />

กับสายตัวนําไฟฟาของอุปกรณ หรือใชสายตัวนําไฟฟาพันรอบแกนเหล็ก โดยที่ตัวหมอแปลง<br />

กระแสจะมีชองใหพันสายตัวนําไฟฟา<br />

1.2 หมอแปลงกระแสแบบแทงโลหะ คือหมอแปลงกระแสที่ใชแทงโลหะเปนขดลวดปฐม<br />

ภูมิซึ่งจํานวนรอบทางดานปฐมภูมิจะเทากับหนึ่งรอบ<br />

นิยมใชกับอุปกรณไฟฟาที่มีพิกัดกระแสสูงๆ<br />

นอกจากนี้<br />

อุปกรณืที่มีขนาดใหญเชนเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

หรือหมอแปลงไฟฟากําลังในสถานีไฟฟา<br />

จะนิยมใชหมอแปลงกระแสแบบโดนัท(Donut) คลองที่ขั้วตอสายของอุปกรณ<br />

หรือบุชชิ่ง<br />

(Bushing) โดยมีหลักการเดียวกับแบบแทงโลหะ<br />

2. คาพิกัดตางๆ ของหมอแปลงกระแส<br />

2.1 พิกัดเบอรเดน(Rated Burden) คือคาโหลดที่นํามาตอกับหมอแปลงกระแสโดยจะระบุ<br />

บนตัวหมอแปลงกระแสวาสามารถนําโหลดมาตอไดเทาไร มีหนวยเปนโวลต-แอมป (VA) คาเบอร<br />

เดนที่ใชงานทั่วไปจะมีหลายพิกัดดังนี้<br />

2.5, 5, 7.5, 10, 15, 30 โวลต-แอมป<br />

2.2 พิกัดกระแสทุติยภูมิ(Rated Secondary Current) โดยทั่วไปพิกัดกระแสทุติภูมิที่<br />

นําไปใชงานกับรีเลยปองกันจะเทากับ 1 แอมป 2 แอมป หรือ 5 แอมป เปนคามาตรฐานที่ใชงาน<br />

ทั่วไป<br />

80


2.3 ตัวคูณขีดจํากัดความแมนยํา(Accuracy Limit Factor; ALF) คือคาที่บงบอกวาหมอ<br />

แปลงกระแสสามารถทํางานไดถูกตอง และแมนยํา โดยทั่วไปถาไมระบุคานี้มาซึ่งจะมีคาเทากับ<br />

20<br />

คานี้จะเปนตัวบงบอกวา<br />

กระแสสูงสุด ที่ไหลผานหมอแปลง<br />

กระแสดานปฐมภูมิมีคาเทาใด ที่หมอ<br />

แปลงกระแสดานปฐมภูมิมีคาเทาใด ที่หมอแปลงกระแสยังมีความถูกตองและแมนยํา<br />

ตัวอยางเชน<br />

กระแสโหลดเต็มพิกัดของอุปกรณที่หมอแปลงกระแสคลองอยูเทากับ<br />

100 A และหมอแปลงกระ<br />

แสมีคา ALF เทากับ 20 ดังนั้นหมอแปลงกระแสจะทํางานไดถูกตอง<br />

และแมนยําเมื่อมีกระแสไหล<br />

ผานดานปฐมภูมิไมเกิน 2,000 A<br />

2.4 คาที่ระบุบนแผนปาย(Nameplate)<br />

คาที่ระบุบนแผนปายที่ติดบนตัวหมอแปลงกระแส<br />

จะระบุเชน 15VA 10P 20 หมายความวา 15VA คือคาพิกัดเบอรเดน 10P คือระดับขั้นของความ<br />

แมนยํา(Accuracy Class) เลข 10 คือเปอรเซนตคลาดเคลื่อนและตัวอักษร<br />

P คือประเภทของหมอ<br />

แปลงกระแสสําหรับรัเลยปองกันและคา 20 คือตัวคาตัวคูณขีดจํากัดความแมนยํา<br />

3. วงจรสมมูลยหมอแปลงกระแส<br />

P1<br />

IP<br />

P2<br />

S1<br />

I / N<br />

P<br />

Ie<br />

Ze ES<br />

ภาพที่75<br />

วงจรสมมูยของหมอแปงกระแส<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

IS<br />

ZS<br />

Vt Zb<br />

81


่ โดยที Ip = กระแสดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

N = อัตราสวนจํานวนรอบของหมอแปลงกระแส<br />

Zb = เบอรเดนของรีเลย<br />

Zs = อิมพีแดนซของขดลวดทุติยภูมิ<br />

Ze = อิมพีแดนซกระตุนสนามแมเหล็กดานทุติยภูมิ<br />

Ie = กระแสกระตุนดานทุติยภูมิ<br />

Is = กระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

Es = แรงดันกระตุนสนามแมเหล็กดานทุติยภูมิ<br />

Vt = แรงดันที่ขั้วตอหมอแปลงกระแสดานทุติยภูมิ<br />

4. แผนภาพเฟสเซอรของหมอแปลงกระแส<br />

ES<br />

Ie<br />

EP<br />

I / N<br />

ภาพที่76<br />

แผนภาพเฟสเซอรของหมอแปลงกระแส<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

โดยที่<br />

Ep = แรงดันปฐมภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

Es = แรงดันทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

Ø = ฟลักซ<br />

Ic = กระแสของความสูญเสียในแกนเหล็ก<br />

Im = กระแสกระตุนสนามแมเหล็ก<br />

Ie = กระแสกระตุนดานทุติยภูมิ<br />

Ip = กระแสดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

Is = กระแสดานทุตยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

P<br />

IS<br />

Ie<br />

Ic<br />

φ<br />

Im<br />

82


5. สูตรในการคํานวณหมอแปลงกระแส<br />

5.1 อิมพีแดซของหมอแปลงกระแส จากวงจรยสมมูลยในหัวขอที่<br />

3 อิมพีแดนซของ<br />

ขดลวดทุติยภูมิ (Zs) คือคาอิมพีแดนซของหมอแปลงกระแส แตเนื่องจากคารีแอคแตนซรั่วมีคาต่ํา<br />

มากทําใหไมนํามาคิดเหลือเพียงแตคาความตานทาน (RCT) ดังนั้นเราจะไดวา<br />

ZS ≅ RCT<br />

( 40)<br />

5.2 แรงดันที่จุดโคงอิ่มตัว<br />

(Knee-point Voltage:Vk) คือคาแรงดันสูงสุดที่หมอแปลง<br />

กระแสจะทํางานได ซึ่งจะตองสูงกวาคาแรงดันกระตุน<br />

(Vs) ในการนําหมอแปลงกระแสไปใชงาน<br />

จะตองพิจารณาตามเงื่อนไขดังนี้<br />

Vk > V s<br />

( 41)<br />

⎡VA ⎤<br />

CT<br />

Vk ≥ ALF<br />

⎢ + RCT × IN⎥<br />

⎣ I N ⎦<br />

( 42)<br />

เมื่อ<br />

ALF คือตัวคูณขีดจํากัดความแมนยํา<br />

VA คือพิกัดเบอรเดนของหมอแปลงกระแส<br />

I N คือพิกัดกระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส โดยปกติมีคาเทากับ 1<br />

แอมป หรือ 5 แอมป<br />

RCT คือความตานทานของหมอแปลงกระแส ในกรณีที่ไมบอกคามาใหสมมติ<br />

ใหเทากับศูนย<br />

5.3 กระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส (Is) ในการคํานวณพิกัดของหมอแปลง<br />

กระแส กระแสดานทุติภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

I = ALF × I N<br />

( 43)<br />

5.4 คาเบอรเดนสูงสุดของหมอแปลงกระแส คือคาที่บอกถึงความสามารถของหมอแปลง<br />

กระแสในการจายโหลดที่นํามาตอกับหมอแปลงกระแส<br />

ซึ่งโหลดในที่นี้<br />

หมายถึงคาความตานทาน<br />

83


ของสายตัวนํา (Rline) คาความตานทานของรีเลย (Rrelay) และคาความตานทานของหมอแปลงกระแส<br />

(RCT) ดังนั้นเราสามารถหาคาเบอรเดนสงสุดของหมอแปลงกระแส(Zbmax)เทากับ<br />

Z<br />

หรือ Zbmax<br />

VA<br />

CT<br />

b = Ω<br />

max I 2<br />

N<br />

V<br />

I<br />

k = Ω<br />

5.5 คาความตานทานของรีเลย หรือคาเบอรเดนของรีเลย (Rrelay)<br />

หาไดจาก Rrelay<br />

2<br />

6. ตัวอยางการคํานวณหมอแปลงกระแส<br />

s<br />

VA<br />

relay<br />

= Ω<br />

I<br />

relay<br />

( 44)<br />

( 45)<br />

( 46)<br />

ตัวอยางคํานวณหาวารีเลยปองกันสามารถใชกับหมอแปลงกระแสตัวนี้ไดหรือไม<br />

รายละเอียดดังแสดงในภาพที่<br />

77<br />

CT 400/1 A<br />

15 VA 10P20<br />

P1<br />

IP<br />

P2<br />

ภาพที่77<br />

วงจรสมมูยของหมอแปงกระแส<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

S1<br />

I R = 1.5Ω<br />

S<br />

CT<br />

V S = ?<br />

R = ?<br />

relay<br />

Relay Burden = 12.5 VA(at 1 A)<br />

84


วิธีทํา พิสูจนวา Vk > V s<br />

R<br />

Is = ALF × I N<br />

relay<br />

R line =<br />

= 20× 1A<br />

= 20A<br />

VA 12.5<br />

= = = 12.5 Ω<br />

I<br />

0<br />

relay<br />

2 2<br />

relay 1<br />

R = 1.5 Ω<br />

CT<br />

(ไมนํามาคิด)<br />

V = I ( R + R + R )<br />

s s CT line relay<br />

= 20(1.5 + 0 + 12.5)<br />

= 280 volt<br />

⎡VA ⎤<br />

CT<br />

Vk ≥ ALF⎢ + RCT × IN⎥<br />

⎣ I N ⎦<br />

⎡15 ⎤<br />

≥ 20<br />

⎢<br />

+ 1.5× 1<br />

⎣ 1 ⎥<br />

⎦<br />

V ≥ 330 vol t<br />

k<br />

∴ ดังนั้นสรุปไดวารีเลยปองกันสามารถใชไดกับหมอแปลงกระแสตัวนี้<br />

85


กระแสพุงเขา<br />

เมื่อหมอแปลงไดรับไฟจากระบบในครั้งแรก<br />

หรือไดรับไฟอีกครั้งหลังจากตัดออกจากระบบ<br />

จะทําใหเกิดกระแสพุงเขามีคาสูงประมาณ<br />

8 ถึง 30 เทาของกระแสโหลดเต็มพิกัด กระแสพุงเขานี้<br />

(Blackburn, 1987)สามารถเกิดได 3 กรณีดังนี้<br />

1. กระแสพุงเขาในตอนเริ่มตน<br />

( Initial-Magnetizing Inrush Current )<br />

เมื่อทําการปลดหมอแปลงออกจากระบบไฟฟา<br />

จะเกิดฟลักซตกคาง ( Resideal Flux ; ØR )<br />

ในแกนเหล็กหมอแปลงซึ่งอาจจะมีคาเปนบวก<br />

หรือลบก็ได ขึ้นอยูกับชวงเวลาที่ปลดหมอแปลงออก<br />

(โดยที่ในกรณีที่ไมมีฟลักซตกคางในแกนเหล็กเมื่อหมอแปลงไดรับไฟจะเกิดฟลักซมีคาเทากับ<br />

2Ø ที่<br />

ทําใหเกิดกระแสพุง<br />

) เมื่อจายไฟใหกับหมอแปลงอีกครั้ง<br />

ฟลักซที่เกิดขึ้นจะเทากับ<br />

2Ø + ØR ทําให<br />

กระแสพุงเขามีคาสูง<br />

หรือเทากับ 2Ø - ØR กรณีที่<br />

ฟลักซตกคางมีคาเปนลบทําใหเกิดกระแสพุงเขามี<br />

คาต่ํา<br />

ปรากฏการณกระแสพุงนี้จะมีคามากหรือนอย<br />

ขึ้นอยูกับชวงเวลาที่ทําการจายไฟใหกับหมอ<br />

แปลง ถาเราจายไฟในชวงที่แรงดันของระบบสอดคลองกับ<br />

ฟลักซตกคางในแกนเหล็ก กระแสพุงเขา<br />

จะไมเกิด จะมีแตกระแสกระตุนสนามแมเหล็ก<br />

(Exciting Current ) ไหลตามปกติซึ่งมีคาประมาณ<br />

2 ~<br />

5 % ของกระแสโหลดเต็มพิกัดหมอแปลงดังแสดงในภาพที่<br />

78 และ 79<br />

แรงดันของระบบ<br />

รูปคลื่นฟลักซปกติ<br />

กระแส<br />

φm<br />

ภาพที่78<br />

ปรากฎการณของกระแสพุงเขาในตอนเริ่มตน<br />

ที่มา<br />

: Blackburn (1987)<br />

จุดที่เริ่มจายพลังงานไฟฟา<br />

กระแสกระตุนเพื่อสรางฟลักซ<br />

86<br />

รูปคลื่นฟลักซที่ตองการ<br />

เมื่อไมมีฟลักซตกคางในหมอแปลง


(ก.)<br />

(ข.)<br />

แรงดัน<br />

กระแสสนามแมเหล็กพุงเขา<br />

ภาพที่<br />

79 ลักษณะของกระแสพุงเขาในตอนเริ่มตน<br />

( ก.) เมื่อหมอแปลงตอแบบสตาร<br />

และ( ข.) เมื่อหมอแปลงตอแบบเดลตา<br />

ที่มา<br />

: Blackburn (1987)<br />

2. กระแสพุงเขาจากแรงดันกลับคืน<br />

(Recovery Magnetizing Inrush Current)<br />

ในระหวางที่เกิดการลัดวงจร<br />

หรือเกิดแรงดันต่ําเกิน<br />

กระแสพุงเขาจะเกิดขึ้นเนื่องจากการ<br />

กลับคืนของแรงดันสูสภาวะปกติ<br />

และมีคานอยกวากรณีแรกที่ปลดหมอแปลงออกจากระบบ<br />

เนื่องจากในขณะที่เกิดกระแสพุงเขานั้นหมอแปลงยังไดรับไฟจากระบบอยูแตมีระดับแรงดันต่ํากวา<br />

ปกติดังแสดงในภาพที่<br />

80<br />

A B<br />

กระแสพุงเขาหลังจากเบรคเกอร<br />

C ทริป<br />

และแรงดันกลับคืนมา<br />

ภาพที่<br />

80 กระแสพุงเขาจากแรงดันกลับคืน<br />

ที่มา<br />

: Blackburn (1979)<br />

C<br />

X<br />

เกิดการลัดวงจรภายนอกเขตปองกันหมอ<br />

แปลงและทําใหเบรคเกอร C ทริป<br />

87


3. กระแสพุงเขาจากผลกระทบของหมอแปลงที่ขนานกันตอเขาใชงานในระบบ(<br />

Sympathetic-<br />

Magnetizing Inrush Current )<br />

ในกรณีที่หมอแปลงที่ทําการแบบตอขนานกันดังแสดงในภาพที่<br />

81 เมื่อหมอแปลงชุด<br />

B ตอ<br />

เขากับระบบอยูแลว<br />

และหมอแปลง ชุด A ทําการตอเขาระบบองคประกอบกระแสตรงของกระแสพุง<br />

เขาจากหมอแปลงชุด A จะทําใหแกนเหล็กหมอแปลงชุด B อิ่มตัว<br />

และเกิดกระแสพุงเขา<br />

ดังนั้นทําให<br />

หมอแปลงทั้งสองชุด<br />

เกิดกระแสพุงเขา<br />

และไหลรวมกันเขาสูระบบที่ตอรวระบบที่ตอรวมในภาพที่<br />

81 กระแสรวมของเบรกเกอร C เทากับผลรวมกระแสพุงเขาจากหมอแปลงชุด<br />

A และหมอแปลงชุด B<br />

กระแสพุงเขา<br />

ทั้งหมดที่เบรคเกอร<br />

C<br />

C<br />

B<br />

ปด<br />

A<br />

กําลังปด<br />

ปด<br />

เปด<br />

กระแสพุงเขาจาก<br />

เบรคเกอร A<br />

กระแสพุงเขาจาก<br />

เบรคเกอร B<br />

ภาพที่<br />

81 กระแสพุงเขาจากผลกระทบของหมอแปลงที่ขนานกันตอเขาใชงานในระบบ<br />

ที่มา<br />

: Blackburn (1979)<br />

88


1. ที่มาของฮารมอนิกในหมอแปลง<br />

ฮารมอนิกในหมอแปลง<br />

ฮารมอนิกในหมอแปลงเกิดจากการเปลี่ยนแปลงคาความซึมซาบ<br />

(Permeability) ของแผน<br />

เหล็กที่ใชทําแกนเหล็กและเกิดจากปรากฏการณฮีสเตอรีซีสในหมอแปลงเมื่อแผนแกนเหล็กอยู<br />

ภายใตสนามแมเหล็กไฟฟากระแสสลับ ทําใหเกิดความผิดเพี้ยนของรูปคลื่นซายน<br />

(Sine Wave)<br />

ของกระแสไมมีโหลด(No-load Current) ฟลักซ (flux) และแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา(Induced<br />

Voltage)<br />

และสามารถแบงลักษณะความผิดเพี้ยนของรูปคลื่น(Austen<br />

& Franklin, 1973)ไดเปนสองลักษณะ<br />

1.1 ฟลักซเปนรูปคลื่นซายน<br />

แตกระแสไมมีโหลดกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่<br />

3<br />

ทําใหสวนยอดของรูปคลื่นกระแสไมมีโหลดมีลักษณะแหลมดังแสดงในภาพที่<br />

82<br />

ภาพที่<br />

82 ฟลักซเปนรูปคลื่นซายน<br />

แตกระแสไมมีโหลดกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่<br />

3<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

89


1.2 กระแสไมมีโหลดเปนรูปคลื่นซายน<br />

แตฟลักซกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่<br />

3<br />

โดยที่สวนยอดของรูปคลื่นฟลักซที่มีลักษณะแบนราบ<br />

(Flat-topped) สวนของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา<br />

มีลักษณะแหลมเปนยอด (Peak) ดังแสดงในภาพที่<br />

83<br />

ภาพที่<br />

83 กระแสไมมีโหลดเปนรูปคลื่นซายน<br />

แตฟลักซกับแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํามีฮารมอนิกที่<br />

3<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

2. ความสัมพันธระหวางฮารมอนิกที่<br />

3 กับการตอขดลวดหมอแปลง<br />

จากหัวขอที่ผานมาทําใหทราบวาฮารมอนิกที่<br />

3 เกิดขึ้นกับกระแสแรงดัน<br />

และฟลักซ และ<br />

เมื่อพิจารณาถึงรูปแบบการตอขดลวดแตละแบบ<br />

ดังแสดงในตารางที่<br />

11 ทําใหเราทราบวาการตอ<br />

ขดลวดแตละแบบจะเกิดฮารมอนิกที่กระแส<br />

แรงดันและฟลักซแตกตางกันออกไปดังนั้นทําใหสรุป<br />

ไดวาไมวาจะตอขดลวดในลักษณะใดก็ยังมีฮารมอนิกเกิดขึ้นอยูในตัวหมอแปลงแตวาจะเกิดที่<br />

ตําแหนงใดขึ้นอยูกับลักษณะการตอขดลวดหมอแปลง<br />

90


3. ผลกระทบของฮารมอนิกที่มีตอหมอแปลง<br />

3.1 ผลที่เกิดจากกระแสฮารมอนิกที่<br />

3<br />

3.1.1 ความรอนสูงเกินที่ขดลวดหมอแปลงและที่โหลด<br />

เกิดจากการไหลวนของ<br />

กระแสฮารมอนิกที่<br />

3 ซึ่งคอนขางเกิดขึ้นไดนอยกับหมอแปลงสาเหตุมาจากการออกแบบที่ไมดี<br />

3.1.2 การเกิดคลื่นรบกวนตอสายโทรศัพท<br />

หรือสายสัญญาณอื่น<br />

กรณีที่ตอหมอแปลง<br />

แบบสตารสี่สายในระบบสงและระบบจําหนายไฟฟา<br />

สายตัวนําที่ตอขนานกับสายโทรศัพททําให<br />

เกิดคลื่นรบกวนระบบโทรศัพท<br />

นอกจากนี้เกิดคลื่นรบกวนตอสายไพลอต<br />

(Pilot Wire) ของระบบ<br />

รีเลยปองกันอาจทําใหรีเลยทํางานผิดพลาดได<br />

3.1.3 กําลังสูญเสียทางแกนเหล็กหมอแปลงเพิ่มขึ้น<br />

ในกรณีที่ทําการแบงคหมอแปลง<br />

1 เฟส 3 ตัว ตอแบบสตาร-สตาร โดยที่จุดนิวตรอลดานปฐมภูมิตอเขากับจุดนิวตรอลของเครื่อง<br />

กําเนิดไฟฟามีผลทําใหคากําลังสูญเสียทางแกนหมอแปลงเพิ่มขึ้น<br />

20 เปอรเซ็นตมากกวากรณีที่ไม<br />

ตอสายนิวตรอล ซึ่งขึ้นอยูกับการออกแบบหมอแปลงและคาอิมพีแดนซของวงจรดานปฐมภูมิ<br />

กรณี<br />

นี้เกิดขึ้นกับหมอแปลง<br />

3 เฟสแบบเซลแตจะไมเกิดกับหมอแปลง 3 เฟสแบบคอร<br />

3.2 ผลที่เกิดจากแรงดันฮารมอนิกที่<br />

3<br />

3.2.1 ความเคนของฉนวนหมอแปลงเพิ่มขึ้น<br />

ในกรณีที่ตอแบบสตารสามสายและไม<br />

ตอจุดนิวตรอนลงดิน จะเกิดแรงดันตกครอมระหวางจุดนิวตรอลกับดินที่มีความถี่เปนสามเทาของ<br />

ความถี่มูลฐานซึ่งก็คือแรงดันฮารมอนิกที่<br />

3 มีผลทําใหเกิดความเคนที่ขดลวดหมอแปลงถาเปนหมอ<br />

แปลงที่มีระดับแรงดันต่ําจะไมมีผลกระทบเนื่องจากมีชวงเผื่อในการออกแบบเพื่อความปลอดภัย<br />

แตถาปนหมอแปลงที่มีระดับแรงดันสูงจะตองพิจารณาถึงผลกระทบเปนพิเศษ<br />

3.2.2 การชารจของประจุไฟฟาสถิตของสายตัวนําใกลเคียงและสายโทรศัพท การ<br />

แบงกหมอแปลง 1 เฟส 3 ตัวตอแบบสตารและตอกับสายเคเบิลใตดิน หรือสายเคเบิ้ลบนเสาไฟ<br />

และ<br />

จุดนิวตรอลจะตอลงดินหรือไมตอลงดินก็ตาม อาจทําใหเกิดการชารจของประจุไฟฟาสถิตที่ความถี่<br />

ฮารมอนิกที่<br />

3 ของสายตัวนําไฟฟาใกลคียงและสายโทรศัพททําใหเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําที่ไม<br />

ปกติ ถาวงจรที่อยูใกลเคียงไมไดตอลงดินแรงดันเฟสเทียบกับดินจะสูงขึ้นตลอดทั้งวงจรถึงแมวา<br />

แรงดันระหวางเฟสยังคงปกติก็ตามฉนวนที่ปองกันแรงดันเฟสเทียบกับดินจะไดรับความเคน<br />

เพิ่มขึ้น<br />

และทําใหอายุการใชงานของอุปกรณลดลง<br />

91


ตารางที่<br />

11 ความสัมพันธระหวางฮารมอนิกที่<br />

3 กับการตอขดลวดหมอแปลง<br />

ที่มา<br />

: Austen and Franklin (1973)<br />

92


ประเภทของความผิดพรองที่เกิดขึ้นกับหมอแปลงไฟฟา<br />

1. ความผิดพรองที่เกิดขึ้นภายนอก<br />

(External Faults)<br />

คือความผิดพรองที่เกิดขึ้นภายนอกบริเวณตัวหมอแปลง(GEC<br />

ALSTOM Measurements<br />

Limited, 1990) ความเสียหายที่เกิดขึ้นมีผลทําใหอายุการใชงานของหมอแปลงสั้นลงซึ่งฟอลต<br />

ประเภทนี้ประกอบดวย<br />

1.1 โหลดเกิน(Overloads) ทําใหเกิดความรอนสูงเกิน และเปนสาเหตุใหเกิดความเสียหาย<br />

อยางถาวร ในกรณีสวนใหญ จะไมมีการปองกันสําหรับโหลดเกิน แตจะมีสัญญาณเตือน(Alarm)<br />

เปนตัวแจงสถานะแกผูปฏิบัติงาน<br />

เหตุผลหนึ่งของโหลดเกินอาจเกิดจากการแบงโหลดไมเทากัน<br />

ของหมอแปลงที่ตอขนานกันหรือโหลดไมสมดุลยของหมอแปลงสามเฟสแบงค<br />

(Three Phase<br />

Banks)<br />

1.2 แรงดันเกิน(Overvoltage) แรงดันสูงเกินสามารถเกิดขึ้นไดในชวงสภาวะชั่วครูหรือ<br />

ในชวงระยะยาวของความถี่ระบบ<br />

แรงดันสูงเกินชั่วครูมีสาเหตุมาจากความเคนที่ปลายขดลวดและ<br />

อาจะเกิดการเบรคดาวน แรงดันสูงเกินนี้สามารถปองกันไดโดยอุปกรณปองกันเสิรจและออกแบบ<br />

มาเพื่อวัตถุประสงคนี้โดยเฉพาะ<br />

แรงดันสูงเกินจากความถี่ระบบเกิดจากการทํางานในสภาวะ<br />

ฉุกเฉิน เชน การสูญเสียโหลดทันทีทันใด ในกรณีนี้จะทําใหเกิดฟลักซสูงเกินของหมอแปลงและ<br />

เพิ่มความเคนแกฉนวนขดลวด<br />

การเกิดฟลักซ็เกินทําใหเพิ่มการสูญเสียทางแกนเหล็กและอาจจะมี<br />

ผลในดานกระแสการกระตุนเพิ่มขึ้นปริมาณมาก<br />

และมีผลตอการเพิ่มความรอนในวงจรแกนเหล็ก<br />

ซึ่งอาจจะเกิดความเสียหายตอฉนวนที่หุมแกนเหล็กและฉนวนของขดลวด<br />

1.3 ความถี่ต่ําเกิน(Underfrequency)<br />

ความถี่ต่ําอาจเกิดจากการรบกวนในระบบหลัก<br />

ซึ่งมี<br />

สาเหตุจากการไมสมดุลยระหวางการผลิตไฟฟาและโหลด สภาวะนี้เหมือนกับแรงดันสูงเกินซึ่ง<br />

กระแสกระตุนเพิ่มขึ้นที่ความถี่ต่ํา<br />

ทําใหเกิดฟลักซสูงเกินในวงจรแมเหล็ก หมอแปลงสามารถ<br />

ทํางานตอเนื่องไมวาจะเกิดแรงดันสูงหรือความถี่ต่ํา<br />

แตถาทั้งสองปญหาเกิดขึ้นพรอมกันอาจจะเปน<br />

ปญหาที่สําคัญมาก<br />

โดยปกติอัตราสวนของแรงดันและความถี่จะตองไมเกิน<br />

1.1 เปอรยูนิต ซึ่ง<br />

เรียกวา ขีดจํากัดแรงดันตอความถี่(Volts<br />

per Hertz Limit)<br />

93


1.4 การความผิดพรองภายนอกเขตปองกัน (External System Short Circuit) ความผิด<br />

พรองในระบบที่เกิดนอกเขตปองกันของหมอแปลง<br />

แตทําใหกระแสหมอแปลงสูงขึ้น<br />

สามารถทํา<br />

ใหขดลวดหมอแปลงเกิดความเสียหายได กระแสผิดพรองที่เกิดภายนอกเขตที่มีปริมาณมากทําให<br />

เกิดความเคนทางกลสูงในขดลวดหมอแปลง โดยที่ความเคนสูงสุดเกิดขึ้นในชวงลูกคลื่นแรก<br />

วิธีการปองกันความเคนนี้<br />

เปนเรื่องของการออกแบบหมอแปลง<br />

2. ความผิดพรองที่เกิดขึ้นภายใน<br />

(Internal Faults)<br />

คือความผิดพรองที่เกิดขึ้นภายในเขตปองกันของหมอแปลง<br />

ฟอลตประเภทนี้ไมใชแค<br />

ฟอลตที่เกิดภายในตัวถังหมอแปลง<br />

แตรวมไปถึงฟอลตที่เกิดภายนอกตัวถังและอยูภายในเขตของ<br />

หมอแปลงกระแส ฟอลตที่เกิดขึ้นภายในเขตปองกันของหมอแปลงสามารถแบงออกไดเปนสอง<br />

แบบ คือ ความผิดพรองที่เกิดขึ้นอยางชา<br />

และความผิดพรองที่เกิดขึ้นฉับพลัน<br />

2.1 ความผิดพรองที่เกิดขึ้นอยางชา(Incipient<br />

Faults) คือความผิดพรองที่พัฒนาตัวเองขึ้น<br />

อยางชาๆ แตเมื่อเกิดขึ้นเปนเวลานานจะกลายเปนความผิดพรองขนาดใหญ<br />

ถาไมสามารถตรวจพบ<br />

และแกไขสาเหตุ ความผิดพรองชนิดนี้แบงออกเปนสามชนิดไดแก<br />

2.1.1 ความรอนสูงเกิน(Overheating) อาจจะเกิดไดหลายสาเหตุที่แตกตางกันภายใน<br />

หมอแปลงดังตอไปนี้<br />

ก. จุดตอภายในไมดี อาจจะเปนวงจรไฟฟา หรือวงจรแมเหล็ก<br />

ข. สูญเสียการระบายความรอนเนื่องจากรั่ว<br />

ค. เกิดการขีดขวางเสนทางการไหลของตัวระบายความรอน (Coolant)<br />

2.1.2 ฟลักซสูงเกิน(Overfluxing) ไดกลาวไวขางตนในหัวขอฟอลตที่เกิดขึ้นภายนอก<br />

ซึ่งนําไปสูการเกิดเบรคดาวนฉนวนของวงจรแมเหล็กและฉนวน<br />

2.1.3 ความดันสูงเกิน(Overpressure) ความดันสูงเกินในตัวถังหมอแปลงเกิดจากการ<br />

ปลอยกาซภายในตัวถังบริเวณที่เกิดความรอน<br />

อาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ เชน เกิดการลัดวงจร<br />

ระหวางรอบตอรอบ ทําใหเกิดการลุกไหมชาๆ และปลอยกาซออกมา กาซเหลานี้จะสะสมในตัวถัง<br />

และเพิ่มความดันภายในตัวถัง<br />

94


2.2 ความผิดพรองที่เกิดขึ้นทันที<br />

(Active Faults) คือฟอลตที่เกิดขึ้นอยางฉับพลันและ<br />

ตองการปองกันโดยรีเลยปองกันโดยเร็ว เพื่อที่จะปลดหมอแปลงออกจากระบบและจํากัดความ<br />

เสียหายแกตัวหมอแปลง โดยสวนใหญความผิดพรองจําพวกนี้ไดแก<br />

2.2.1 ความผิดพรองในขดลวดวายที่จุดนิวตรอลลงดินผานอิมพิแดนซ<br />

การลัดวงจร<br />

ลงดินที่เกิดขึ้นที่ขดลวดตัวนําของหมอแปลงที่ตอแบบนี้<br />

จะทําใหเกิดกระแสลัดวงจรไหล คาของ<br />

กระแสที่ไหลจะขึ้นอยูกับคาของอิมพิแดนซที่ตอลงดินนั้น<br />

และจะขึ้นอยูกับระยะหางของตําแหนง<br />

ที่เกิดการลัดวงจรจากจุดนิวตรอลเพราะแรงดันที่การลัดวงจรจะขึ้นอยูโดยตรงกับระยะหางนี้<br />

สัดสวนการแปลง (Transformation Ratio) ระหวางขดลวดตัวนําปฐมภูมิ และขดที่ลัดวงจร<br />

(Shortcircuited<br />

Turns) จะเปลี่ยนไปตามตําแหนงที่เกิดการลัดวงจรดวย<br />

2.2.2 ความผิดพรองในขดลวดวายที่จุดนิวตรอลลงดินโดยตรง<br />

ในกรณีนี้กระแส<br />

ลัดวงจรจะถูกจํากัดโดยลีคเกจรีแอคแตนซของขดลวดตัวนําโดยตรง ซึ่งคารีแอคแตนซนี้จะ<br />

แปรเปลี่ยนไปตามตําแหนงของการลัดวงจรในลักษณะที่คอนขางจะยุงยาก<br />

คาของแรงดันที่จุด<br />

ลัดวงจร ซึ่งมีคาเปลี่ยนแปลงตามตําแหนงของการลัดวงจรก็จะมีความสําคัญเหมือนกัน<br />

แตคารีแอค<br />

แตนซ ในกรณีนี้จะลดลงอยางรวดเร็วมาก<br />

ถาการลัดวงจรเกิดขึ้นใกลจุด<br />

นิวตรอล ทําใหกระแส<br />

ลัดวงจรมีคาสูงสุดในตําแหนงที่เกิดการลัดวงจรใกลกับจุดนิวตรอล<br />

ดังนั้นอาจจะสรุปไดวา<br />

เมื่อไม<br />

มีอิมพิแดนซตอระหวางจุดนิวตรอลกับดิน กระแสจะมีคาสูงกวากรณีที่จุดนิวตรอลลงดินผานอิมพิ<br />

แดนซ<br />

2.2.3 ความผิดพรองในขดลวดเดลตา เมื่อตอขดลวดตัวนําของหมอแปลงเปนแบบ<br />

เดลตา จะไมมีจุดใดเลยที่คาแรงดันจากดิน<br />

(Voltage to Earth) ต่ํากวา<br />

50% ของแรงดันเฟส ดังนั้น<br />

ขนาดของกระแสลัดวงจรจึงต่ํากวาในกรณีที่ตอเปนวายอยูมาก<br />

คาของอิมพิแดนซของขดลวด<br />

เดลตาจะเปลี่ยนแปลงอยูในชวง<br />

25 ถึง 50 เปอรเซ็นตเทียบกับพิกัดหมอแปลง กระแสลัดวงจรต่ําสุด<br />

จะเกิดขึ้นที่จุดกึ่งกลางของดานใดดานหนึ่งของขดลวดเดลตา<br />

คาของกระแสลัดวงจรอาจจะมีคาไม<br />

เกินคากระแสที่พิกัด(Rated<br />

Current) ของหมอแปลงเอง และอาจจะต่ํากวาคานี้ดวยซ้ําไป<br />

ถา<br />

แหลงจายหรือระบบตอลงดินโดยผานอิมพิแดนซคาสูงพอสมควร กระแสไหลมาจากปลายทั้งสอง<br />

ขางของขดลวดตัวนํามาลงที่จุดลัดวงจร<br />

และจะแบงไหลมาในอีก 2 เฟส ดังนั้น<br />

กระแสที่ไหลใน<br />

เฟสแตละเฟสอาจจะมีคาต่ํา<br />

ซึ่งตองพิจารณาการปองกันในลักษณะนี้ดวย<br />

95


2.2.4 การลัดวงจรระหวางเฟส การลัดวงจรระหวางเฟสมักจะเกิดขึ้นในหมอแปลง<br />

สามเฟสและมีโอกาสเกิดนอยมาก เมื่อเกิดการลัดวงจรในกรณีนี้ขึ้นจะทําใหเกิดกระแสลัดวงจรคา<br />

สูงเปรียบเทียบไดกับกระแสลัดวงจรแบบหนึ่งเฟสลงดิน<br />

2.2.5 การลัดวงจรระหวางวงรอบของขดลวด ในหมอแปลงแรงดันต่ํามักไมคอยเกิด<br />

เวนแตขดลวดจะเกิดความเสียหายทางกลจากกระแสลัดวงจรขนาดใหญจากภายนอกทําใหฉนวน<br />

แตกหรือแยกตัว หรือถามีความชื้นเขาไปปนอยูในน้ํามันก็อาจจะทําใหการฉนวนเสื่อมลงได<br />

สําหรับหมอแปลงแรงดันสูง ซึ่งตออยูกับสายสงแรงดันสูงแบบขึงสายในอากาศ<br />

จะมีโอกาสถูก<br />

แรงดันแบบอิมพัลส (Impulse) ซึ่งมีความชันหนาคลื่นสูง<br />

ซึ่งมีคาที่ยอดหลายเทาของแรงดันที่<br />

กําหนดของระบบ (Rater System Voltage) แรงดันแบบอิมพัลซหรือเซิจจากสายนี้<br />

จะมีผลมากตอ<br />

รอบขดลวดที่อยูตรงปลายของขดลวดตัวนํา<br />

ซึ่งเปนดานแรกที่แรงดันอิมพัลซเขามากระทบการ<br />

ฉนวนของขดลวดสวนที่อยูทางดานปลายนี้<br />

มักจะตองมีการเสริมใหมากขึ้น<br />

แตก็ไมสามารถทําให<br />

สูงเหมือนการฉนวนกับดิน ซึ่งมีคาสูงได<br />

ดังนั้นจึงมีโอกาสเกิดลัดวงจรบางสวนในขดลวดตัวนํา<br />

(winding partial flash-over) ไดมากกวาที่จะเกิดการลัดวงจรลงดิน<br />

2.2.6 การลัดวงจรที่แกนเหล็กของหมอแปลง(Core<br />

Fault) ถาฉนวนระหวางแผน<br />

เหล็กที่ใชทําแกน<br />

เกิดชํารุดจะทําใหเกิดกระแสไหลวน (Eddy-Current) คาสูงพอที่จะทําใหความ<br />

รอนสูงได ตัวยึด (Bolts) ซึ่งอัดแกน<br />

เขาไวดวยกันมักจะมีฉนวนเพื่อปองกันเหตุการณเชนนี้<br />

ถา<br />

ฉนวนของแกนสวนใดสวนหนึ่งเกิดชํารุด<br />

ความรอนสูงเกินขนาดที่เกิดขึ้นอาจจะมีคาสูงพอที่จะทํา<br />

ใหขดลวดตัวนําชํารุดเสียหายได ความสูญเสียในแกน(Core Loss) ที่เพิ่มขึ้น<br />

ถึงแมวาจะทําใหเกิด<br />

ความรอนสูงขึ้นมากเปนที่ไหลเขาเปลี่ยนแปลงมากจนเห็นไดชัด<br />

และไมสามารถจะมองเห็น หรือรู<br />

ไดดวยวิธีปองกันทางไฟฟาแบบธรรมดา แตก็ควรจะรูอยางทันทวงทีกอนที่การลัดวงจรจะลุกลาม<br />

ไปมาก ถาหมอแปลงเปนแบบแชอยูในน้ํามันจะทําไดไมลําบากนัก<br />

เพราะถาความรอนขึ้นสูง<br />

พอที่จะเปนอันตรายตอฉนวนของขดลวดตัวนํา<br />

มันก็จะสูงพอที่จะใหน้ํามันแยกตัวเกิดเปนกาชขึ้น<br />

2.2.7 ความผิดปกติที่ถังหมอแปลง<br />

(Tank Fault) การรั่วของน้ํามันออกจากถังของ<br />

หมอแปลง จะทําใหเกิดสภาพที่อันตรายตอหมอแปลงเองมาก<br />

นอกจากจะทําใหการฉนวนของ<br />

ขดลวดตัวนําลดลงแลว ยังอาจทําใหเกิดความรอนสูงเกินขนาด (Overheating) เนื่องจากการระบาย<br />

ความรอนจะเลวลง ตระกัน (Sludge) ของน้ํามันอาจจะอุดทอระบายความรอนทําใหหมอแปลงรอน<br />

96


ขึ้นมากกวาปกติ<br />

นอกจากนี้หมอแปลงไฟฟากําลังสวนใหญจะมีพัดลมระบายความรอนชวยระบาย<br />

ความรอนของน้ํามันถาพัดลมเกิดชํารุดเสียหายก็เปนเหตุใหเกิดความรอนสูงเกินอีกทางหนึ่ง<br />

97


1. การปองกันทางไฟฟา(Electircal Protections)<br />

การปองกันหมอแปลงไฟฟา<br />

1.1 การปองกันแบบผลตาง(Differential Protection) เนื่องจากหมอแปลงเปนอุปกรณที่มี<br />

ประสิทธิภาพในการทํางานสูง จํานวนแอมป-รอบ (Ampere-turns)ของทางดานปฐมภูมิและ<br />

ทางดานทุติยภูมิมีคาใกลเคียงกันมาก เมื่อพิจารณาหมอแปลง<br />

1 เฟส สองขดลวด แสดงในภาพที่<br />

84<br />

ในสภาวะการทํางานปกติ NI 1 1( PRI ) = NI 2 2( PRI ) ถาเราใชหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนจํานวน<br />

รอบเทากับ1: n1 และ1: 2 ทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิตามลําดับ(Arun, 1992)<br />

n<br />

ภายใตสภาวะปกติ<br />

กระแสในขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสมีความสัมพันธดังนี้คือ<br />

NnI NnI<br />

1 1 1( SEC CT ) 2 2 2( SEC−CT )<br />

− = (47)<br />

ถาเราเลือกหมอแปลงกระแสที่เหมาะสม<br />

เราจะได Nn 1 1= Nn 2 2และ<br />

I1( SEC− CT ) = I2(<br />

SEC _ CT )<br />

ในทางกลับกันถาเกิดความผิดพรองภายในเขตปองกัน จะเกิดผลตางระหวาง I1( SEC−CT ) และ<br />

ซึ่งเปนสัดสวนกับกระแสลัดวงจร<br />

เราจะไดกระแสผลตางคือ<br />

I2(<br />

SEC _ CT )<br />

I = I −I T<br />

d 1( SEC−CT) 2( SEC_ C )<br />

N : N<br />

1 2<br />

1:n I 1 1( PRI )<br />

I2(<br />

PRI ) 1:n2<br />

I1( SEC−CT )<br />

2( SEC CT )<br />

Id<br />

87<br />

I −<br />

ภาพที่<br />

84 การปองกันแบบผลตางของหมอแปลงแปลง 1 เฟส<br />

ที่มา:<br />

Arun (1992)<br />

(48)<br />

98


ในภาพที่<br />

84 จะเปนการปองกันหมอแปลงไฟฟากําลังแบบผลตาง ขั้นตอนในทางปฏิบัติที่<br />

ตองพิจารณากอนที่จะนํารีเลยวัดคาผลตางมาใช<br />

ขอแรกคือเราไมสามารถที่จะหาหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนจํานวนรวมที่ตรงกับดาน<br />

ปฐมภูมิและทุติยภูมิได ดังนั้นตองเลือกหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนจํานวนรอบตามมาตรฐาน<br />

นอกจากนี้ตัวรีเลยเองก็มีหลายตําแหนงแท็ปสําหรับแตละอินพุตของหมอแปลงกระแสที่ตอกับรีเลย<br />

ดังนั้นการใชหมอแปลงกระแสชวย<br />

(Auxiliary CTs) สามารถแกไขปญหาอัตราสวนจํานวนรอบ ใน<br />

หลายกรณีการปรับแตงนี้ยังคงมีคาอัตราสวนมิสแมทช(Ratio<br />

mismatch) ซึ่งทําใหเกิดกระแสผลตาง<br />

ปริมาณนอยระหวางอยูในสภาวะปกติ<br />

ขอที่สองความคลาดเคลื่อนของหมอแปลงกระแสทั้งสองอาจมีความแตกตางซึ่งกันและ<br />

กัน ซึ่งนําไปสูการเกิดกระแสผลตางขณะโหลดปกติ<br />

หรือเกิดความผิดพรองนอกเขตปองกัน<br />

และขอสุดทายถาหมอแปลงมีอุปกรณเปลี่ยนแท็ปในตัว<br />

จะทําใหอัตราสวนจํานวนรอบ<br />

ของหมอแปลงเปลี่ยนเมื่อมีการเปลี่ยนแท็ป<br />

โดยปกติตัวเปลี่ยนแท็ปจะกําหนดมาในรูปของ<br />

เปอรเซนต ตัวอยางเชน ± 10% ดังนั้นอัตราสวนการเปลี่ยนแปลงจะอยูในชวง<br />

20%( + 10%, −10%)<br />

ในทางปฎิบัติเราจะเลือกอัตราสวนหมอแปลงกระแสและแท็ปของรีเลยให<br />

สมดุลยกับจุดกึ่งกลางแท็ปหมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

เพราะฉะนั้นจะทําใหคาคลาดเคลื่อนสูงสุดของ<br />

แท็ปหมอแปลงเทากับ10%<br />

ผลกระทบทั้งสามขอที่กลาวมา<br />

ทําใหเกิดกระแสผลตางในรีเลย ดังนั้นรีเลยตองออกแบบ<br />

ใหทํางานไดดีโดยปราศจากการทริป ภายในตัวรีเลยผลตางแบบเปอรเซ็นต กระแสผลตางจะตอง<br />

มากกวาเปอรเซ็นตคงที่ของกระแสที่ไหลผานในหมอแปลง<br />

โดยที่กระแสที่ไหลผานคือคาเฉลี่ยของ<br />

กระแสดานปฐมภูมิและทุติยภูมิ<br />

I = ( I − I )/2<br />

r 1( SEC−CT) 2( SEC_ CT)<br />

กระแส I r คือกระแสตาน(Restraint Current) กระแสนี้จะผลิตแรงบิดดานบนจานเคลื่อนที่<br />

ขณะที่กระแสผลตางจะผลิตแรงบิดทํางาน<br />

(Operating Torque) รีเลยจะทํางานเมื่อ<br />

Id ≥ kI . r เมื่อ<br />

k<br />

คือความชันของคุณลักษณะผลตางเปอรเซ็นต โดยคา k เปนตัวบอกคาเปอรเซ็นต เชน 10% , 20%<br />

และ 40% รีเลยที่มีความไว<br />

10% จะมีความไวกวารีเลยที่มีความชัน<br />

40% ภาพที่<br />

85 แสดงคุณ<br />

ลักษณะผลตางเปอรเซ็นตทางปฏิบัติ ของรีเลยผลตาง โดยมีแหลงกําเนิดกระแสผลตางทั้งสามใน<br />

สภาวะปกติและชวงเผื่อของความปลอดภัย<br />

(Margin of Safety)<br />

(49)<br />

99


รีเลยที่นํามาใชปองกันแบบวัดคากระแสผลตางนี้เราสามารถแบงไดเปน<br />

3 ชนิดไดแก ชนิด<br />

แรกคือ รีเลยกระแสเกิน(Overcurrent Relay) ซึ่งอาจจะมีฟงกชั่นการทํางานแบบสั่งทริปทันทีทันใด<br />

รวมอยูดวย<br />

ชนิดที่สองคือ<br />

รีเลยผลตางแบบเปอรเซนตที่มีขดลวดตาน(Percentage<br />

Differential<br />

Relay with Restraint) ชนิดที่สามคือ<br />

รีเลยผลตางแบบเปอรเซนตที่มีชุดตานฮารมอนิค(Percentage<br />

Differential Relay with Harmonic Restraint)<br />

Id<br />

I pu<br />

ทริป<br />

ภาพที่<br />

85 แสดงคุณลักษณะผลตางเปอรเซ็นตทางปฏิบัติ<br />

ที่มา:<br />

Arun (1992)<br />

I r<br />

ชวงเผื่อ<br />

การเปลี่ยนแท็ปหมอแปลง<br />

100<br />

คาคลาดเคลื่อนของหมอแปลงกระแส<br />

อัตราสวนมิสแมชท<br />

1.2 การปองกันกระแสเกิน (Overcurrent Protection) การลัดวงจรที่เกิดขึ้นสวนใหญจะทํา<br />

ใหเกิดกระแสสูง ดังนั้นการปองกันจึงอาจใชคาของกระแสเกินขนาดนี้เปนเกณฑได<br />

การปองกัน<br />

กระแสเกินนี้อาจจะใชฟวส<br />

(Fuses) หรือรีเลยกระแสเกินได<br />

1.2.1 ฟวส(Fuses) หมอแปลงไฟฟาขนาดเล็กมักจะปองกันโดยใชฟวสอยางเดียว ใน<br />

บางกรณีจะไมมีเซอรกิตเบรคเกอร(Circuit Breaker) ฟวสจึงเปนอุปกรณตัวเดียวที่จะแยกหมอ<br />

แปลงออกจากระบบโดยอัตโนมัติ พิกัดของฟวสจะตองสูงกวาคากระแสโหลดสูงสุดของหมอ<br />

แปลง นอกจากนี้ฟวสตองสามารถทนตอการจายโหลดเกินชั่วครูและทนตอกระแสพุงเขาของหมอ<br />

แปลง ฟวสที่นิยมใชกันไดแกฟวสแบบเอชอารซี<br />

(H.R.C)ซึ่งจะทํางานไดอยางรวดเร็วเมื่อกระแสมี<br />

คาสูง ตามมาตรฐาน IEEE C37.91-2000 ระบุไววาจะใชฟวสปองกันหมอแปลงตั้งแตขนาดเล็ก<br />

จนถึงขนาด 5000 กิโลโวลต-แอมป


1.2.2 รีเลยกระแสเกิน(Overcurrent Relay) สําหรับหมอแปลงขนาดใหญขึ้น<br />

เชน 100<br />

kVA หรือใหญกวาอาจควบคุมการตัดวงจรโดยใชเซอรกิตเบรคเกอร(Circuit Breaker) การปองกัน<br />

แบบนี้จะทําไดดีขึ้นกวาฟวสดวยเหตุผลสองประการคือ<br />

จะทํางานไดเร็วกวาในชวงที่กระแส<br />

ลัดวงจรมีคาต่ํา<br />

และยังสามารถปองกันความผิดพรองลงดิน(Earth Fault Protection)ไดดวย รีเลย<br />

กระแสเกินจะทํางานเมื่อมีกระแสผานถึงคาที่ตั้งไวคือ<br />

การทํางานจะขึ้นอยูกับคาของกระแสเพียง<br />

อยางเดียวหมอแปลงขนาดเล็กบางตัวจะใชรีเลยกระแสเกินชวยปองกันความผิดพรองภายในหมอ<br />

แปลงและหมอแปลงขนาดใหญจะใชรีเลยกระแสเกินเปนการปองกันสํารองใหกับการปองกันแบบ<br />

ผลตางหรือรีเลยวัดความดัน<br />

รีเลยกระแสเกินที่ใชงานกันโดยทั่วไปมีหลายแบบดังเชนรีเลยกระแสเกิน-เวลา<br />

(Time<br />

Over Current Relay) และรีเลยกระแสเกินชนิดฉับพลัน(Instantaneous Over Current Relay) ซึ่งการ<br />

ใชงานแตละชนิดขึ้นอยูกับวัตถุประสงคและเงื่อนไขในการปองกันของหมอแปลงตัวนั้นๆ<br />

ซึ่ง<br />

รูปแบบการปองกันแสดงดังภาพที่<br />

86<br />

ขดลวดหมอแปลง<br />

หมอแปลงกระแส หมอแปลงกระแส<br />

50/51<br />

INST/TIME<br />

ภาพที่<br />

86 การปองกันกระแสเกินดวยรีเลย 50 และรีเลย 51<br />

ที่มา<br />

: GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

50/51<br />

INST/TIME<br />

101


1.3 การปองกันความผิดพรองลงดิน(Ground Fault Protection) การตรวจจับความผิดพรอง<br />

ลงดินนั้นเรานิยมใชรีเลยผลตางหรือไมก็รีเลยกระแสเกินนํามาประยุกตใชงานซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะ<br />

การตอของหมอแปลง หมอแปลงกระแสที่นํามาใชงาน<br />

แหลงจายกระแสลําดับศูนยและการออก<br />

แบบระบบที่ใชงาน<br />

1.3.1 การปองกันความผิดพรองลงดินของขดลวดเดลตาและสตาร รีเลย 51N ดาน<br />

ขดลวดเดลตาในภาพที่<br />

87 และภาพที่<br />

88 ทําหนาที่ตรวจจับความผิดพรองลงดินในขดลวดเดล<br />

ตาโดยที่มีการตอกับแหลงจายกระแสลําดับศูนยอยูแลว<br />

สวนทางดานขดลวด สตารระบบจะตอง<br />

แยกแยะระหวางความผิดพรองภายในและภายนอก และในภาพที่<br />

87 และภาพที่<br />

88 ไดนํารีเลย 87N<br />

(Ground Differential Relay) และรีเลย 67N(Directional Ground Relay) โดยที่รีเลยทั้งสองจะทํางาน<br />

ไดอยางถูกตองเมื่อเกิดความผิดพรองภายในและจะไมทํางานเมื่อเกิดความผิดพรองลงดินจาก<br />

ภายนอกเขตปองกัน นอกจากนี้เมื่ออัตราสวนของหมอแปลงกระแสของทางดานเฟสและสายนิว<br />

ตรอลไมเทากันจําเปนตองใชหมอแปลงกระแสชวยในการแปลงอัตราสวนกระแสที่ไหลเขารีเลย<br />

หมอแปลงกระแส<br />

รีเลย 51N<br />

ขดลวดหมอแปลงแบบเดลตา-สตาร<br />

87N<br />

51 51 51<br />

หมอแปลงกระแสชวย<br />

ภาพที่<br />

87 การปองกันความผิดพรองลงดินของขดลวดเดลตาและสตารโดยใชรีเลย 87N<br />

ที่มา:<br />

IEEE C37.91 (2000)<br />

102


หมอแปลงกระแส<br />

รีเลย 51N<br />

ขดลวดหมอแปลงแบบเดลตา-สตาร<br />

O<br />

OPERATE<br />

D<br />

DORECTIONAL<br />

หมอแปลงกระแสชวย<br />

67N<br />

ภาพที่<br />

88 การปองกันความผิดพรองลงดินของขดลวดเดลตาและสตารโดยใชรีเลย 67N<br />

ที่มา:<br />

IEEE C37.91 (2000)<br />

1.3.2 การปองกันความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณ(Restricted Earth Fault<br />

Protection) การปองกันความผิดพรองลงดินแบบใชกระแสผลตาง หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา<br />

การ<br />

ปองกันความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณดังแสดงในภาพที่<br />

89 กระแสเศษเหลือ (residual<br />

current) จากหมอแปลงกระแสทั้ง<br />

3 ตัวทางดานสายจะสมดุลยกับกระแสจากหมอแปลงกระแส<br />

ทางดานสายนิวตรอลและรีเลยที่ใชเปนแบบอิมพิแดนซสูง<br />

ระบบนี้จะทํางานเฉพาะในกรณีที่การ<br />

ลัดวงจรเกิดขึ้นภายในจุดที่ตอหมอแปลงกระแส<br />

คือ การลัดวงจรที่เกิดในขดลวดที่ตอเปนวาย<br />

ไว<br />

เทานั้น<br />

และจะไมทํางานเมื่อการลัดวงจรเกิดขึ้นภายนอกเขตนี้<br />

ไมวาการลัดวงจรนั้นจะเปนชนิดใด<br />

ขอดีของการปองกันแบบนี้เนื่องจากสามารถใช<br />

รีเลยแบบฉับพลัน (Instantaneous) ซึ่งตั้งคาไว<br />

ต่ําได<br />

การปองกันความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณนี้จะนิยมใชกับหมอแปลงที่ตอแบบวายตอ<br />

ลงดินโดยตรง เนื่องจากกระแสลัดวงจรจะสูงถึงแมการลัดวงจรจะเกิดขึ้นที่รอบของขดลวดทายๆ<br />

103


จึงจะปองกันขดลวดสําหรับความผิดพรองลงดินไดตลอด ซึ่งเปนผลดีเมื่อเปรียบเทียบกับระบบซึ่ง<br />

ไมมีการวัดกระแสในสายนิวตรอล<br />

1.3.3 การปองกันแบบผสมระหวางการวัดผลตางและความผิดพรองลงดินแบบจํากัด<br />

บริเวณ (Combined Differential and Restricted Earth Fault Protection) การปองกันแบบผสมกันนี้<br />

ทําใหมีประสิทธิภาพในการปองกันหมอแปลงที่สูงขึ้นเนื่องจากการปองกันแบบผลตางอยางเดียว<br />

อาจจะมีความไวในการปองกันไมเพี่ยงพอ<br />

เมื่อหมอแปลงที่มีการตอแบบวายและตอลงดินผาน<br />

อิมพีแดนซ ถึงแมวาจะเกิดการลัดวงจรที่บริเวณใกลกับจุดนิวตรอลก็ตามวิธีนี้สามารถปองกัน<br />

ขดลวดหมอแปลงไดทั้งหมดและมีรูปแบบการตอดังภาพที่<br />

90 ซึ่งจากรูปจะเห็นวาทางดานขดลวด<br />

วายหมอแปลงกระแสจะตอแบบวายเพื่อปอนกระแสใหแกรีเลยปองกันแบบจํากัดบริเวณ<br />

แตใน<br />

สวนของรีเลยผลตางนั้นโดยปกติขดลวดหมอแปลงไฟฟากําลังดานวายจะตองตอหมอแปลงกระแส<br />

แบบเดลตาจึงจําเปนตองใชหมอแปลงชวย เปนตัวจายกระแสแบบเดลตาใหกับรีเลยผลตาง<br />

ขดลวดหมอแปลงที่ตอแบบวาย<br />

หมอแปลงกระแส<br />

64<br />

รีเลยแบบอิมพีแดนซสูง<br />

ภาพที่<br />

89 การปองกันความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณ<br />

ที่มา:<br />

GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

A<br />

B<br />

C<br />

104


1.4 การปองกันฟลักซสูงเกิน (Overfluxing Protection) การเกิดฟลักซสูงเกินไปนี้<br />

มักจะ<br />

เนื่องมาจากความผิดพลาดในการดําเนินการใชหมอแปลงคือเปนสภาวะการทํางานผิดปกติ<br />

(Abnormal Operating Conditions) กรณีเชนนี้ไมจําเปนตองรีบตัดหมอแปลงออกจากระบบทันที<br />

เพราะระบบอาจมีการรบกวนชั่วครู<br />

อาจปลอยไวไดนานถึง 1 หรือ 2 นาที แตถาสภาพยังคงเปน<br />

เชนนี้อยู<br />

อาจจะตองตัดหมอแปลงออกจากระบบก็ได เพราะความรอนของแกนเหล็กหมอแปลงจะ<br />

สูงขึ้นฟลักซจะขึ้นอยูกับอัตราสวนV<br />

/ f ซึ่งเทากับ<br />

⎛V⎞<br />

φ = k ⎜⎝<br />

f ⎠<br />

⎟ (50)<br />

ดังนั้น<br />

ในการปองกันฟลักซสูงเกินไปจึงจะตองวัดวาอัตราสวนV / f มีคาเปนเปอรยูนิต ซึ่งก็<br />

หมายถึงมีคาขึ้นอยูกับฟลักซในหมอแปลง<br />

การปองกันฟลักซสูงเกินไปนี้จะใชคอนขางมากกับหมอ<br />

แปลงที่ติดอยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

เพราะโอกาสเกิดการทํางานผิดปกติเชนนี้จะมีมากกวาหมอ<br />

แปลงอื่น<br />

1.5 การปองกันความผิดพรองจากตัวถังลงดิน (Tank-earth Protection) การปองกันแบบนี้<br />

เรียกวา การปองกันแบบโฮวาด (Howard Protection) โดยปกติตัวถังของหมอแปลงจะมีคาความ<br />

เปนฉนวนจากดินดวยคาความตานทานของฉนวนประมาณ10 โอหมซึ่งเพียงพอตอการลัดวงจรลง<br />

ดิน การปองกันการลัดวงจรในลักษณะนี้สามารทําไดโดยตอรีเลยเขาทางขดลวดทุติยภูมิของหมอ<br />

แปลงกระแสและขดลวดของหมอแปลงกระแสตอระหวางตัวถังหมอแปลงกับจุดตอลงดินดังแสดง<br />

ในภาพที่<br />

91<br />

105


ขดลวดหมอแปลง<br />

ขดลวดไบแอส<br />

รีเลยปองกันฟอลต<br />

แบบจํากัดบริเวณ<br />

87 87 87<br />

รีเลยแบบวัดคาผลตาง<br />

64<br />

หมอแปลงกระชวย<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ขดลวดทํางาน<br />

ภาพที่<br />

90 การปองกันแบบผสมระหวางการวัดผลตางและความผิดพรองลงดินแบบจํากัดบริเวณ<br />

ที่มา:<br />

GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

ตัวถังหมอแปลง<br />

ภาพที่<br />

91 การปองกันความผิดพรองจากตัวถังลงดิน<br />

ที่มา:<br />

GEC ALSTOM Measurements Limited (1990)<br />

R<br />

รีเลย<br />

106


2. การปองกันทางดานความรอน(Thermal Protection)<br />

พิกัดของหมอแปลงจะขึ้นอยูกับคาอุณหภูมิเพิ่ม(Temperature<br />

Rise) จากอุณหภูมิแวดลอม<br />

สูงสุดที่กําหนด<br />

จึงเปนขอจํากัดในการจายโหลดของหมอแปลง และในกรณีเชนนี้<br />

การจายโหลด<br />

เกินขนาดไดบาง การจายโหลดเกินขนาดอาจจะทําไดบางในชวงเวลาสั้นๆ<br />

ขึ้นอยูกับการใชงานของ<br />

หมอแปลงกอนหนานั้น<br />

กฎตายตัวที่จะกําหนดวาหมอแปลงจะจายโหลดเกินขนาดเปนระยะเวลา<br />

นานเทาไรนั้นทําไดยาก<br />

แตสิ่งที่สําคัญคือจะตองไมใหขดลวดตัวนํามีความรอนสูงเกินไป<br />

ถา<br />

อุณหภูมิมีคาสูงเวลานานยอมจะทําใหฉนวนเสื่อมสภาพไดเร็ว<br />

อุณหภูมิสูงสุดในเวลาใชงานจะ<br />

ประมาณ 95 องศาเซลเซียส ถาปลอยใหอุณหภูมิขึ้นสูงกวานั้นไป<br />

8-10 องศาเซลเซียสเปนเวลานาน<br />

อายุของหมอแปลงจะสั้นลงประมาณครึ่งหนึ่ง(GEC<br />

ALSTOM Measurements Limited, 1990)<br />

การปองกันการจายโหลดเกินขนาดจึงจะใชการวัดอุณหภูมิของขดลวดตัวนําเปนเกณฑ ซึ่ง<br />

โดยมากจะใชวิธี ซึ่งเรียกวาเทคนิคการจําลองแบบเชิงความรอน<br />

(Thermal Image Technique หรือ<br />

Thermal Replica) โดยมากมักจะทําเปนเหมือนกระเปา (Pocket) เล็กๆ อยูตรงสวนบนของถังหมอ<br />

แปลง (อยูต่ําจากฝาบนประมาณ<br />

10 นิ้ว<br />

ซึ่งเปนตําแหนงที่น้ํามันมีอุณหภูมิสูงสุด)<br />

ในกระเปานี้จะมี<br />

ขดลวดใหความรอน ซึ่งแบงกระแสมาจากกระแสทางดานแรงดันต่ําของหมอแปลง<br />

และจะทําให<br />

เกิดอุณหภูมิขึ้นที่สวนนี้<br />

ในลักษณะที่คลายกับที่มีในขดลวดตัวจริง<br />

เมื่อเทียบกับอุณหภูมิของน้ํามัน<br />

จะมีหนวยวัดที่อุณหภูมิติดตั้งอยูในสวนนี้<br />

ซึ่งจะสามารถวัดอุณหภูมิของหมอแปลงไดอยางใกลชิด<br />

มาก โดยคํานึงถึงอุณหภูมิของบริเวณที่อยูรอบๆ<br />

3. การปองกันทางดานความดันและกาชภายในตัวถังหมอแปลง(Pressure and Gas Protection)<br />

โดยปกติหมอแปลงไฟฟากําลังขนาดใหญจะเปนแบบขดลวดแชอยูในฉนวนน้ํามัน<br />

เมื่อเกิด<br />

ความผิดปกติภายในตัวหมอแปลงเชน เกิดการอารคหรือการดิสชารจบางสวนของขดลวดจะทําให<br />

เกิดกาชที่ผิดปกติและทําใหเกิดความดันสูงเกินกวาปกติ<br />

ปริมาณกาชและระดับความดันที่สูงเกิน<br />

ภายในถังขึ้นอยูกับความรุนแรงของการอารค<br />

อุปกรณที่ใชในการตรวจจับและปองกันความผิดปกติ<br />

ประเภทนี้ไดแก<br />

อุปกรณตรวจจับความดันทันทีทันใด(Sudden Pressure Device)อุปกรณปลอย<br />

ความดัน(Pressure Relief Devices) ใชในกรณีเกิดความดันภายในถังสูงเกินแตไมมากนักซึ่งจะชวย<br />

รักษาระดับความดันภายในถัง และรีเลยบุคโฮลซ(Buchholz Relay) เปนอุปกรณตรวจจับกาชที่<br />

ผิดปกติที่ลอยขึ้นมาจากถังหมอแปลง<br />

นอกจากนี้อาจจะมีอุปกรณที่ตรวจจับความผิดปกติของกาช<br />

ภายในถังหมอแปลงโดยนํากาชไปวิเคราะหความผิดปกติที่คอยๆเกิดขึ้นภายในหมอแปลง<br />

107


การขนานหมอแปลง<br />

การขนานหมอแปลงคือการนําหมอแปลงตั้งแต<br />

2 ตัวขึ้นไปมาตอรวมกันโดยที่ขดลวดดาน<br />

แรงสูงตอขนานกันและขดลวดดานแรงต่ําตอขนานกัน<br />

สําหรับหมอแปลง 1 เฟสขั้วตอสายไลน<br />

(Line)จะตอเขาดวยกันและขั้วตอสายนิวตรอลจะตอกับสายนิวตรอลดังแสดงในภาพที่<br />

92<br />

ภาพที่<br />

92 การขนานหมอแปลง 1 เฟส<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

ดานแรงสูง<br />

่ ่<br />

L N<br />

L N<br />

หมอแปลงตัวที 1<br />

หมอแปลงตัวที 2<br />

L N<br />

L<br />

ดานแรงต่ํา<br />

สวนหมอแปลง 3 เฟสจะตองพิจารณากลุมเวกเตอรของหมอแปลงที่สามารถตอขนานกัน<br />

ได (Bernard, 1987)และในการที่จะขนานหมอแปลงจะตองคํานึงถึงเงื่อนไขดังตอไปนี้<br />

1. อัตราสวนแรงดันของหมอแปลง<br />

โดยปกติหมอแปลงที่จะนํามาขนานกันจะตองมีอัตราสวนแรงดันที่เทากันกลาวคือแรงดัน<br />

ดานแรงสูงของหมอแปลงที่นํามาขนานตองกัน<br />

และดานแรงต่ําก็เชนเดียวกัน<br />

ซึ่งในทางปฎิบัติ<br />

แรงดันอาจจะไมเทากันพอดี แตผลตางของแรงดันที่ยอมรับไดไมเกิน<br />

0.5 % ผลที่ตามมาในกรณีที่<br />

อัตราสวนแรงดันไมเทากันคือจะเกิดกระแสไหลวนระหวางหมอแปลงที่ขนานกัน<br />

N<br />

108


2. อิมพีแดนซของหมอแปลง<br />

คาอิมพีแดนซของหมอแปลงที่ขนานกันจะตองเทากันหรือมีผลตางของคาอิมพีแดนซไม<br />

เกิน 10 % ซึ่งในทางปฎิบัติโอกาสที่คาอิมพีแดนซจะเทากันคอนขางนอยมากและเปนอีกหนึ่งปจจัย<br />

ที่ทําใหเกิดกระแสไหลวนระหวางหมอแปลงที่ขนานกัน<br />

3. อัตราสวนพิกัดกําลัง<br />

หมอแปลงที่นํามาขนานกันจะตองมีพิกัดกําลังอยูในชวง<br />

0.5-2.0 เทาของพิกัดกําลัง<br />

ตัวอยางเชน หมอแปลงตัวที่<br />

1 มีพิกัดกําลัง 100 kVA ดังนั้นหมอแปลงตัวที่<br />

2 หรือตัวถัดไปจะตองมี<br />

พิกัดกําลังระหวาง 50-200 kVA จึงจะขนานกันได<br />

4. กลุมเวกเตอร<br />

ในกรณีที่เปนการขนานหมอแปลง<br />

3 เฟส จะตองพิจารณาถึงกลุมเวกเตอรโดยทั่วไปกลุม<br />

เวกเตอรแบงออกเปน 4 กลุมใหญตามหมายเลขหนาปดนาฬิกาดังนี้<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

1 คือเลข 0,4,8 สามารถตอขนานกันไดภายในกลุมและไมสามารถตอขนานกับกลุม<br />

เวกเตอรอื่นได<br />

กลุมเวกเตอรที่ตอรวมกันคือ<br />

Yy0 , Dd0 , Dd4 , Dd8 , Dz0 , Dz4 , Dz8<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

2 คือเลข 6,10,2 สามารถตอขนานกันไดภายในกลุมและไมสามารถตอขนานกับ<br />

กลุมเวกเตอรอื่นได<br />

กลุมเวกเตอรที่ตอรวมกันคือ<br />

Yy6 , Dd2 , Dd6 , Dd10 , Dz2 , Dz6 , Dz10<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

3 และ 4 คือเลข 1,5 และ 7,10 ทั้งสองกลุมสามารถตอขนานกันไดและไมสามารถ<br />

ตอขนานกับกลุมเวกเตอรที่<br />

1 และ 2 ได กลุมเวกเตอรที่ตอรวมกันคือ<br />

Yd1 , Yd5 , Yd7 , Yd11 ,<br />

Dy1 , Dy5 , Dy7 , Dy11 , Yz1 , Yz5 , Yz7, Yz11<br />

ในการตอขนานรวมกันของแตละกลุมจะใชหลักการเลื่อนมุมเฟส<br />

120 ° โดยการสลับขั่ว<br />

ตอสาย โดยที่กลุมเวกเตอรที่<br />

1 และ 2 และ 3 จะสลับขั่วตอสายทางดานแรงต่ําขณะที่กลุมเวกเตอรที่<br />

4 จะสลับขั่วตอสายทั้งทางดานแรงสูงและดานแรงต่ํา<br />

ลักษณะการตอขั้วสายแสดงในภาพที่<br />

93<br />

109


ดานแรงต่ํา<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

1<br />

ดานแรงสูง<br />

ดานแรงต่ํา<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

2<br />

ดานแรงสูง<br />

ดานแรงต่ํา<br />

กลุมเวกเตอรที่<br />

3 และ 4<br />

ดานแรงสูง<br />

ภาพที่<br />

93 การตอขั้วสายหมอแปลง<br />

3 เฟส สําหรับการขนานหมอแปลง<br />

ที่มา<br />

: Bernard (1987)<br />

110


1. ศึกษาขอมูล<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1. เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล(Personal<br />

Computure)<br />

2. เครื่องสแกนเนอร(Scanner)<br />

3. เครื่องพิมพเอกสาร(Printer)<br />

วิธีการ<br />

1.1 ศึกษาทฤษฎีเบื้องตนของหมอแปลง<br />

โดยทําการศึกษาตั้งแตวงจรแมเหล็กที่เกี่ยวกับ<br />

ฟลักซแมเหล็กที่ไหลในแกนเหล็กหมอแปลงรวมถึงการเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในขดลวดนอก<br />

จากนี้ยังรวมถึงคุณลักษณะของหมอแปลงในอุดมคติ<br />

หมอแปลงขณะมีโหลดและขณะไมมีโหลดที่<br />

ใชงานจริงพรอมทั้งศึกษาวงจรสมมูลยของหมอแปลงและเวกเตอรไดอะแกรมของหมอแปลง<br />

1.2 ศึกษาลักษณะโครงสรางของหมอแปลง ศึกษาตั้งแตวัสดุที่ใชทําแกนเหล็กหมอแปลง<br />

และกรรมวิธีในการผลิตแกนเหล็กรวมถึงโครงสรางสนามแมเหล็ก ลักษณะการพันขดลวดแบบ<br />

ตางๆที่มีผลตอกระแสและแรงดัน<br />

ตัวถังหมอแปลงแบบตางๆ และวิธีระบายความรอนที่ใชใน<br />

ปจจุบัน<br />

1.3 ศึกษาการแบงชนิดและระบบฉนวนของหมอแปลง โดยทําการศึกษาการแบงชนิดตาม<br />

ลักษณะตางๆและระบบฉนวนของหมอแปลงแบบแหงและหมอแปลงฉนวนเหลว<br />

1.4 ศึกษาลักษณะการตอหมอแปลงและการแบงกลุมเวกเตอร<br />

ศึกษาการตอหมอแปลง<br />

สามเฟสแบบตางๆที่มีผลตอกระแสและแรงดันและที่มีผลตอการเลื่อนมุมเฟสของแรงดัน<br />

ศึกษาการ<br />

ตอแบบซิกแซกที่มีผลตอการเลื่อนมุมเฟสของแรงดันเพื่อนําไปใชงานโดยเจาะจงวัตถุประสงค<br />

นอก จากนี้ยังศึกษาการตอแบบสกอตและเลอ-บล็องที่เปนการแปลงแรงดันระหวางสองเฟสกับ<br />

สามเฟส และศึกษาการแบงกลุมเวกเตอรหมอแปลงเพื่อนําไปใชในการขนานหมอแปลง<br />

111


1.5 ศึกษาการทดสอบหมอแปลง โดยทําการศึกษาการทดสอบหมอแปลงแบบตางๆไดแก<br />

การทดสอบทางดานคุณลักษณะ การทดสอบทางดานฉนวน และการทดสอบทางดานการทํางาน<br />

1.6 ศึกษาทฤษฎีและการทํางานของหมอแปลงออโต ศึกษาการทํางานพื้นฐานและการตอ<br />

ขดลวดหมอแปลงออโตแบบสามเฟส รวมทั้งขอดีและขอเสียของหมอแปลงออโตและผลของการ<br />

ตอขดลวดตติยภูมิแบบเดลตา<br />

1.7 ศึกษาทฤษฎีและการทํางานของหมอแปลงกระแส ศึกษาชนิดและคาพิกัดตางๆของ<br />

หมอแปลงกระแส วงจรสมมูลย แผนภาพเฟสเซอร และการคํานวณหมอแปลงกระแส<br />

1.8 ศึกษาการเกิดกระแสพุงเขา<br />

ศึกษาพฤติกรรมและสาเหตุของการเกิดกระแสพุงเขาแบบ<br />

ตางในหมอแปลง<br />

1.9 ศึกษาการเกิดฮารมอนิกในหมอแปลง ศึกษาที่มาและสาเหตุของการเกิดฮารมอนิกและ<br />

ศึกษาความสัมพันธระหวางฮารมอนิกที่สามที่มีผลกระทบกับลักษณะการตอขดลวดหมอแปลง<br />

และศึกษาผลกระทบของฮารมอนิกที่มีตอหมอแปลง<br />

1.10 ศึกษาประเภทของความผิดพรองที่เกิดขึ้นกับหมอแปลง<br />

ทําการศึกษาสาเหตุของ<br />

ความผิดพรองโดยจะแบงออกเปนความผิดพรองที่เกิดขึ้นภายในและเกิดขึ้นภายนอกหมอแปลง<br />

1.11 ศึกษารูปแบบและวิธีการปองกันหมอแปลง โดยจะทําการศึกษาการปองกันหมอ<br />

แปลงทางไฟฟาโดยใชฟวส รีเลยกระแสเกิน และรีเลยผลตาง ศึกษาการปองกันทางดานความรอน<br />

โดยทําการวัดอุณหภูมิของขดลวดและฉนวนน้ํามัน<br />

นอกจากนี้ยังศึกษาการปองกันทางกลซึ่งไดแก<br />

การปองกันความดันที่เกิดขึ้นภายในตัวถังหมอแปลง<br />

1.12 ศึกษาการตอขนานหมอแปลง ทําการศึกษาปจจัยและเงื่อนไขที่มีผลกระทบตอขนาน<br />

หมอแปลงรวมถึงความสัมพันธของกลุมเวกเตอร<br />

112


2. รวบรวมขอมูล<br />

2.1 รวบรวมขอมูลอุปกรณปองกันหมอแปลง ทําการรวบรวมขอมูลของอุปกรณปองกัน<br />

และคูมือการเซตติ้งคา<br />

และบทความทางวิชาการ โดยคนหาทางอินเตอรเนต ขอมูลจากแคตาล็อก<br />

ของบริษัทผูผลิตทั้งในและตางประเทศและขอขอมูลโดยตรงจากบริษัทผูผลิตหมอแปลงในประเทศ<br />

2.2 รวบรวมรูปแบบการปองกันทางไฟฟา ตั้งแตการปองกันหมอแปลงสองขดลวด<br />

หมอ<br />

แปลงสามขดลวด หมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

หมอแปลงออโต รวมถึงลักษณะการตอหมอแปลงกระแส<br />

ของรีเลยแบบอิเล็คโตรแมคคานิก แบบสแตติคหรือโซลิตสเตท และแบบดิจิตอล ดังแสดงใน<br />

ภาคผนวก ก<br />

2.3 รวบรวมขอมูลตัวอยางกรณีศึกษาการปองกันหมอแปลงของการไฟฟาฝายผลิตแหง<br />

ประเทศไทยของฝายวิศวกรรมไฟฟาและระบบควบคุม และฝายบํารุงรักษาระบบสง โดยไดนํากรณี<br />

ศึกษาการปองกันหมอแปลงของโรงไฟฟาพระนครใต โรงไฟฟาวังนอย โรงไฟฟาราชบุรี และโรง<br />

ไฟฟากระบี่<br />

รวมถึงการปองกันหมอแปลงของสถานีไฟฟาแมสอด จังหวัดตาก<br />

2.4 รวบรวมขอมูลของโครงสราง องคประกอบอื่นๆ<br />

อุปกรณปองกันทางกลและอุปกรณ<br />

ปองกันทางความรอน รวมถึงการเซตติ้งคาอุปกรณปองกันแสดงในภาคผนวก<br />

ข<br />

2.5 รวบรวมวิธีระบายความรอนของหมอแปลงแบบแหงและหมอแปลงฉนวนเหลว<br />

รวมถึงคําจํากัดความของอักษรยอของการระบายความรอนและภาพประกอบวิธีระบายความรอน<br />

แบบตางๆ ดังแสดงในภาคผนวก ค<br />

2.6 รวบรวมระบบปองกันหมอแปลงระเบิดและเกิดไฟไหม ซึ่งเปนวิธีปองกันหมอแปลง<br />

ระเบิดสําหรับหมอแปลงฉนวนน้ํามัน<br />

2.7 รวบรวมขอมูลรีเลยปองกันทางไฟฟารุนตางๆของบริษัทผูผลิตรายใหญ<br />

ตั้งแตรีเลย<br />

แบบอิเล็คโตรแมคคานิก แบบสแตติคหรือโซลิตสเตท และแบบดิจิตอล แสดงในภาคผนวก ง<br />

113


3. วิเคราะหและสรุป<br />

3.1 ทําการวิเคราะหขอดีและขอเสียของอุปกรณปองกันหมอแปลงแบบตางๆรวมถึง<br />

วิเคราะหรูปแบบการปองกันทางไฟฟา<br />

3.2 สรุปการเลือกใชอุปกรณปองกันหมอแปลงไฟฟาแตละขนาดพิกัดโวลต-แอมปตั้งแต<br />

หมอแปลงในระบบจําหนาย ระบบสงจายไปจนถึงระบบผลิตไฟฟา รวมถึงสถิติความเสียหายของ<br />

หมอแปลงที่เกิดขึ้นของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและสถิติความเสียหายของหมอแปลง<br />

ในตางประเทศ<br />

114


1. การปองกันหมอแปลง<br />

ผลและวิจารณ<br />

จากการศึกษาทําใหสามารถแบงการปองกันออกเปน 3 ประเภทไดแก การปองกันทางกล<br />

การปองกันทางความรอน และการปองกันทางไฟฟา นอกจากนี้ยังมีการปองกันการระเบิดของหมอ<br />

แปลงซึ่งเปนเทคโนโลยีใหมที่นํามาใชกับหมอแปลงขนาดใหญที่มีความสําคัญ<br />

ซึ่งผลที่ไดจาก<br />

ศึกษาการปองกันหมอแปลงแตละประเภทจะแสดงในหัวขอถัดไป<br />

2. การปองกันทางกล<br />

2.1 อุปกรณปลอยความดัน(Pressure Relief Device)<br />

คืออุปกรณที่ทําหนาที่ลดความดันภายในตัวถังหมอแปลงที่มีสาเหตุมาจากการขยายตัว<br />

ของน้ํามันและจากการเกิดฟอลตภายในที่ทําใหเกิดความดันสูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

อุปกรณปลอยความ<br />

ดันที่ใชกันทั่วไปนั้นใชตั้งแตหมอแปลงในระบบจําหนายขนาดเล็กไมเกิน<br />

500 kVA ไปจนถึงหมอ<br />

แปลงในระบบสงและระบบผลิตขนาดใหญ มีคาเซตติงความดันเริ่มตนตั้งแต<br />

0.28-0.85 bar หรือ 4-<br />

12 psi หมอแปลงขนาดเล็กจะใชคาเซตติ้งความดันที่ประมาณ<br />

0.28-0.35 bar โดยที่วาลวปลอยความ<br />

ดันจะเปดสุดภายใน 0.002 วินาที ซึ่งเร็วมากกวารีเลยปองกันทางไฟฟา<br />

ทุกคาเซตติ้งความดันตั้งแต<br />

0.28-0.85 bar สามารถทํางานไดภายในเวลา 0.002 วินาที โดยการเซตติ้งคาแรงสปริง<br />

ในกรณีที่ใช<br />

วาลวปลอยความดันเพียงอยางเดียวจะใชกับหมอแปลงในระบบจําหนายแรงต่ําที่ติดตั้งตามเสา<br />

ไฟฟาสวนหมอแปลงที่ติดตั้งในสถานีไฟฟายอยตั้งแต<br />

2500 kVA ขึ้นไปจะใชวาลวปลอยความดัน<br />

รวมกับหนาสัมผัสของสัญญาณเตือนทางไฟฟาภาพของอุปกรณปลอยความดันแสดงในภาพที่<br />

94<br />

ขอดีคือเปนการปองกันตัวถังหมอแปลงไมใหเสียหายจากการเพิ่มขึ้นของความดัน<br />

เนื่องจากการขยายตัวของน้ํามันในขณะที่หมอแปลงจายโหลดสูงๆ<br />

และจากการลัดวงจรภายในที่ทํา<br />

ใหเกิดกาชและเพิ่มความดันภายในตัวถัง<br />

ขอเสียคือถาเกิดการลัดวงจรภายในที่รุนแรงซึ่งคากระแสลัดวงจรมีคาสูงมากๆ<br />

เกิดกวา<br />

คากระแสลัดวงจรสามเฟส การระบายความดันออกนอกตัวถังอาจจะไมเพียงพอตอความดันที่<br />

115


เกิดขึ้นภายในตัวถัง<br />

ถึงแมวาวาลวปลอยความดันสามารถเปดไดรวดเร็วใชเวลาเพียง 0.002 วินาทีก็<br />

ตาม อาจจะเกิดปฎิกิริยาที่กอใหเกิดการระเบิดได<br />

ภาพที่<br />

94 อุปกรณปลอยความดัน(Pressure Relief Device)<br />

2.2 รีเลยความดันทันทีทันใด(Sudden Pressure Relay)<br />

รีเลยชนิดนี้ใชกับหมอแปลงฉนวนน้ํามันแบงออกเปนสองชนิดคือ<br />

รีเลยความดันกาช<br />

ทันทีทันใด(Sudden Gas Pressure Relay) ติดตั้งดานบนของตัวถังเหนือระดับน้ํามัน<br />

และรีเลยความ<br />

ดันน้ํามันทันทีทันใด(Sudden<br />

Oil Pressure Relay) ติดตั้งดานลางของตัวถังหมอแปลง<br />

รีเลยทั้งสอง<br />

ชนิดใชไดกับหมอแปลงฉนวนน้ํามันทุกชนิด<br />

คาเซตติ้งอยูที่ประมาณ<br />

0.6 kg/cm 2 /sec. และ<br />

หนาสัมผัสทํางานภายในเวลา 0.31-0.54 วินาที และนิยมใชกับหมอแปลงขนาดตั้งแต<br />

2500 kVA<br />

ขึ้นไปแตถาเปนหมอแปลงแบบที่มีถังคอนเซอรเวเตอรรีเลยความดันทันทีทันใดจะไมใชเพราะวา<br />

ใชบุคโฮลซรีเลยทํางานแทนได ภาพของรีเลยความดันทันทีทันใดแสดงในภาพที่<br />

95<br />

116


ขอดีของรีเลยทั้งสองคือสามารถตรวจจับฟอลตบางประเภทที่รีเลยวัดคาผลตางและ<br />

รีเลยกระแสเกินตรวจจับไมไดเชน ฟอลตระหวางขดลวด ซึ่งรีเลยวัดคาผลตางและรีเลยกระแสเกิน<br />

จะตรวจจับไดในกรณีที่เกิดฟอลตภายนอกตัวถังหรือฟอลตภายในตัวถังที่ลัดวงจรลงดิน<br />

ขอเสียของรีเลยความดันทันทีทันใดคืออาจจะทํางานผิดพลาดในพื้นที่ๆมีแผนดินไหว<br />

ดังนั้หนาสัมผัสสัญญาณทางไฟฟาจึงใชเปนสัญญาณเตือนมากกวาเปนการทริปหมอแปลง<br />

รีเลยความดันกาชทันทีทันใด<br />

(Sudden Gas Pressure Relay)<br />

ภาพที่<br />

95 รีเลยความดันทันทีทันใด(Sudden Pressure Relay)<br />

2.3 บุคโฮลซรีเลย(Buchholz Relay)<br />

รีเลยความดันน้ํามันทันทีทันใด<br />

(Sudden Oil Pressure Relay)<br />

เปนอุปกรณปองกันความดันสูงเกินทันทีทันใดและปองกันการสะสมของปริมาณกาช<br />

ภายในตัวถังหมอแปลง บุคโฮลซรีเลยใชกับหมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีถังคอนเซอรเวเตอรโดยใน<br />

กรณีเกิดกาชสะสมภายในตัวบุคโฮลซรีเลย คาเซตติ้งประมาณ<br />

100-400 ลูกบาศเมตร และกรณีเกิด<br />

ความดันสูงเกินทันทีทันใด คาเซตติ้งประมาณ<br />

0.65-1.5 เมตรตอวินาที ตัวบุคโฮลซรีเลยใชกับหมอ<br />

แปลงตั้งแตขนาด<br />

1000 kVA ขึ้นไป<br />

ลักษณะของบุคโฮลซรีเลยแสดงในภาพที่<br />

96<br />

117


ภาพที่<br />

96 บุคโฮลซรีเลย(Buchholz Relay)<br />

การทํางานของบุคโฮลซรีเลยแบงออกเปนสามลักษณะไดแกการปองกันการสะสม<br />

ของกาชในตัวถังหมอแปลง การปองกันความดันสูงทันทีทันใด และการปองกันตัวถังหมอแปลงรั่ว<br />

ในกรณีที่เกิดลัดวงจรระหวางขดลวดที่มีคากระแสลัดวงจรต่ําหรือเกิดการดิสชารจบางสวนทําให<br />

เกิดกาชภายในฉนวนน้ํามัน<br />

ซึ่งกาชนี้จะลอยตัวสูดานบนและไปสะสมที่ตัวบุคโฮลซรีเลยและเมื่อ<br />

เกิดขึ้นหลายคร<br />

ั้งปริมาณกาชที่สะสมมีมากจนทําใหลูกลอยดานบนภายในตัวบุคโฮลซเลื่อนต่ําลง<br />

ไปกดแผนหนาสัมผัสและสงสัญญาณเตือนไปยังหองควบคุม การทํางานของการสะสมกาชแสดง<br />

ในภาพที่<br />

97<br />

ภาพที่<br />

97 การปองกันการสะสมของกาชในตัวถังหมอแปลง<br />

118


ในกรณีที่เกิดการลัดวงจรภายในตัวถังหมอแปลงอยางรุนแรงทําใหเกิดการอารคและ<br />

ทําใหความดันของน้ํามันสูงขึ้นอยางรวดเร็วและพุงขึ้นสูถังคอนเซอเวเตอร<br />

ซึ่งน้ํามันที่มีความดันสูง<br />

จะตองไหลผานตัวบุคโฮลยรีเลยไปชนแผนหนาสัมผัสและกดลูกลอยดานลาง และสงสัญญาณทริป<br />

ไปยังหองควบคุมเพื่อสั่งปลดเซอรกิตเบรคเกอรทําใหหมอแปลงออกจากระบบไฟฟา<br />

ภาพการ<br />

ทํางานแสดงในภาพที่<br />

98<br />

ภาพที่<br />

98 การปองกันความดันสูงทันทีทันใด<br />

ในกรณีที่เกิดการรั่วของตัวถังหมอแปลงนั้นซึ่งปกติระดับน้ํามันจะสูงเกินตัวถังหลัก<br />

ของหมอแปลงโดยระดับน้ํามันสูงสุดจะอยูในถังคอนเซอเวเตอรและตัวบุคโฮลซติดตั้งระหวาง<br />

ตัวถังทั้งสอง<br />

เมื่อเกิดการรั่วที่ตัวถังหลักระดับน้ํามันลดต่ําลงทําใหลูกลอยดานลางเคลื่อนที่ต่ําลง<br />

และสงสัญญาณทริปไปยังหองควบคุมเพื่อสั่งปลดเซอรกิตเบรคเกอรทําใหหมอแปลงออกจาก<br />

ระบบไฟฟาภาพการทํางานแสดงในภาพที่<br />

99<br />

ภาพที่<br />

99 การปองกันตัวถังหมอแปลงรั่ว<br />

119


การเลือกใชงานบุคโฮลซรีเลยสามารถแบงออกเปนสามระดับพิกัดกําลังของหมอ<br />

แปลงดังแสดงดังตารางที่<br />

12 หมอแปลงที่มีพิกัดตั้งแต<br />

1,000 ~ 5,000 kVA จะใชบุคโฮลซรีเลยคา<br />

เซตติ้งสําหรับทริปประมาณ<br />

0.65 m/s และสําหรับสัญญาณเตือนประมาณ100 ~ 150 CC ขนาดเสน<br />

ผานศูนยกลางของทอเทากับ 25 mm นอกจากนี้ยังสามารถเลือกตัวบุคโฮลซไดจากน้ําหนักของ<br />

ฉนวนน้ํามัน<br />

ในสวนของหมอแปลงที่มีพิกัดตั้งแต<br />

10,000 kVA ขึ้นไปขนาดของทอจะมีสองขนาด<br />

คือ 80 mm และ 100 mm หมอแปลงที่มีน้ําหนักของฉนวนน้ํามันเกิน<br />

35,000 kg จะใชขนาดทอ<br />

เทากับ 100 mm<br />

่ ตารางที 12 ตารางการเลือกใชงานบุคโฮลซรีเลย<br />

พิกัดกําลัง<br />

คาเซตติ้ง<br />

หมอแปลง ขนาดทอ ทริป<br />

( kVA )<br />

(Oil Surge)<br />

1,000-5,000 25 mm 0.65 m/s<br />

5,001-10,000 50 mm 1.00 m/s<br />

>10,000 80 mm 1.50 m/s<br />

100 mm 1.50 m/s<br />

คาเซตติ้ง<br />

สัญญาณเตือน<br />

(Gas Accumulation)<br />

100 ~ 150 CC<br />

200 CC<br />

200 ~ 250 CC<br />

350 ~ 400 CC<br />

น้ําหนักของน้ํามัน<br />

(kg)<br />

800 - 1,600<br />

1,600-10,000<br />

10,000-35,000<br />

> 35,000<br />

2.4 อุปกรณระบายความดันและวัดความดัน(Pressure Vacuum Bleeder and Indicator)<br />

อุปกรณระบายความดันตัวนี้ใชปองกันหมอแปลงจากการเพิ่มอยางชาๆของความดัน<br />

ทั้งความดันบวก(Pressure)<br />

และความดันลบ (Vacuum) โดยจะมีใบมีดไวเจาะแผนระบายความ<br />

เพื่อใหอากาศจากภายนอกเขามาในตัวถังซึ่งเมื่อความดันเปนลบเกิน<br />

-6.5 psi หรือเกิดความดันเปน<br />

บวกเกิน +6.5 psi ใบมีดจะเจาะระบายความดันภายในออกสูอากาศภายนอก<br />

อุปกรณนี้ชวยรักษา<br />

ระดับความดันของหมอแปลงและตัววัดความดันที่มีคาเซตติ้งในการสั่งทริปที่ประมาณความดัน<br />

เปนลบเกิน –1.5 psi หรือเกิดความดันเปนบวกเกิน +8.5 psi ซึ่งคาเซตติ้งนี้เปนคาเซตติ้งตัวอยาง<br />

ซึ่ง<br />

ในการเซตติ้งนั้นตองขึ้นอยูกับขนาดและโครงสรางตัวถังของหมอแปลงแตละตัว<br />

ใชกับหมอ<br />

แปลงแบบระบบปดที่ไมใชแบบคอนเซอรเวเตอรและใชกับหมอแปลงตั้งแตขนาด<br />

2500 kVA ขึ้น<br />

ไปดังแสดงในภาพที่<br />

100<br />

ขอดีคือสามารถปองกันการเสียรูปทรงของตัวถังนอกจากนี้ตัววัดความดันสามารถสง<br />

สัญญาณ Alarm และ Trip<br />

120


ขอเสียคือเมื่อใบมีดกรีดแผนไดอะแฟรมแลวอากาศภายนอกจะสัมผัสฉนวนเหลว<br />

ภายในตัวถังทําใหฉนวนเหลวจะเสื่อมสภาพเร็วขึ้น<br />

ภาพที่<br />

100 อุปกรณระบายความดันและวัดความดัน<br />

2.5 ตัวตรวจจับกาช(Gas Detector)<br />

ทําหนาที่ตรวจจับความผิดปกติหรือความเสียหายของถุงยาง(Rubber<br />

Bag or Rubber<br />

Cell)ในถังคอนเซอรเวเตอร เมื่อเกิดถุงยางมีรอยรั่วอากาศภายในถุงยางจะเขาไปปนกับน้ํามันในถัง<br />

คอนเซอรเวเตอรและลอยตัวขึ้นสูดานบนไปสะสมในตัวตรวจจับกาชโดยปกติจะเซตติ้งที่ประมาณ<br />

450 ซีซี ซึ่งเปนระดับสะสมกาชในตัวตรวจจับหลังจากนั้นจะสงสัญญาณไปยังแผงควบคุมเมื่อผู<br />

ปฎิบัติงานรับทราบแลวก็จะทําการซอมถุงยาง ภาพของตัวตรวจจับกาชแสดงในภาพที่<br />

101<br />

ภาพที่<br />

101 ตัวตรวจจับกาชและถุงยาง<br />

121


3. การปองกันทางความรอน<br />

3.1 อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันดานบนของหมอแปลงฉนวนน้ํามัน<br />

โดยปกติระดับฉนวน(Insulation Class) ของหมอแปลงชนิดนี้คือ<br />

ระดับหรือคลาส A<br />

(105 องศา) และยอมใหมีคาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุด(Maximum<br />

Temperature Rise) ของขดลวด<br />

เทากับ 65 องศา และของน้ํามันดานบน(Top<br />

oil) เทากับ 60 องศา อุปกรณที่ใชวัดอุหภูมิขดลวดคือ<br />

เทอรโมคัปเปลที่จุมในบอวัด(Well)<br />

โดยที่บอวัดนี้จะแชที่ดานบนของตัวถังหมอแปลงซึ่งเปน<br />

บริเวณที่น้ํามันลอยตัวขึ้นสูดานบนและตัวเทอรโมคัปเปลนี้จะตอสายสัญญาณไปยังตัว<br />

เทอรโมมิเตอร และรับสัญญาณจากหมอแปลงกระแสมายังตัวแปลงสัญญาณและสงไปยังตัวเทอร<br />

โมมิเตอรวัดอุณหภูมิแสดงออกมาเปนตัวเลข สวนการวัดอุณหภูมิของน้ํามันดานบนจะใชแค<br />

สัญญาณจากเทอรโมคัปเปลที่จุมในบอวัด(Well)เพียงอันเดียวคาคาเซตติ้งอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุด<br />

ของน้ํามันดานบนสําหรับการเตือน(Alarm)มีคาเทากับ<br />

55 องศา และสําหรับการ ทริปมีคาเทากับ 60<br />

องศา สวนคาเซตติ้งอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดของขดลวดจะสูงกวาประมาณ<br />

15-20 % ซึ่งจะมีคาเซต<br />

ติ้งอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดของขดลวดสําหรับการเตือน(Alarm)มีคาเทากับ<br />

70-75 องศา และสําหรับ<br />

การ ทริปมีคาเทากับ 75-80 องศา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับฉนวนที่ออกแบบและอุณหภูมิรอบขางของ<br />

แตละพื้นที่ภาพอุปกรณวัดอุณหภูมิแสดงในภาพที่<br />

102<br />

3.2 อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดหมอแปลงแบบแหง<br />

หมอแปลงแบบแหงจะใชระดับฉนวนคลาส B(130 องศา) คลาส F(155 องศา) และ<br />

คลาส H(180 และ 220) หมอแปลงรุนใหมที่ระดับฉนวนคลาส<br />

H และในการวัดคาอุณหภูมิขดลวด<br />

จะใชตัว RTD (Resistance Temperature Detector )ติดตั้งที่บริเวณขดลวดดานแรงต่ําและบริเวณ<br />

อื่นๆหลายจุดเพื่อวัดคาอุณหภูมิสูงสุดเฉพาะจุด(Hot<br />

spot) และอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

จากนั้นจะสงสัญญาณ<br />

ไปที่รีเลยวัดความรอน(Thermal<br />

Relay)หรือตัวแสดงอุณหภูมิ สวนคาเซตติ้งจะมีคาเทากับคา<br />

อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุด<br />

80 องศา 115 องศา และ 150 องศา ตามคุณสมบัติของหมอแปลงตัวนั้นๆ<br />

122


ภาพที่<br />

102 อุปกรณวัดอุณหภูมิหมอแปลง<br />

4. การปองกันทางไฟฟา<br />

วิทยานิพนธฉบับนี้จะเนนที่การปองกันทางไฟฟาเปนหลักซึ่งแบงการปองกันออกเปน<br />

4<br />

แบบไดแก การปองกันผลตาง การปองกันกระแสเกิน การปองกันดวยฟวส และการปองกันดวยกับ<br />

ดักเสิรจ รวมทั้งกรณีศึกษาการปองกันหมอแปลงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย<br />

123


5. การปองกันผลตาง<br />

5.1 ประเภทของรีเลยผลตางที่ใชปองกันหมอแปลง<br />

5.1.1 รีเลยผลตางแบบไมมีการไบแอส เปนรีเลยประเภทที่งายที่สุดและเปนรีเลยที่ใช<br />

หมอแปลงสองขดลวดใชหมอแปลงกระแสวัดกระแสดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

โดยอาศัยหลักการคือ<br />

ใชผลตางกระแสทั้งสองดานสั่งใหรีเลยทํางาน<br />

ตัวรีเลยที่นํามาใชจะเปนรีเลยกระแสเกินแบบ<br />

ธรรมดา กราฟคุณลักษณะการทํางานของรีเลยประเภทนี้แสดงในภาพที่103<br />

รีเลยแบบนี้จะไมมี<br />

เปอรเซ็นตความชันดังนั้นเมื่อเกิดกระแสฟอลตที่ไหลผานสูงๆหมอแปลงกระแสจะอิ่มตัวทําให<br />

กระแสที่ไหลเขารีเลยเกิดผลตางมาขึ้นและรีเลยทํางานผิดพลาดไดวงจรการปองกันแบบไมมีการ<br />

ไบแอสแสดงดังภาพที่104<br />

กระแสทํางาน<br />

กระแสเริ่มตนทํางาน<br />

ภาพที่<br />

103 กราฟคุณลักษณะรีเลยผลตางแบบไมมีการไบแอส<br />

51 51 51<br />

ภาพที่<br />

104 การปองกันผลตางแบบไมมีการไบแอส<br />

กระแสผลตางที่เกิดจาก<br />

ผลของการอิ่มตัวของหมอ<br />

แปลงกระแส<br />

กระแสฟอลตที่ไหลผาน<br />

124


5.1.2 รีเลยผลตางแบบเปอรเซนตไบแอส คือรีเลยที่ออกแบบใหมีขดลวดไบแอสหรือ<br />

ขดลวดตานเพื่อรักษาเสถียรภาพในการทํางานของรีเลยในขณะที่เกิดกระแสฟอลตภายนอกเขต<br />

ปองกันหรือกระแสฟอลตที่ไหลผาน<br />

กราฟคุณลักษณะการทํางานของรีเลยประเภทนี้แสดงในภาพ<br />

ที่<br />

105 รีเลยแบบนี้จะมีเปอรเซ็นตความชันดังนั้นเมื่อเกิดกระแสฟอลตที่ไหลผานสูงๆ<br />

หมอแปลง<br />

กระแสจะอิ่มตัวทําใหกระแสที่ไหลเขารีเลยเกิดผลตางมาขึ้นและรีเลยจะทํางานไมผิดพลาดได<br />

สิ่งที่<br />

สําคัญคือตองเลือกเปอรเซ็นตความชันในสูงกวากระแสผลตางที่เกิดจากการอิ่มตัวของหมอแปลง<br />

กระแส ในภาพที่105<br />

ถาเราเลือกเปอรเซ็นตความชันที่<br />

15% ในชวงที่เกิดกระแสฟอลตที่ไหลผานต่ํา<br />

รีเลยจะไมทํางานและสามารถตรวจจับฟอลตปริมาณต่ําภายในเขตปองกันไดดีมีความไวในการ<br />

ทํางานสูง แตถาเกิดกระแสฟอลตที่ไหลผานปริมาณสูงรีเลยจะทํางานซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรเกิดขึ้น<br />

ดังนั้นถาเลือกเปอรเซ็นตความชันที่<br />

30% หรือ 40% ในชวงที่เกิดกระแสฟอลตนอกเขตปองกันที่<br />

ไหลผานปริมาณสูง รีเลยจะไมทํางานแตความไวในการทํางานของรีเลยก็จะลดลง ซึ่งกราฟ<br />

คุณลักษณะแบบนี้จะเปนรีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคและรีเลยแบบสแตติค<br />

สวนวงจรการปองกัน<br />

ผลตางแบบเปอรเซนตไบแอสแสดงดังภาพที่<br />

106<br />

กระแสทํางาน<br />

Id<br />

กระแสเริ่มตนทํางาน<br />

ภาพที่<br />

105 กราฟคุณลักษณะรีเลยผลตางแบบเปอรเซนตไบแอส<br />

51 51 51<br />

ภาพที่<br />

106 การปองกันผลตางแบบเปอรเซนตไบแอส<br />

Ir<br />

กระแสผลตางที่เกิดจากผลของการ<br />

อิ่มตัวของหมอแปลงกระแส<br />

กระแสตานหรือกระแสฟอลตที่ไหลผาน<br />

125


5.1.3 รีเลยผลตางแบบเปอรเซ็นตไบแอสที่มีการตานฮารมอนิก<br />

รีเลยประเภทนี้มี<br />

ขดลวดไบแอสเหมือนกับรีเลยประเภทที่สองแตจะเปนรีเลยแบบสแตติคและรีเลยแบบดิจิตอล<br />

สวน<br />

รีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคไมเหมาะสมที่จะทําเนื่องจากฟงกชันการตานฮารมอนิกจะตองใชวงจร<br />

อิเล็คโทรนิคในการตรวจจับฮารมอนิกที่สองที่เกิดจากกระแสพุงเขา<br />

ฟงกชันการตานฮารมอนิกแบง<br />

ออกเปนสองวิธี วิธีแรกในกรณีของรีเลยแบบสแตติคที่ใชวงจรกรองความถี่โดยที่กระแสใน<br />

ขดลวดตานคือผลรวมของกระแสที่เกิดจากกระแสที่ไหลผานเขารีเลยบวกกับกระแสที่เกิดจากฮาร<br />

มอนิกที่สอง<br />

โดยที่กระแสที่ไหลผานจะผานวงจรกรองความถี่มูลฐานสวนกระแสฮารมอนิกที่สอง<br />

จะผานวงจรกรองความถี่ฮารมอนิกที่สอง<br />

วิธีที่สองในกรณีของรีเลยแบบสแตติคและแบบดิจิตอลที่<br />

ใชวงจรยับยั้งทํางาน(Blocking<br />

circuit) โดยที่วงจรนี้จะยับยั้งขดลวดทริปทํางานเมื่อฮารมอนิกที่สอง<br />

สูงเกินคาที่ตั้งไวที่ประมาณ<br />

10-20 % ของความถี่มูลฐาน<br />

ซึ่งปกติเวลาเกิดกระแสพุงเขาจะมีฮารมอ<br />

นิกที่สองเปนองคประกอบประมาณ<br />

60% รีเลยประเภทนี้จึงเหมาะสําหรับหมอแปลงขนาดพิกัด<br />

กําลังตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไป<br />

5.1.4 รีเลยผลตางแบบอิมพีแดนซสูง รีเลยทั้งสามประเภทที่ผานมาจัดอยูในพวกรีเลย<br />

ผลตางแบบอิมพีแดนซต่ํา<br />

สวนรีเลยประเภทนี้จะนิยมใชปองกันกระแสเกินลงดินแบบจํากัดบริเวณ<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

107 การวัดผลตางแบบอิมพีแดนซสูงนี้จะเปนการวัดกระแสผลตางระหวาง<br />

กระแสตกคางที่ดานเฟส(3Io)<br />

กับกระแสที่ไหลผานตัวตานทานและจะติดตั้งตัวตานทานเสถียรภาพ<br />

ตออนุกรมกับรีเลยเพื่อปองกันการทํางานที่ผิดพลาดเนื่องจากกรณีเกิดฟอลตลงดินอยางรุนแรง<br />

ภายในเขตปองกันที่ทําใหหมอแปลงกระแสอิ่มตัวหรือเกิดจากฟอลตภายนอกเขตปองกันที่ทําให<br />

หมอแปลงกระแสที่เฟสอิ่มตัวและรีเลยประเภทนี้จะเปนรีเลยแบบสแตติคและแบบดิจิตอล<br />

ภาพที่<br />

107 การปองกันผลตางแบบอิมพีแดนซสูง<br />

64<br />

A<br />

B<br />

C<br />

126


5.2 การเซตติ้งรีเลยผลตางแบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติคกรณีที่มีแท็ป<br />

กระแสใหเลือกภายในตัว<br />

5.2.1 เลือกขนาดหมอแปลงกระแส สามารถคํานวณไดจากกระแสโหลดสูงสุดของ<br />

หมอแปลงหลัก(Main transformer) พิกัดกระแสดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแสจะตองสูงกวา<br />

คากระแสโหลดสูงสุด โดยปกติจะเลือกที่ประมาณ<br />

150% ของกระแสโหลดสูงสุด สวนพิกัดกระแส<br />

ดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสสามารถเลือกใชไดระหวาง 5 A กับ 1 A<br />

5.2.2 หาคากระแสที่ไหลเขารีเลย(IR)<br />

โดยจะตองคํานวณที่ฐานพิกัดกําลังเดียวกัน<br />

ขดลวดหมอแปลงหลักแบบเดลตาจะตองตอหมอแปลงแบบสตารทําใหกระแสที่ไหลเขารีเลย<br />

เทากับกระแสโหลดสูงสุดที่แปลงมาทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส(IFL-SEC<br />

CT) หรือ IR = IFL- SEC CTสวนขดลวดหมอแปลงหลักแบบสตารจะตองตอหมอแปลงแบบเดลตาทําใหกระแสที่ไหลเขา<br />

รีเลยเทากับIR =1.732* IFL-SEC CT<br />

5.2.3 หาอัตราสวนกระแสที่ไหลเขารีเลย<br />

กรณีหมอแปลงหลักมีสองขดลวด<br />

RL<br />

อัตราสวนจะเทากับกระแสที่ไหลเขารีเลยดานแรงต่ําตอดานแรงสูง<br />

⎜ ⎟ สวนกรณีหมอแปลง<br />

⎛ I<br />

I<br />

⎝ RH ⎠<br />

หลักมี<br />

สามขดลวดอัตราสวนจะคํานวณหาถึงสามอัตราสวนทั้งดานแรงดันสูง<br />

แรงดันต่ํา<br />

และแรงดันปาน<br />

กลางดังนี<br />

⎛ IRL IRL I ⎞ RM ้ ⎜ , , ⎟<br />

⎝IRHIRM IRH<br />

⎠<br />

5.2.4 เลือกอัตราสวนแท็ปกระแสภายในตัวรีเลย คามาตรฐานของแท็ปกระแสคือ 2.9<br />

, 3.2 , 3.5 , 3.8 , 4.2 , 4.6 , 5.0 และ 8.7 A ตามลําดับโดยในการเลือกควรจะเลือกคาที่ใกลเคียงคา<br />

อัตรา สวนกระแสที่ไหลเขารีเลยในหัวขอที่<br />

5.2.3 ใหมากที่สุด<br />

จะมีคาสูงกวาหรือต่ํากวาก็ได<br />

ใน<br />

กรณีหมอแปลงหลักมีสามขดลวดจะตองเลือกที่อัตราสวนกระแสที่ไหลเขารีเลยสูงสุดกอนเปน<br />

อันดับแรกและอัตราสวนกระแสที่เหลือจะใชแท็ปกระแสต่ําสุดจากการเลือกครั้งแรกเปนคาอางอิง<br />

5.2.5 หาคาอัตราสวนที่ไมตรงกัน(Mismatch<br />

Ratio) กรณีหมอแปลงหลักมีสอง<br />

ขดลวดจะหาคาอัตราสวนที่ไมตรงกันระหวางดานแรงสูงกับดานแรงต่ํา<br />

สวนหมอแปลงหลักมีสาม<br />

⎞<br />

127


ขดลวดจะ ตองหาคาอัตราสวนที่ไมตรงกันถึงสามอัตราสวนซึ่งคาที่ไดจะนําไปคํานวณหาคา<br />

เปอรเซ็นตความชัน<br />

5.2.6 ตรวจสอบเสถียรภาพในการทํางานของหมอแปลงกระแส ในขณะที่เกิดฟอลต<br />

ภายนอกเขตปองกันทําใหเกิดกระแสฟอลตไหลผานหมอแปลงหลักและไหลผานหมอแปลงกระแส<br />

ซึ่งทําใหหมอแปลงกระแสอิ่มตัวและกระแสกระตุนสนามแมเหล็ก(IE)<br />

ของหมอแปลงกระแสที่เฟส<br />

เปลี่ยนแปลงทําใหรีเลยวัดคาผลตางทํางานผิดพลาดได<br />

ดังนั้นเทคนิคในการตรวจสอบเสถียรภาพ<br />

ของแตละบริษัทผูผลิตจึงใชวิธีที่แตกตางกันออกไป<br />

ในวิทยานิพนธเลมนี้จะแสดงใหเห็นทั้งสาม<br />

บริษัทผูผลิตใหญไดแกบริษัท<br />

ABB GE และ GEC-ALSTOM<br />

วิธีของบริษัท ABB : พิสูจนสมการตามเงื่อนไข<br />

P CL ext<br />

( 100)<br />

N × V − I −<br />

I<br />

ext<br />

> Z<br />

เมื่อ<br />

I ext เทากับ 100 A เมื่อกระแสฟอลตสูงสุดภายนอกเขตปองกันต่ํากวา100<br />

A<br />

NP<br />

คืออัตราสวนจํานวนรอบของหมอแปลงกระแสระหวางจํานวนรอบที่ใชจริงตอ<br />

จํานวนรอบทั้งหมดในกรณีที่หมอแปลงกระแสมีหลายแท็ปกระแส<br />

V CL แรงดันของหมอแปลงกระแส คลาส C เชน C200 เทากับ 200 V<br />

Z คาเบอรเดนทั้งหมดดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสหาไดจาก<br />

T<br />

0.15<br />

ZT = 1.13R<br />

L + Ω ตอแบบสตาร<br />

Tap<br />

⎛ 0.15 ⎞<br />

ZT = 3⎜1.13R L + ⎟Ω<br />

ตอแบบเดลตา<br />

⎝ Tap ⎠<br />

วิธีของบริษัท GE : เปนการหาคาเปอรเซ็นตคลาดเคลื่อนของหมอแปลงกระแสโดยยอมใหกระแส<br />

ไหลผานสูงสุดไมเกินคากระแสทริปฉับพลันซึ่งมีคาประมาณ<br />

8 เทาของแท็ปกระแสที่เลือก<br />

1. หาคาเบอรเดนแตละหมอแปลงกระแส<br />

N× e+ 2 f<br />

Z = B+<br />

+ 2R<br />

ตอแบบสตาร<br />

1000<br />

N× e+ 2 f<br />

Z = 2B+<br />

+ 2R<br />

ตอแบบเดลตา<br />

1000<br />

เมื่อ<br />

B คือเบอรเดนของรีเลย (โอหม)<br />

N คือจํานวนรอบของหมอแปลงกระแส<br />

e คาความตานทานของหมอแปลงกระแสตอรอบ(มิลลิโอหม)<br />

f คาความตานทานของหมอแปลงกระแสตอสายตัวนํา(มิลลิโอหม)<br />

T<br />

128


R คาความตานทานของสายตัวนําเดี่ยว(โอหม)<br />

2. หาคากระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส I S = 8×แท็ปกระแสที่เลือก<br />

3. หาคาแรงดันทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส ESEC = IS× Z<br />

4. นําคา ESEC<br />

ไปเทียบหาคากระแสกระตุนสนามแมเหล็กจากเสนโคงคุณลักษณะของหมอแปลง<br />

กระแส<br />

5. หาคาเปอรเซ็นตคลาดเคลื่อนของหมอแปลงกระแส<br />

%<br />

I E error = × 100<br />

I<br />

วิธีของบริษัท GEC-ALSTOM : สําหรับหมอแปลงกระแสที่ใชในการปองกันหมอแปลงคาแรงดัน<br />

ที่จุดโคง(Knee<br />

point voltage) จะตองเทากับ<br />

[ R R + R ]<br />

V ≥ 24I + 2<br />

K N CT L t<br />

เมื่อ<br />

I N คือพิกัดกระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

R CT คือคาความตานทานของหมอแปลงกระแส<br />

R L คือคาความตานทานของสายตัวนําเดี่ยว<br />

R t คาความตานทานของหมอแปลงปรับอัตราสวน<br />

5.2.7 การเลือกเปอรเซ็นตความชัน โดยปกติคาเปอรเซ็นตความชันของรีเลยวัดคา<br />

ผลตางแบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติคจะเปนคาเปอรเซ็นตความชันที่คงที่ไมสามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนเสนโคงได<br />

ซึ่งจะถูกกําหนดมาจากโรงงานผูผลิตเชน<br />

15% , 20% , 25% , 30% , 35% ,<br />

40% เปนตนผูใชงานสามารถเลือกคาเปอรเซ็นตความชันโดยพิจารณาจากปจจัยดังตอไปนี้<br />

ก. เปอรเซ็นตสูงสุดของแท็ปแรงดันสําหรับหมอแปลงที่มีตัวเปลี่ยนแท็ป(%<br />

LTC)<br />

ข. เปอรเซ็นตคาอัตราสวนไมตรงกัน(% M)<br />

ค. เปอรเซ็นตคลาดเคลื่อนสูงสุดของหมอแปลงกระแส<br />

(% CT)<br />

โดยที่คาเปอรเซ็นตความชันจะตองสูงกวาผลรวมในรูปเปอรเซ็นตของปจจัยทั้งสามโดยสามารถ<br />

เลือกไดดังนี้<br />

S<br />

129


ตารางที่<br />

13 ตารางการเลือกคาเปอรเซ็นตความชัน<br />

ผลรวมของเปอรเซ็นทั้งสามปจจัย<br />

(% LTC + % M + % CT)<br />

นอยกวาหรือเทากับ 10 %<br />

นอยกวาหรือเทากับ 15 %<br />

นอยกวาหรือเทากับ 20 %<br />

นอยกวาหรือเทากับ 55 %<br />

เลือกคาเปอรเซ็นตความชัน<br />

(% Slope)<br />

15 % , 20 %<br />

25 % , 30 %<br />

35 %<br />

40 %<br />

5.3 การเซตติ้งรีเลยผลตางแบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติคกรณีที่ไมมี<br />

แท็ปกระแสใหเลือกภายในตัว<br />

ในการเซตติ้งรีเลยที่ไมมีแท็ปกระแสภายในตัวเราจะใชหมอแปลงปรับอัตราสวน<br />

(Matching or Interposing Transformers) ไวปรับคากระแสที่ไหลเขารีเลยใหมีคาเทากันทุกขดลวด<br />

ไบแอส ในกรณีหมอแปลงหลักมีสองขดลวดเราจะติดตั้งหมอแปลงปรับอัตราสวนที่ดานใดดาน<br />

หนึ่งเพื่อที่จะใหกระแสดานที่ปรับอัตราสวนกระแสเทากับดานที่ไมไดปรับอัตราสวน<br />

สวนในกรณี<br />

หมอแปลงหลักมีสามขดลวดและมีสามพิกัดแรงดันวิธีที่งายที่สุดในการปรับอัตราสวนกระแสคือ<br />

ปรับกระแสที่ไหลเขารีเลยทั้งสามดานใหเทากับคาพิกัดกระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสและ<br />

หมอแปลงปรับอัตราสวนนั้นคือ<br />

5 A หรือ 1A ผลที่ไดรับจากการใชหมอแปลงปรับอัตราสวนคือ<br />

อัตราสวนที่ไมตรงกันจะมีคาประมาณศูนยเปอรเซ็นตหรือมีคานอยมากทําใหการเลือกคา<br />

เปอรเซ็นตความชันสามารถเลือกไดต่ําถึง<br />

15 % หรือ 20 % สําหรับหมอแปลงที่ไมมีตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

130


5.4 ฟงกชันและคุณลักษณะของรีเลยผลตางแบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติค<br />

5.4.1 ฟงกชันตานฮารมอนิกที่สอง<br />

ในขณะที่หมอแปลงเริ่มจายไฟโดยที่ตอวงจรดาน<br />

ปฐมภูมิขณะที่ดานทุติยภูมิเปดวงจรอยู<br />

ถาแรงดันอยูที่มุมศูนยองศาทางไฟฟาจะทําใหเกิดกระแส<br />

สนามแมเหล็กพุงเขาสูงสุดและมีฮารมอนิกที่สองรวมอยูดวยประมาณ<br />

60 % รีเลยแบบสแตติคจะมี<br />

ฟงกชันตานฮารมอนิกที่สองโดยจะมีวงจรตรวจจับเมื่อมีฮารมอนิกที่สองสูงเกินคาที่กําหนด<br />

ประมาณ 15-20 % ของความถี่มูลฐานรีเลยจะไมสั่งทริปในกรณีนี้<br />

และคาเซตติ้งนี้จะถูกกําหนดมา<br />

จากโรงงานผูผลิตไมสามารถเปลี่ยนแปลงได<br />

ในสวนของรีเลยผลตางแบบอิเล็คโตรแมคานิคจะไม<br />

มีฟงกชันนี้<br />

5.4.2 ฟงกชันทริปฉับพลัน ฟงกชันนี้ทําหนาที่ปองกันการเกิดฟอลตภายในเขต<br />

ปองกันอยางรุนแรงโดยจะดูที่ปริมาณฟอลตและไมขึ้นอยูกับเวลา<br />

ซึ่งภายในตัวรีเลยทั้งแบบอิเล็ค<br />

โตรแมคานิคและแบบสแตติคจะมีฟงกชันนี้อยูและจะถูกกําหนดโดยอัตโนมัติมาจากโรงงานผูผลิต<br />

มีคาอยูที่ประมาณ<br />

8-15 เทาของแท็ปกระแสที่เราไดเลือก<br />

ซึ่งจํานวนเทาขึ้นอยูกับรีเลยแตละรุนของ<br />

ผูผลิต<br />

5.4.3 ฟงกชันกระแสกระตุนสนามแมเหล็กเกิน<br />

ในขณะที่หมอแปลงจายโหลดที่พิกัด<br />

และเกิดการปลดหมอแปลงออกจากระบบ แรงดันที่ขั้วของหมอแปลงจะสูงขึ้นประมาณ<br />

10-20 %<br />

ทําใหเกิดกระแสกระตุนสนามแมเหล็กเพิ่มขึ้นและอาจจะสูงพอที่จะทําใหรีเลยทํางาน<br />

กระแส<br />

กระตุนนี้เกิดจากแรงดันอินพุตสูงเกินแรงดันจุดเขา(Knee<br />

point voltage) ของหมอแปลงมีผลทําให<br />

รูปคลื่นของกระแสกระตุนมีลักษณะเปนกระแสพุงเขา<br />

ซึ่งฟงกชันนี้รีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคจะ<br />

ไมมี จะมีแตรีเลยแบบสแตติคและรีเลยแบบดิจิตอลโดยที่กระแสพุงเขาจากสาเหตุนี้จะเกิดฮารมอ<br />

นิกที่หามากที่สุดดังนั้นการตรวจจับของรีเลยแบบสแตติคจะใชวิธีตั้งเวลาหนวงเมื่อตรวจพบฮารมอ<br />

นิกที่<br />

5<br />

5.4.4 คากระแสเริ่มตอบสนอง<br />

สําหรับรีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติ<br />

ครุนแรกๆจะมีคากระแสเริ่มตอบสนอง<br />

คงที่ประมาณ<br />

30% ของแท็ปกระแสที่เลือกในขณะที่รีเลย<br />

แบบสแตติครุนใหมกอนที่จะพัฒนาเปนรีเลยแบบดิจิตอล<br />

คากระแสเริ่มตอบสนอง<br />

จะสามารถเลือก<br />

ไดอยูในชวง<br />

10-50 % ของกระแสโหลดที่พิกัด<br />

โดยที่หนาปดรีเลยจะมีดิฟสวิทชใหเลือกคาเซตติ้ง<br />

กระแสเริ่มตอบสนอง<br />

131


5.4.5 เวลาในการทํางานหรือเวลาที่ใชในการทริป<br />

สําหรับรีเลยทั้งสองแบบรุนแรกๆ<br />

ผูผลิตจะใหมาเปนกราฟเสนโคงเวลากับกระแสโดยจะมีคาอยูในชวงประมาณ<br />

0.02- 0.16 วินาที<br />

ขึ้นอยูกับขนาดของกระแส<br />

ถาเปนการทํางานของกระแสเริ่มตอบสนอง<br />

ที่ประมาณ<br />

30 % ของแท็ป<br />

กระแสหรือฟงกชันทริปฉับพลันที่<br />

10 เทาของแท็ปกระแสจะใชเวลาประมาณ 0.12 -0.16 วินาที แต<br />

ถาเปนการเกิดฟอลตภายในเขตปองกันที่รุนแรงประมาณ<br />

20 เทาของกระแสโหลดที่พิกัดจะใชเวลา<br />

ประมาณ 0.02 วินาที สําหรับรีเลยแบบสแตติครุนใหมจะใชเวลาประมาณ<br />

0.01- 0.025 วินาที<br />

5.5 การเซตติ้งรีเลยวัดคาผลตางแบบดิจิตอล<br />

ในการเซตติ้งรีเลยแบบดิจิตอลไดมีการปรับปรุงและแกไขเพื่อใหผูใชงานสามารถทํา<br />

การเซตติ้งไดงายขึ้น<br />

สามารถปรับแตงคาเซตติ้งใหเหมาะสมกับการใชงานเฉพาะที่และจาก<br />

การศึกษารวบรวมขอมูลทําใหสรุปขั้นตอนการเซตติ้งไดดังนี้<br />

5.5.1 การตอหมอแปลงกระแส หมอแปลงกระแสจะถูกตอแบบสตารทั้งหมดโดยไม<br />

ตองคํานึงถึงวาหมอแปลงหลักจะมีกลุมเวกเตอรแบบใดและไมตองใชหมอแปลงปรับอัตราสวน<br />

สาเหตุที่ใชการตอแบบสตารทั้งหมดเนื่องจากรีเลยแบบดิจิตอลสวนใหญจะเปนแบบหลายฟงกชัน<br />

ซึ่งมีการปองกันกระแสเกินรวมอยูในรีเลยตัวเดียวกันดังนั้นจึงใชหมอแปลงกระแสรวมกัน<br />

5.5.2 การแกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแส รีเลยดิจิตอลบางรุนเพียงแคปอน<br />

อัตราสวนหมอแปลงกระแสและกลุมเวกเตอรของหมอแปลงหลักแลวตัวรีเลยจะแกไขอัตโนมัติ<br />

โดยที่ผูใชงานไมตองแกไขอะไร<br />

ในขณะที่รีเลยดิจิตอลบางรุนตองมีการคํานวณการแกไข<br />

อัตราสวนหมอแปลงกระแสและปอนคาแฟคเตอรการแกไขลงในรีเลย<br />

5.5.3 การเซตติ้งกระแสเริ่มตอบสนอง<br />

คือคากระแสต่ําสุดที่รีเลยจะทํางานซึ่งรีเลย<br />

แบบดิจิตอลสามารถปรับแตงคาเซตติ้งไดตั้งแต<br />

0.05 In – 1.0 In เมื่อ<br />

In คือกระแสดานทุติยภูมิของ<br />

หมอแปลงกระแสโดยปกติจะเทากับ 1 A หรือ 5A และคากระแสเริ่มตอบสนอง<br />

ต่ําสุดที่ควรเซตติ้ง<br />

คือ 0.1 In เนื่องจากที่คา<br />

0.05 In จะใกลเคียงกับคากระแสกระตุนสนามแมเหล็กของหมอแปลง<br />

หลักและคากระแสเริ่มตอบสนองสูงสุดที่ควรเซตติ้งคือ<br />

0.5 In เนื่องจากถาเราเซตติ้งสูงเกินไปรีเลย<br />

จะทํางานชาหรือไมสามารถตรวจจับกระแสฟอลตปริมาณต่ําๆได<br />

132


5.5.4 การเซตติ้งกระแสผลตางแบบฉับพลันหรือฟงกชันทริปฉับพลัน<br />

คือคากระแสที่<br />

เพิ่มขึ้นฉับพลันและในการเซตติ้งจะตองใหสูงกวากระแสพุงเขาขณะจายไฟใหหมอแปลงครั้งแรก<br />

และจะตองสูงกวากระแสฟอลตสูงสุดภายนอกเขตปองกัน คาเซตติ้งทั่วไปจะอยูในชวง<br />

2.0 In - 20<br />

In ซึ่งปกติคากระแสพุงเขาของหมอแปลงพิกัด<br />

2 MVA อยูที่ประมาณ<br />

12 In ซึ่งเปนคาพิกัดกําลัง<br />

ต่ําสุดของหมอแปลงที่เริ่มใชรีเลยวัดคาผลตาง<br />

สวนหมอแปลงขนาดใหญตั้งแตพิกัดกําลัง<br />

100 –<br />

500 MVA จะมีคากระแสสนามแมเหล็กพุงเขาประมาณ<br />

5.0 In – 3.0 In ลดลงตามลําดับ<br />

5.5.5 การเซตติ้งฟงกชันตานฮารมอนิกที่สอง<br />

ฟงกชันนี้ทําหนาที่ปองกันไมใหรีเลย<br />

ทํางานผิดพลาดขณะที่หมอแปลงรับไฟจากระบบเปนครั้งแรก<br />

คาเซตติ้งจะเริ่มตั้งแต<br />

0.1 – 65 %<br />

ของความถี่มูลฐาน<br />

ปกติกระแสพุงเขาจะมีองคประกอบฮารมอนิกที่สองประมาณ<br />

60% และคาที่เซต<br />

ติ้งใชงานทั่วไปจะอยูที่ประมาณ<br />

20 % ซึ่งเปนจุดที่เริ่มมีผลกระทบตอกระแสผลตางที่ไหลเขารีเลย<br />

5.5.6 การเซตติ้งฟงกชันตานฮารมอนิกที่หา<br />

ฟงกชันนี้ทําหนาที่ปองกันไมใหรีเลย<br />

ทํางานผิดพลาดขณะที่หมอแปลงจายโหลดที่พิกัดแลวทําการปลดโหลดกะทันหันหรือตั้งใจให<br />

ระบบอยูในสภาวะแรงดันสูงเกิน<br />

ทําใหเกิดแรงดันสูงเกินประมาณ 10-20 % และเกิดฮารมอนิกที่หา<br />

ที่ตัวหมอแปลงซึ่งคาเซตติ้งจะเริ่มตั้งแต<br />

0.1-65 % แตคาที่ใชงานทั่วไปอยูที่ประมาณ<br />

10 %<br />

5.5.7 การเซตติ้งคาเปอรเซ็นตความชัน<br />

กราฟที่แสดงความชันจะเปนการบอกวาพื้นที่<br />

ภายในกราฟบริเวณใดบางหรือคากระแสที่จุดใดบางที่รีเลยจะทํางานและไมทํางาน<br />

โดยที่แกนตั้ง<br />

คือกระแสผลตางและแกนนอนคือกระแสตานหรือบางครั้งเรียกวากระแสที่ไหลผาน<br />

โดยปกติรีเลย<br />

แบบอิเล็คโตรแมคานิคและแบบสแตติคเสนโคงเปอรเซ็นตความชันจะกําหนดมาใหคาเดียวไม<br />

สามารถปรับแตงเสนโคงเปอรเซ็นตความชันได ในขณะที่รีเลยแบบดิจิตอลสามารถปรับแตงเสน<br />

โคงเปอรเซ็นตความชันไดและแบงเสนโคงออกเปนสองความชัน โดยองคประกอบของเสนโคง<br />

เปอรเซ็นตความชันแบงออกไดดังนี้<br />

สวนที่<br />

1 : กระแสเริ่มตอบสนอง<br />

เสนโคงสวนที่หนึ่งนี้จะเริ่มตนในแนวนอนวิ่งเปน<br />

เสนตรงโดยที่จุดเริ่มตนของเสนเทากับกระแสเริ่มตอบสนอง(0.1<br />

In – 0.5 In) ในแกนตั้งและเริ่มตน<br />

จากศูนยแตไมเกิน 1.0 In ในแกนนอนซึ่งคา1.0<br />

In คือคากระแสโหลดที่พิกัด<br />

ความยาวของเสนโคง<br />

สวนที่<br />

1 นี้ไมสามารถปรับแตงไดเปนคาที่กําหนดตายตัวมาจากบริษัทผูผลิตแตจะไมเกิน1.0<br />

In<br />

133


เนื่องจากที่ระดับกระแสปริมาณนอยจนถึงคากระแสโหลดที่พิกัดจะมีคาเปอรเซ็นตคลาดเคลื่อนต่ํา<br />

มากเสนโคงนี้จึงมีลักษณะเปนเสนตรง<br />

สวนที่<br />

2 : เสนโคงเปอรเซ็นตความชันที่<br />

1 เสนโคงสวนนี้จุดเริ่มตนจะตอกับเสนโคง<br />

สวนที่<br />

1 ซึ่งคาเซตติงโดยทั้วไปจะอยูในชวงประมาณ<br />

10-50 % วัตถุประสงคเพื่อใหแนใจในดาน<br />

ความไว(Sensitivity) กรณีที่เกิดกระแสฟอลตภายในเขตปองกันที่ระดับกระแสโหลดปกติสําหรับ<br />

เงื่อนไขในการเซตติงคาเสนโคงเปอรเซ็นตความชันนี้เพื่อยอมใหหมอแปลงทํางานไดที่ตําแหนง<br />

แท็ปสูงสุดของตัวเปลี่ยนแท็ปขณะจายโหลด<br />

และครอบคลุมถึงคาคลาดเคลื่อนของหมอแปลง<br />

กระแส<br />

สวนที่<br />

3 : จุดเขา(Knee point) คือจุดเปลี่ยนความชันระหวางเสนโคงเปอรเซ็นตความ<br />

ชันที่<br />

1 กับ 2 ซึ่งคาเซตติ้งจะอยูในชวงระหวาง<br />

1.0 In – 4.0 In ของกระแสตานในแกนนอนโดยที่<br />

จะตองเซตติ้งคานี้ใหสูงกวาระดับกระแสทํางานสูงสุดของหมอแปลงซึ่งไดแก<br />

กระแสที่พิกัดจาก<br />

การระบายความรอนสูงสุดกับระดับกระแสโหลดเกินฉุกเฉินสูงสุดหรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ<br />

จุดที่<br />

สิ้นสุดกระแสเกินสูงสุดของหมอแปลงที่ยังสามารถทํางานได<br />

กรณีที่หมอแปลงทํางานตัวเดียว<br />

ไมไดขนานกับหมอแปลงตัวอื่นคาเซตติงที่จุดโคงนี้จะอยูที่ประมาณ<br />

2.0In แตสําหรับกรณีที่หมอ<br />

แปลงขนานกันสองตัวแตเกิดมีหมอแปลงเสียหนึ่งตัว<br />

คาเซตติงที่จุดเขานี้จะอยูที่ประมาณ<br />

4.0In<br />

ของกระแสตานในแกนนอน<br />

สวนที่<br />

4 : เสนโคงเปอรเซ็นตความชันที่<br />

2 เสนโคงนี้เริ่มตนจากจุดเขา<br />

(Knee point) ซึ่ง<br />

คาเซตติ้งโดยทั่วไปจะอยูในชวงประมาณ<br />

50-100 % วัตถุประสงคของคาเซตติ้งนี้เพื่อใหแนใจวา<br />

รีเลยมีเสถียรภาพภายใตสภาวะกระแสฟอลตสูงสุดนองเขตปองกันที่ทําใหเกิดกระแสผลตางสูงที่มี<br />

ผลมาจากการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส<br />

และเสนโคงเปอรเซ็นตความชันแสดงในภาพที่<br />

108<br />

134


Id<br />

1.0I n<br />

0.1I − 0.5I<br />

n n<br />

1.0I n<br />

2.0I n<br />

ภาพที่<br />

108 เสนโคงเปอรเซ็นตความชันของรีเลยแบบดิจิตอล<br />

6. การปองกันกระแสเกิน<br />

การปองกันกระแสเกินสามารถแบงออกเปนการปองกันกระแสเกินที่เฟสและกระแสเกิน<br />

ลงดิน การปองกันกระแสเกินที่เฟสจะเปนการปองกันโหลดเกินและกระแสลัดวงจรที่มีปริมาณสูง<br />

และการปองกันกระแสเกินลงดินจะเปนการปองกันการลัดวงจรลงดินทั้งภายในตัวหมอแปลงและ<br />

ภายนอกหมอแปลง สวนการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินแบบตางแสดงดังหัวขอตอไปนี้<br />

6.1 การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินที่เฟสแบบอิเล็คโตรแมคานิค<br />

6.1.1 ฟงกชันกระแสเกินแบบหนวงเวลา เริ่มตนดวยการหาคากระแสโหลดที่พิกัด<br />

และเลือกวาจะใหรีเลยเริ่มตอบสนองที่คาเซตติ้งประมาณ<br />

110-300 % ของกระแสโหลดที่พิกัด<br />

ตอจากนั้นนําคากระแสเริ่มตอบสนองมาเลือกแท็ปกระแสของรีเลยโดยเลือกใหมีคาใกลเคียงกัน<br />

มากที่สุด<br />

ดังเชนแสดงในกรณีศึกษาที่<br />

1 โดยเลือกเซตติ้งที่<br />

200 % ทําใหไดกระแสไหลเขารีเลย<br />

เทากับ 7.53 A และเลือกแท็ปกระแสที่<br />

8.0 A ทําใหไดคาเซตติ้งประมาณ<br />

212 % แตถาสมมติ<br />

เลือกแท็ปกระแสที่<br />

7.0 A คาเซตติ้งจะเทากับ<br />

186 % ก็สามารถยอมรับไดเชนกัน ตอจากนั้นทําการ<br />

เลือกเสนโคงเวลากับกระแส รีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคหนึ่งตัวจะมีหนึ่งเสนโคงเวลากับกระแส<br />

ลักษณะของเสนโคงนี้จะแบงออกเปนสองคายมาตรฐานสากลไดแก<br />

ทางทวีปยุโรปใชมาตรฐาน<br />

Ir<br />

135


IEC และทางทวีปอเมริกาใชมาตรฐาน ANSI/IEEE ลักษณะเสนโคงที่นิยมใชปองกันหมอแปลง<br />

ไดแก แบบอินเวอรสไทมปกติและแบบเวรี่อินเวอรสไทม<br />

ซึ่งเสนโคงของทั้งสองมาตรฐานจะมี<br />

ความแตกตางกันโดยใชสูตรคํานวณตางกันนอกจากนี้คาแฟคเตอรทางเวลาของทั้งสองมาตรฐาน<br />

เรียกแตกตางกันมาตรฐาน IEC เรียกวา ตัวคูณเวลา(Time multiplier setting) มีคาระหวาง 0.1-1.0<br />

สวนทางดานมาตรฐาน ANSI/IEEE เรียกวา ไทมไดอัล (Time dial) มีคาระหวาง 0.5-1.0 ซึ่งทั้งสอง<br />

คามีคุณสมบัติเหมือนกันหลักในการเลือกเสนโคงคือตองครอบคลุมเสนโคงความเสียหายของหมอ<br />

แปลง(Transformer damage curve)ของหมอแปลงที่ปองกันนอกจาก<br />

นั้นตองจัดลําดับการทํางานกับ<br />

รีเลยกระแสเกินทั้งดานบน(Up<br />

stream) และรีเลยกระแสเกินดานลาง (Down stream)<br />

6.1.2 ฟงกชันกระแสเกินฉับพลัน ฟงกชันนี้ใชปองกันการเกิดฟอลตอยางรุนแรงและ<br />

จะตองเซตติ้งใหสูงกวากระแสพุงเขาและสภาวะโหลดฉุกเฉินและกรณีที่ติดตั้งดานแรงสูงควรเปน<br />

การปองกันสํารองฟอลตทางดานแรงต่ํา<br />

โดยปกติจะมีคาเซตติงประมาณ 120-130 % ของกระแส<br />

ลัดวงจรที่ไหลผาน<br />

ในกรณีศึกษาที่<br />

1 กระแสพุงเขาประมาณ<br />

8 เทาซึ่งเทากับ<br />

30.12 A ฟงกชัน<br />

กระแสเกินฉับพลันมีแท็ปกระแสใหเลือกตั้งแต<br />

2-150 A ในกรณีนี้เลือกที่<br />

60 A<br />

6.2 การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินที่เฟสแบบสแตติค<br />

ความแตกตางระหวางรีเลยกระแสเกินแบบอิเล็คโตรแมคานิคกับแบบสแตติคอยาง<br />

แรกคือเสนโคงเวลากับกระแส ซึ่งรีเลยแบบสแตติคหนึ่งตัวมีหลายเสนโคงเวลากับกระแสแตยังมี<br />

เพียงมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งขึ้นอยูกับบริษัทผูผลิต<br />

ขอดีคือสามารถประยุกตใชงานเสนโคงอื่นๆ<br />

ไดโดยไมตองซื้อรีเลยตัวใหม<br />

และความแตกตางยางที่สองคือการเลือกแท็ปกระแสและตัวคูณเวลา<br />

หรือไทมไดอัลมีการเปลี่ยนจากการขันสกรูเปนแบบดิฟสวิทชหรือสวิทชศูนยกับหนึ่ง<br />

6.2.1 ฟงกชันกระแสเกิน-เวลา เริ่มตนดวยการคํานวณหาคากระแสโหลดที่พิกัดและ<br />

เลือกคาเซตติ้งประมาณ<br />

110-300 % ตอจากนั้นทําการเซตติ้งคากระแสเริ่มตอบสนองที่ดิฟ<br />

สวิทช<br />

หรือสวิทชศูนยกับหนึ่งโดยที่<br />

IS =∑× In<br />

เมื่อ<br />

In คือกระแสโหลดที่พิกัดและ<br />

∑ คือผลรวมของตัว<br />

คูณกระแสเชนมีสวิทช 7 ตัวแตละตัวมีสองตําแหนงคือศูนยกับหนึ่ง<br />

ถาตองการเซตติ้งที่<br />

IS = 1.2×<br />

In<br />

เราจะเซตติงสวิทชดังแสดงในตารางที่14(ดูตามลูกศร)<br />

ตอจากนั้นทําการเลือกเสน<br />

โคงเวลากับกระแส ซึ่งหมอแปลงสวนใหญจะเลือกเสนโคงเวลากับกระแสแบบอินเวอรไทมปกติ<br />

โดยเลือกที่สวิทชศูนยกับหนึ่งที่ดานหนาของรีเลยเหมือนกับการเลือกคากระแสเริ่มตอบสนองซึ่ง<br />

136


รีเลยแบบสแตติคสวนใหญจะมีเสนโคงเวลาใหเลือกประมาณ 7-8 เสนโคง ดังนั้นสวิทชที่ใชจึงมี<br />

สามหลักโดยอาศัยหลักการเลขฐานสอง เลือกตัวคูณเวลาหรือไทมไดอัล ในการเลือกคานี้มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อคํานวณหาเวลาในการทริปเมื่อเกิดกระแสฟอลตไหลในวงจรรีเลย<br />

ที่ตัวคูณเวลา<br />

หรือไทมไดอัลคาต่ําๆรีเลยจะทํางานเร็วกวาที่คาสูง<br />

ตารางที่<br />

14 การเซตติ้งฟงกชันกระแสเกิน-เวลา<br />

รีเลยโดยที<br />

ตัวคูณกระแส ตําแหนงสวิทช ตัวคูณกระแส<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.2<br />

0.4<br />

0.4<br />

0.4<br />

0.8<br />

<br />


0.05-20 I n (ขั้นละ<br />

0.01) และมีการหนวงเวลาตั้งแต<br />

0-60 วินาที มีไวสําหรับกําหนดระยะเวลาของ<br />

กระแสเกินทันทีทันใด<br />

6.4 การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดิน<br />

รีเลยกระแสเกินโดยทั่วไปสามารถใชปองกันไดทั้งที่เฟสและที่สายนิวตรอล<br />

แตเมื่อ<br />

นํามาใชปองกันกระแสเกินลงดินจะมียานการเซตติ้งอยูในชวงตั้งแต<br />

0.05-0.8 In หรือบางบริษัทใช<br />

กับประเภทของรีเลยถาเปนรีเลยแบบอิเล็คโตรแมคานิคคาเซตติ้งต่ําสุดจะได<br />

n<br />

้งต่ําสุดจะไดถึง<br />

0.05 In ทําใหสามารถ<br />

ตรวจจับกระแส ฟอลตที่ปริมาณต่ําๆได<br />

การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดินแบงออกเปนสองกรณีคือ<br />

0.05-0.8 IS<br />

และขึ้นอยู<br />

แค 0.5 I สวนรีเลยแบบสแตติคและแบบดิจิตอลคาเซตติ<br />

6.4.1 กรณีที่จุดนิวตรอลตอลงดินโดยตรง<br />

การเซตติ้งแบบนี้จะเลือกคาเซตติ้งประมาณ<br />

30 % ของกระแสโหลดที่พิกัด<br />

สําหรับเสนโคงเวลากับกระแสสามารถใชไดทั้งแบบอินเวอรสไทม<br />

และแบบดิฟนิทไทมดังแสดงในกรณีศึกษาที่<br />

1-5<br />

6.4.2 กรณีที่จุดนิวตรอลตอผานตัวตานทานลงดิน<br />

ในการเซตติ้งจะพิจารณาที่ขนาด<br />

พิกัดกระแสและระยะเวลาที่สามารถทนกระแสไดสูงสุดของตัวตานทาน<br />

คากระแสเริ่มตนทํางาน<br />

สามารถเซตติ้งไดต่ําถึง<br />

5 % ของพิกัดกระแสตัวตานทาน และการเลือกเสนโคงเวลากับกระแส<br />

จะตองเลือกใหเสนโคงใหตัดผานคากระแสฟอลตลงดินที่สูงเทากับพิกัดกระแสของตัวตานทาน<br />

โดยใชเวลาต่ํากวาเวลาสูงสุดของตัวตานทาน<br />

ดังแสดงในกรณีศึกษาที่<br />

1<br />

7. การปองกันดวยฟวส<br />

ในการปองกันหมอแปลงขนาดเล็กที่มีพิกัดกําลังไมเกิน<br />

5 MVA เราจะใชฟวสปองกัน<br />

กระแสเกินเพียงอยางเดียวในกรณีหมอแปลงในระบบจําหนายแรงต่ํา(11-33<br />

kV/400-480 V) ที่<br />

ติดตั้งตามเสาไฟฟา<br />

หรือเราจะใชฟวสทํางานรวมกับเซอรกิตเบรกเกอรสําหรับอาคารพาณิชและ<br />

โรงงานขนาดเล็กที่มีระดับแรงดันต่ํา(11-33<br />

kV/400-480 V) โดยทั้งสองกรณีนั้นจะใชฟวสติดตั้ง<br />

ทางดานแรงดันสูง (11-33 kV) วัตถุประสงคหลักเพื่อปองกันการเกิดฟอลตมากกวาที่จะใชปองกัน<br />

สภาวะโหลดเกินของหมอแปลง และในการเลือกฟวสเราจะพิจารณาสามขอไดแก<br />

138


7.1 คาพิกัดแรงดันของฟวส โดยที่คาพิกัดแรงดันของฟวสจะตองสูงกวาระดับแรงดันที่ใช<br />

งานของหมอแปลงประมาณ 15-20 % โดยพิจารณาที่แรงดันเฟสเทียบกับนิวตรอล<br />

7.2 คากระแสที่จุดหลอมละลายต่ําสุดของฟวส<br />

โดยที่คานี้จะตองสูงกวาคากระแส<br />

สนามแมเหล็กพุงเขาของหมอแปลงที่เวลา<br />

0.1 วินาที ซึ่งหมอแปลงที่ใชฟวสปองกันจะมีขนาดเล็ก<br />

มีพิกัดกําลังไมเกิน 5 MVA และมีคากระแสพุงเขาประมาณ<br />

10-12 เทาของกระแสโหลด<br />

7.3 คาพิกัดกระแสตอเนื่องของฟวส<br />

จะเลือกใหสูงกวากระแสของหมอแปลงประมาณ<br />

150-300 % โดยคิดที่คากระแสดานแรงสูงดังแสดงในตารางที่15<br />

ตารางที่<br />

15 ตารางการเลือกพิกัดกระแสตอเนื่องของฟวส<br />

ขนาดพิกัดกําลังหมอแปลง พิกัดกระแสตอเนื่องของฟวส<br />

ต่ํากวา<br />

100 kVA<br />

300 %<br />

100-500 kVA<br />

200-250 %<br />

500-5000 kVA<br />

150-200 %<br />

ขอดีของการใชฟวสคือประหยัดไมตองใชแหลงจายไฟเหมือนรีเลยและสามารถ<br />

ปองกันฟอลตที่เกิดขึ้นกับหมอแปลงทั้งทางดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

ขอเสียคือไมสามารถการปองกันฟอลตที่เกิดขึ้นในหมอแปลงและมีกระแสฟอลตปริมาณ<br />

นอยโดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่เปนหมอแปลงแบบเดลตา-สตาร<br />

และที่จุดนิวตรอลทางดานขดลวด<br />

สตารตอลงดินผานตัวตานทาน นอกจากนี้ฟวสทําหนาที่หลักคือปองกันการเกิดฟอลตเพียงอยาง<br />

เดียวจึงไมมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันสภาวะโหลดเกิน<br />

และเนื่องจากฟวสเปนการปองกันแยกอิสระ<br />

แตละเฟสเมื่อเกิดฟวสขาดเพียง<br />

1 เฟสจะมีผลกระทบตอโหลดสามเฟสเชน มอเตอร<br />

139


8. การปองกันดวยกับดักเสิรจ<br />

ในการปองกันหมอแปลงตั้งแตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญจะมีกับดักเสิรจเปนอุปกรณ<br />

ปองกันฟาผาและเสิรจตางที่ทําใหเกิดภาวะแรงดันเกินชั่วขณะ<br />

หมอแปลงขนาดเล็กที่ใชในเชิง<br />

พาณิชและโรงงานอุตสาหกรรม และหมอแปลงในระบบจําหนายแรงต่ํา(11~33/380~480<br />

V)จะ<br />

ติดตั้งกับดักเสิรจดานแรงสูง<br />

สวนหมอแปลงที่ใชในสถานีไฟฟาและในระบบสงจะติดตั้งกับดัก<br />

เสิรจทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

ในการพิจารณาวากับดักเสิรจควรจะติดตั้งดานใดบางนั้น<br />

จะพิจารณา<br />

วาขั้วตอสายของหมอแปลงตอกับสายตัวนําเคเบิ้ลหรือไม<br />

การที่ตอรวมกับอุปกรณอื่นๆผานสาย<br />

เคเบิ้ลที่เปดโลงทําใหมีโอกาสที่จะไดรับผลกระทบจากฟาผา<br />

ในกรณีที่ตัวหมอแปลงและอุปกรณที่<br />

ตอกับหมอแปลงอยูภายในอาคารอาจจะไมจําเปนตองติดตั้งกับดักเสิรจนอกจากนี้สําหรับหมอ<br />

แปลงที่สําคัญจะตองพิจารณาถึงผลกระทบอื่นๆเชน<br />

ฟอลตที่ทําใหเกิดภาวะแรงดันเกินชั่วครูและ<br />

การเปดปดสวิทชที่ทําใหเกิดสวิทชิ่งเสิรจ<br />

กับดักเสิรจจะตองมีการดิสชารจที่เพียงพอในกรณีที่มีเสิรจตางๆเกิดขึ้นและไหลเขาสูหมอ<br />

แปลง โดยจะตองลดระดับแรงดันเสิรจต่ํากวาระดับฉนวนของหมอแปลงซึ่งเปนการชวยยืดอายุการ<br />

ใชงานของฉนวนหมอแปลง ในการเลือกใชงานกับดักเสิรจจะตองพิจารณาดังนี้<br />

8.1. พิกัดแรงดันของกับดักเสิรจโดยปกติพิกัดแรงดันของกับดักเสิรจจะตองเทากับหรือสูง<br />

กวาแรงดันของระบบที่หมอแปลงตออยูและขึ้นอยูกับระบบตอลงดินเชน<br />

แรงดันระบบระหวางเฟส<br />

เทากับ 2.4 kV แรงดันของกับดักเสิรจกรณีที่ระบบตอลงดินเทากับ<br />

2.7 kV และกรณีที่ระบบไมตอ<br />

ลงดินหรือตอผานอิมพีแดนซคาสูงจะเทากับ 3.0 kV<br />

8.2 แรงดันเกินชั่วครู<br />

ซึ่งอาจจะเกิดจากการลัดวงจร<br />

1 เฟสลงดิน การปลดโหลดและ<br />

ปรากฎการณเฟอรโรเรโซแนนซ โดยที่ความสามารถในการทนตอแรงดันเกินชั่วครูของกับดักเสิรจ<br />

จะตองเทากับหรือสูงกวาคาแรงดันเกินชั่วครูที่จะเกิดขึ้นกับระบบที่ใชงาน<br />

ซึ่งคาแรงดันเกินชั่วครู<br />

ของระบบที่ใชงานอาจจะไดจากการคํานวณหรือจากโปรแกรมศึกษาสภาวะชั่วขณะของระบบ<br />

ซึ่ง<br />

ปกติจะพิจารณาที่คาต่ําสุดไดแก<br />

คาแรงดันเกินชั่วครูที่เกิดจากการลัดวงจร<br />

1 เฟส ลงดิน และเราจะ<br />

ใชมาตรฐาน ANSI C62.22 ไดแนะนําการหาขนาดของคาแรงดันเกินชั่วครูที่เกิดจากการลัดวงจร<br />

1<br />

เฟสลงดิน และคาแรงดันเกินชั่วครูของกับดักเสิรจจะอยูในชวงระหวาง<br />

1.27 ~ 1.75 pu ของพิกัด<br />

140


แรงดันของกับดักเสิรจขึ้นอยูกับระยะเวลาที่เกิดแรงดันเกินชั่วขณะมีชวงระหวาง<br />

0.02 ~ 10,000<br />

วินาที เชน เมื่อเกิดแรงดันเกินชั่วครูเทากับ<br />

1.75 pu กับดักเสิรจสามารถทนได 0.02 วินาที<br />

8.3 สวิทชิ่งเสิรจ<br />

อาจจะในระบบจําหนายและระบบสงของการไฟฟาไดเสมอสาเหตุมา<br />

จากการเปดปดสวิทชและการใชงานคาปาซิเตอรแบงคซึ่งถือวาเปนเรื่องปกติ<br />

ในการพิจารณาสวิท<br />

ชิ่งเสิรจเกี่ยวกับกับดักเสิรจนั้นจะพิจารณาถึงระดับแรงดันสูงสุดของสวิทชิ่งเสิรจกับดักเสิรจทนได<br />

ซึ่งปกติจะสูงกวาคาพิกัดแรงดันของกับดักเสิรจประมาณ<br />

2 เทา นอกจากนี้ยังพิจารณาพลังงานที่<br />

ดิสชารจผานกับดักเสิรจโดยปกติกับดักเสิรจจะระบุขีดความสามารถทางดานพลังงานมาในรูป<br />

กระแสสูงสุดและพลังงานกิโลจูนตอกิโลโวลตเชน กับดักเสิรจที่มีพิกัดแรงดันในชวง<br />

3 ~ 36 kV<br />

จะมีพิกัดกระแสสูงสุด 300 A และ 1.4 kJ/kV ของพิกัดแรงดันของกับดักเสิรจ<br />

8.4 อัตราสวนการปองกัน ในการเลือกกับดักเสิรจจะตองพิจารณาอัตราสวนการปองกัน<br />

ระหวางระดับฉนวนหมอแปลงกับระดับการปองกันของกับดักเสิรจวัตถุประสงคเพื่อจัดลําดับการ<br />

ปองกันฉนวน(Insulation Coordination)ของหมอแปลง ซึ่งระดับการปองกันของกับดักเสิรจจะตอง<br />

ต่ํากวาระดับฉนวนของหมอแปลง<br />

ปกติในการทดสอบหมอแปลงจะทําการทดสอบฉนวนหมอ<br />

แปลงสามแบบคือ การทดสอบสวิทชิ่งเสิรจ<br />

การทดสอบเต็มรูปคลื่น(Full<br />

wave) และการทดสอบ<br />

รูปคลื่นสับ(Chopped<br />

wave) โดยนําคาที่ไดจากการทดสอบทั้งสามมาหาอัตราสวนการปองกัน<br />

ตาม<br />

มาตรฐานANSI C62.22 ไดกําหนดอัตราสวนการปองกันจะตองเทากับหรือมากกวาคาที่กําหนด<br />

ดังนี้<br />

8.4.1 Switching surge withstand / Switching surge protective level ≥ 1.15<br />

8.4.2 Full wave withstand(BIL) / Impulse protective level ≥ 1.20<br />

8.4.3 Chopped wave withstand / Front of wave protective level ≥ 1.25<br />

ตัวอยางเชน หมอแปลงที่มีคา<br />

BIL เทากับ 550 kV จะใชกับดักเสิรจที่มีพิกัดแรงดัน<br />

144 kV ที่กระแสอิมพัลส<br />

10 kA ดังแสดงในตารางที่<br />

16 และในตารางที่<br />

17 แสดงตารางกับดักเสิรจ<br />

ของบริษัท GE ซึ่งจะระบุคาระดับการปองกันของกับดักเสิรจ<br />

141


่ ตารางที 16 การเปรียบเทียบอัตราสวนการปองกันระหวางหมอแปลงและกับดักเสิรจ<br />

Transformer<br />

Arrester Protective Protective Ratios<br />

Withstand Test<br />

Level (kV)<br />

Switching surge<br />

Full wave<br />

Chopped wave<br />

Transformer<br />

Withstand Voltage<br />

(kV)<br />

460<br />

550<br />

630<br />

ตารางที่<br />

17 ตารางกับดักเสิรจของบริษัท GE<br />

285<br />

351<br />

386.1<br />

1.61<br />

1.57<br />

1.63<br />

142


9. กรณีศึกษาการปองกันหมอแปลงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย<br />

9.1 กรณีศึกษาที่<br />

1 การปองกันหมอแปลงจายโหลดสํารอง(RAT)โรงไฟฟาพระนครใต<br />

กรณีศึกษานี้เปนการปองกันหมอแปลงดวยรีเลยกระแสเกินแบบอิเล็คโตรแมกคานิคัล<br />

โดยมีขอมูลหมอแปลงและรีเลยกระแสเกิน50/51RAT และรีเลยกระแสเกินลงดิน51GRAT ดังนี้<br />

พิกัดหมอแปลง 15/20 MVA (OA/FA), 230 kV/6.9 kV<br />

รีเลยกระแสเกินรุน<br />

IFC53B (Very inverse time) บริษัทผูผลิต<br />

GE<br />

ฟงกชั่นกระแสเกิน-เวลา(51)<br />

ชวงแท็ปกระแส 1-12 A<br />

ฟงกชั่นกระแสเกินฉับพลัน(50)<br />

ชวงแท็ปกระแส 6-150 A<br />

ฟงกชั่นกระแสเกินลงดิน(51G)<br />

ชวงแท็ปกระแส 0.5-4 A<br />

ภาพที่<br />

109 วงจรการปองกันหมอแปลงจายโหลดสํารอง(RAT)ของโรงไฟฟาพระนครใต<br />

ขั้นตอนการเซตติ้งฟงกชั่นกระแสเกิน-เวลา(Time<br />

overcurrent : 51)<br />

กระแสโหลดเต็มพิกัด<br />

กระแสเริ่มตอบสนองเซตติ้งที่<br />

200 %<br />

15MVA<br />

I FL = = 37.65A<br />

3 × 230kV<br />

37.65× 2<br />

I RCT = =<br />

7.53A<br />

50 / 5<br />

143


เลือกแท็ปกระแสที่<br />

8.0 A จะไดกระแสเริ่มตอบสนองดานปฐมภูมิหมอแปลงกระแส<br />

เทากับ 80 A<br />

ขั้นตอนการเซตติ้งฟงกชั่นกระแสเกินฉับพลัน(Instantaneous<br />

overcurrent : 50)<br />

ในการเซตติ้งกระแสเกินฉับพลันนั้นรีเลยจะตองไมทํางานดวยสาเหตุจาก<br />

กระแสพุง<br />

เขา(ประมาณ 8 เทาสําหรับหมอแปลงตัวนี้)<br />

โหลดสูงสุดในชวงเวลาสั้น<br />

และกระแสลัดวงจร<br />

ทางดานแรงต่ําของหมอแปลง(ควรเปนการปองกันสํารองโดยการจัดลําดับการทํางานรวมกับรีเลย<br />

ดานแรงต่ํา)<br />

กระแสพุงเขาประมาณ<br />

8 เทาของกระแสโหลดเต็มพิกัดเทากับ<br />

I = 37.65× 8 = 301.2A<br />

Inrush<br />

ขั้นตอนตอไปเราจะนําเสนโคงขีดจํากัดความเสียหายของหมอแปลง(Transformer<br />

damage curve)นํามาพล็อตในสเกลเดียวกับกราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสดังแสดงในภาพที่<br />

110<br />

เพื่อหาคาเสนโคงเวลา<br />

ผลที่ไดเราจะไดเสนโคงเวลาเทา<br />

5<br />

เลือกแท็ปกระแสเกินฉับพลันที่แท็ป<br />

60 จะไดกระแสเกินฉับพลันดานปฐมภูมิหมอ<br />

แปลงกระแสเทากับ 600 A ตอจากนั้นนําคาตางๆไปพล็อตในกราฟคุณลักษณะเวลาและกระแส<br />

การคํานวณการเซตติ้งของรีเลยกระแสเกินรุน<br />

IFC53B (51G)<br />

ที่จุดนิวตรอลดานแรงต่ําของหมอแปลงตอเขากับตัวตานทานที่มีพิกัด<br />

1000 A ที่<br />

4160<br />

V สามารถทนกระแส 1000 A ภายในเวลา 10 วินาที<br />

กระแสตัวตานทาน = 1000<br />

กระแสที่ไหลผานรีเลย<br />

I A<br />

R<br />

1000<br />

I RCT = =<br />

8.33A<br />

600 / 5<br />

144


ภาพที่<br />

110 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยปองกัน50/51RAT<br />

เลือกแท็ปกระแสที่0.5<br />

A จะไดกระแสเริ่มตอบสนองดานปฐมภูมิหมอแปลงกระแส<br />

60 A<br />

และนําคาขีดจํากัดของตัวตานทานมาพล็อตบนสเกลของกราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสที่สเกล<br />

คูณ 10 เทาของกระแส โดยที่เลือกเสนโคงเวลาเทากับ<br />

10 ดังนั้นยอมใหกระแส<br />

1000 A ไหลผานตัว<br />

ตานทานเปนเวลา 1.2 วินาที ซึ่งไมเกินขีดจํากัดของตัวตานทาน<br />

กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสที่<br />

สเกลคูณ 10 เทาแสดงในภาพที่<br />

111<br />

145


ภาพที่<br />

111 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยปองกัน51GT<br />

9.2 กรณีศึกษาที่<br />

2 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนรวมวังนอย อยุธยา<br />

กรณีศึกษาที่<br />

2 นี้เปนการปองกันดวยรีเลยวัดคาผลตางแบบสแตติคและรีเลยกระแส<br />

เกินแบบอิเล็คโตรแมกคานิคัล โดยการปองกันผลตางจะมีทั้งปองกันเฉพาะหมอแปลงและปองกัน<br />

ทั้งหมอแปลงและเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

146


87T<br />

2000/5A<br />

15000/5A<br />

1200/5A<br />

15000/5A<br />

600/5A<br />

51TN<br />

87GTL<br />

ภาพที่<br />

112 การปองกันหมอแปลงไฟฟาของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมวังนอย อยุธยา<br />

ขอมูลหมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

พิกัดหมอแปลง 312 MVA YNd1<br />

พิกัดแรงดันไฟฟาของหมอแปลง 241.5 (± 5%) /15 kV<br />

อิมพีแดนซหมอแปลง 12.60 % ที่พิกัด<br />

312 MVA<br />

อิมพีแดนซหมอแปลง 10.61 % ที่พิกัด<br />

262.77 MVA<br />

ขอมูลเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

พิกัดเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

262.77 MVA @ ambient temp. 32.6 ºC<br />

พิกัดแรงดันไฟฟา 15 kV<br />

พิกัดกระแส 10,114 A<br />

อิมพีแดนซเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

16.60 % ที่พิกัด<br />

262.77 MVA<br />

147


การเซตติ้งรีเลยผลตาง87GTL(หมอแปลงและเครื่องกําเนิดไฟฟา)<br />

รีเลยผลตางรุน<br />

HU ( Static Relay)<br />

บริษัทผูผลิต<br />

Westinghouse<br />

คาเปอรเซนต Mismatch 15 %<br />

เสนโคงของความไว(Sensitivity curve) 30 %<br />

คากระแสทริปฉับพลันเทากับ 10 เทาของคาแท็ปกระแสแตละดานโดยที่คานี้ไม<br />

ตองทําการเซตติ้งเพราะวาทําการเซตติ้งมาจากโรงงานแลว<br />

หาคากระแสที่ดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแสที่ฐานพิกัดกําลัง<br />

262.77 MVA<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

ดานแรงดัน 15 kV<br />

262.77MVA<br />

I PH = = 628A<br />

3 × 241.5kV<br />

262.77MVA<br />

I PL = = 10,114A<br />

3× 15kV<br />

หาคากระแสที่ดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

ดานแรงดัน 15 kV<br />

หาคากระแสอินพุตของรีเลย<br />

5 5<br />

ISH = IPH × = 628× = 1.57A<br />

2000 2000<br />

5 5<br />

ISL = IPL× = 10,114× = 3.37A<br />

15,000 15,000<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV I = 3 × I = 3 × 1.57 = 2.72A<br />

RH SH<br />

ดานแรงดัน 15 kV = =<br />

3.37<br />

I I A<br />

RL SL<br />

148


การเลือกแท็ปกระแสของรีเลย<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV เลือกแท็ปกระแส TH 2.9A<br />

=<br />

ดังนั้นสามารถหาคา<br />

I RL 3.4<br />

TL = T H × = 2.9× = 3.65A<br />

I 2.7<br />

ดานแรงดัน 15 kV เลือกแท็ปกระแส TL 3.8A<br />

=<br />

ตรวจสอบเปอรเซ็นต Mismatch<br />

I<br />

I<br />

RL<br />

RH<br />

3.4<br />

= = 1.239 และ<br />

2.7<br />

RH<br />

T<br />

T<br />

L<br />

H<br />

3.8<br />

= = 1.310<br />

2.9<br />

เปอรเซ็นต Mismatch เทากับ 1.239 1.310 −<br />

× 100% = 5.7%<br />

1.239<br />

นอกจากนี้ที่ดานแรงสูงของหมอแปลงมีตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

±5% ทําใหมีคาคลาดเคลื่อน<br />

ประมาณ 10.7 % ซึ่งไมเกินคาขีดจํากัดที่<br />

15 %<br />

ตรวจสอบคากระแสทริปฉับพลันเมื่อเกิดกระแสลัดวงจรภายนอกเขตปองกันจะทําให<br />

เกิดกระแสไหลผานหมอแปลง เมื่อกระแสลัดวงจรถูกแปลงมาทางดานทุติยภูมิของหมอแปลง<br />

กระแส จะตองมีคาไมเกินคากระแสทริปฉับพลันซึ่งมีคาประมาณ<br />

10 เทาของแท็ปกระแสของรีเลย<br />

สามารถแสดงไดดังนี้<br />

กรณีเกิดการลัดวงจรสามเฟสดานแรงสูง 241.5 kV และคิดที่ฐานพิกัดกําลัง<br />

262.77 MVA<br />

262.77MVA<br />

I F = = 2308.6A<br />

MAX<br />

3 × 241.5 kV × (0.166 + 0.1061)<br />

I 37.17kA<br />

FMAX<br />

= ที่ฐานแรงดัน15<br />

kV<br />

ที่ฐานแรงดัน241.5<br />

kV<br />

149


ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

ดานแรงดัน 15 kV<br />

ซึ่งไมเกินคากระแสทริปฉับพลัน<br />

สรุปการเซตติ้งรีเลยผลตาง<br />

แท็ปกระแสดานแรงสูง TH 2.9A<br />

=<br />

แท็ปกระแสดานแรงต่ํา<br />

T 3.8A<br />

2308.6<br />

I FH = 3 × × 5 = 10.00A<br />

2000<br />

37.17kA<br />

I FL = × 5 = 12.39A<br />

15000<br />

L =<br />

คากระแสทริปฉับพลันดานแรงสูง 29 A<br />

คากระแสทริปฉับพลันดานแรงต่ํา<br />

38 A<br />

คาเปอรเซนต Mismatch 5.7 % (5.7 % +5% = 10.7%ไมเกิน 15 %)<br />

เสนโคงของความไว(Sensitivity curve) 30 %<br />

การเซตติ้งรีเลยผลตาง87T(หมอแปลง)<br />

รีเลยวัดผลตางรุน<br />

HU ( Static Relay)<br />

บริษัทผูผลิต<br />

Westinghouse<br />

คาเปอรเซนต Mismatch 15 %<br />

เสนโคงของความไว(Sensitivity curve) 30 %<br />

คากระแสทริปฉับพลันเทากับ10 เทาของคาแท็ปกระแสแตละดานโดยที่คานี้ไม<br />

ตองทําการเซตติ้งเพราะวาทําการเซตติ้งมาจากโรงงานแลว<br />

หาคากระแสที่ดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแสที่ฐานพิกัดกําลัง<br />

312 MVA<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

312MVA<br />

I PH = = 745.9A<br />

3 ×<br />

241.5kV<br />

150


ดานแรงดัน 15 kV<br />

312MVA<br />

I PL = = 12,009A<br />

3× 15kV<br />

หาคากระแสที่ดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

ดานแรงดัน 15 kV<br />

หาคากระแสอินพุตของรีเลย<br />

5 5<br />

ISH = IPH × = 745.9× = 3.11A<br />

1200 1200<br />

5 5<br />

ISL = IPL × = 12,009× = 4.00A<br />

15,000 15,000<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV I = 3 × I = 3 × 3.11 = 5.39A<br />

RH SH<br />

ดานแรงดัน 15 kV = = 4.00<br />

การเลือกแท็ปกระแสของรีเลย<br />

I I A<br />

RL SL<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV เลือกแท็ปกระแส TH 5.0A<br />

=<br />

ดังนั้นสามารถหาคา<br />

IRL<br />

4.0<br />

TL = T H × = 5.0× = 3.71A<br />

I 5.39<br />

ดานแรงดัน 15 kV เลือกแท็ปกระแส TL 3.8A<br />

=<br />

ตรวจสอบเปอรเซ็นต Mismatch<br />

I<br />

I<br />

RL<br />

RH<br />

5.39<br />

= = 1.348 และ<br />

4.0<br />

RH<br />

T<br />

T<br />

L<br />

H<br />

5.0<br />

= = 1.316<br />

3.8<br />

เปอรเซ็นต Mismatch เทากับ 1.348 1.316 −<br />

× 100% =<br />

2.37%<br />

1.348<br />

151


นอกจากนี้ที่ดานแรงสูงของหมอแปลงมีตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

±5% ทําใหมีคาคลาดเคลื่อน<br />

ประมาณ 7.37 % ซึ่งไมเกินคาขีดจํากัดที่<br />

15 %<br />

ตรวจสอบคากระแสทริปฉับพลัน เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรภายนอกเขตปองกันจะทํา<br />

ใหเกิดกระแสไหลผานหมอแปลง เมื่อกระแสลัดวงจรถูกแปลงมาทางดานทุติยภูมิของหมอแปลง<br />

กระแส จะตองมีคาไมเกินคากระแสทริปฉับพลันซึ่งมีคาประมาณ<br />

10 เทาของแท็ปกระแสของรีเลย<br />

สามารถแสดงไดดังนี้<br />

กรณีเกิดการลัดวงจรสามเฟสดานแรงสูง 15 kV และคิดที่ฐานพิกัดกําลัง<br />

312<br />

MVA<br />

312MVA<br />

I F = = 86.3kA<br />

MAX<br />

3 × 15 kV × (0.126 + 0.0131)<br />

ดานแรงดัน 241.5 kV<br />

ดานแรงดัน 15 kV<br />

ซึ่งไมเกินคากระแสทริปฉับพลัน<br />

สรุปการเซตติ้งรีเลยผลตาง<br />

แท็ปกระแสดานแรงสูง TH 5.0A<br />

=<br />

แท็ปกระแสดานแรงต่ํา<br />

T 3.8A<br />

ที่ฐานแรงดัน15<br />

kV<br />

86,333 15<br />

I FH = × × 5× 3 = 38.7A<br />

1200 241.5<br />

86,333<br />

I FL = × 5 = 28.8A<br />

15000<br />

L =<br />

คากระแสทริปฉับพลันดานแรงสูง 50 A<br />

คากระแสทริปฉับพลันดานแรงต่ํา<br />

38 A<br />

คาเปอรเซนต Mismatch 2.37 % (2.37 % +5% = 7.37%ไมเกิน 15 %)<br />

เสนโคงของความไว(Sensitivity curve) 30 %<br />

152


การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดิน<br />

รีเลยกระแสเกินลงดินรุน<br />

IFC53A (Mechanical Relay)<br />

บริษัทผูผลิต<br />

GE<br />

แท็ปเซตติ้ง<br />

1.0 , 1.2 , 1.5 , 2.0 , 3.0 , 4.0 , 5.0 , 6.0 , 7.0 , 8.0 , 10.0 , 12.0<br />

เสนโคงเวลา(Time dial) 0.5 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10<br />

ทําการเซตติ้งคากระแสเริ่มตอบสนองที่<br />

50 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัดดานแรงสูง<br />

ที่ฐานพิกัดกําลัง<br />

312 MVA ดังนั้นเราจะไดกระแสเต็มพิกัดและกระแสเริ่มตอบสนองเทากับ<br />

312MVA<br />

I FL = = 745.9A<br />

3 × 241.5kV<br />

5<br />

I PU = 745.9× × 0.5 = 3.11A<br />

600<br />

ดังนั้นทําการเลือกแท็ปกระแสที่<br />

3.0 A และเวลาในการทริปจะตองไมเกิน 2 วินาที<br />

เมื่อเราทราบคากระแสเริ่มตนทํางานที่แท็ปกระแส<br />

3.0 A และขอกําหนดของเวลาในการทริป<br />

ขั้นตอนตอไปเราจะนําเสนโคงขีดจํากัดความเสียหายของหมอแปลง(Transformer<br />

damage curve)<br />

นํามาพล็อตในสเกลเดียวกับกราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสดังแสดงในภาพที่<br />

113 เพื่อหาคาเสน<br />

โคงเวลา ผลที่ไดเราไดเสนโคงเวลาที่<br />

2<br />

สรุปการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดิน<br />

คากระแสเริ่มตนทํางานที่แท็ปกระแส<br />

3.0 แอมป<br />

เวลาในการทริป 2.0 วินาที<br />

เสนโคงเวลาที่<br />

2<br />

153


ภาพที่<br />

113 กราฟคุณลักษณะเวลาและกระแสของรีเลยกระแสเกินรุน<br />

IFC53A ที่ความถี่<br />

50 Hz<br />

154


9.3 กรณีศึกษาที่<br />

3 การปองกันหมอแปลงโรงสถานีไฟฟาแมสอด<br />

ขอมูลหมอแปลงและรีเลยปองกัน<br />

พิกัดหมอแปลง 50 MVA<br />

พิกัดแรงดันดานแรงสูง 115 kV<br />

พิกัดแรงดันดานแรงต่ํา<br />

22 kV<br />

รีเลยผลตางรุน<br />

HU (Static Relay)บริษัทผูผลิต<br />

Westinghouse<br />

รีเลยกระแสเกินรุน<br />

MCO (Static Relay)บริษัทผูผลิต<br />

ABB<br />

รีเลยกระแสเกินลงดินรุน<br />

MCO บริษัทผูผลิต<br />

ABB<br />

ภาพที่<br />

114 วงจรการปองกันหมอแปลงของสถานีไฟฟา MS<br />

การคํานวณการเซตติ้งของรีเลยผลตาง(HU-87)<br />

ขอมูลหมอแปลงกระแส<br />

อัตราสวนดานแรงสูง : 50 , 100 , 150 , 200 , 250 , 300 , 400 , 450 , 500 , 600/5A<br />

อัตราสวนดานแรงต่ํา<br />

: 100 , 200 , 300 , 400 , 500 , 600 , 800 , 900 , 1000 , 1200/5A<br />

ขอมูลแท็ปของรีเลยรุน<br />

HU : 2.9 , 3.2 , 3.5 , 3.8 , 4.2 , 4.6 , 5.0 , 8.7<br />

ขั้นตอนการเซตติ้งแสดงในตารางที่<br />

18<br />

155


ตารางที่<br />

18 ขั้นตอนการเซตติ้งของรีเลยผลตางกรณีศึกษาที่<br />

3<br />

ขั้นตอนการเซตติ้ง<br />

1. เลือกอัตราสวน<br />

หมอแปลงกระแส<br />

2. หากระแสที่ไหล<br />

ในรีเลย<br />

3. หาอัตราสวน<br />

กระแส<br />

4. เลือกอัตราสวน<br />

แท็ป(หัวขอ 2.2)<br />

5. หาคา Mismatch<br />

ดานแรงสูง<br />

115 kV<br />

50MVA<br />

I FL = = 251.022A<br />

3 × 115kV<br />

เลือกที่<br />

400/5A(N=80)<br />

251.022A<br />

I RH = = 3.138A<br />

80<br />

I<br />

I<br />

RL<br />

RH<br />

T<br />

T<br />

L<br />

H<br />

9.47<br />

= = 1.93<br />

3.138<br />

8.7<br />

= = 1.890<br />

4.6<br />

( 9.47 / 3.138) − ( 8.7 / 4.6)<br />

( 8.7 / 4.6)<br />

= × 100<br />

= 0.599%<br />

ดานแรงต่ํา<br />

22 kV<br />

156<br />

50MVA<br />

I FL = = 1312.16A<br />

3× 22kV<br />

เลือกที่<br />

1200/5A(N=240)<br />

1312.16<br />

I RL = × 3 = 9.47A<br />

240<br />

หมายเหตุ : ขั้นตอนการเซตติ้งในขอที่<br />

1 กระแสเต็มพิกัดดานแรงมีคา 1312.16 แอมปซึ่งสูงเกินกวา<br />

คาอัตราสวนหมอแปลงกระแส 1200/5 แอมป ซึ่งในความเปนจริงในการใชงานหมอ<br />

แปลงกระแสจะสามารถรองรับโหลดเกินตอเนื่องไดประมาณ<br />

50 เปอรเซ็นตตาม<br />

มาตรฐานสากล


คากระแสทริปในกรณีที่เกิดการทริปฉับพลัน(Instantaneuos<br />

trip)ที่มีสาเหตุมาจากการ<br />

เกิดการลัดวงจรภายนอกเขตปองกันซึ่งทําใหหมอแปลงกระแสอิ่มตัว<br />

โดยจะมีคาเทากับ 10 เทาของ<br />

คากระแสในแท็ปที่เลือก<br />

เสนโคงของความไว(Sensitivity curve)ของรีเลยรุนนี้จะกําหนดคงที่มาจากผูผลิตโดย<br />

มีคาเทากับ 30 เปอรเซ็นตคูณคาแท็ปเซตติ้งและมีคามิสแมทชที่15<br />

เปอรเซ็นตดังแสดงในภาพที่<br />

115<br />

ภาพที่<br />

115 กราฟแสดงเสนโคงของความไวและคามิสแมทชของรีเลยรุน<br />

HU<br />

157


การคํานวณการเซตติ้งของรีเลยกระแสเกิน(MCO-51)ดานแรงสูง115<br />

kV<br />

ขอกําหนดในการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินดานแรงสูงในระบบสงของ<br />

กฟผ.<br />

- เลือกอัตราสวนหมอแปลงกระแสประมาณ 150 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลังสูงสุดของ<br />

หมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 150 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

- กระแสเริ่มตอบสนอง(Pick<br />

up current) ประมาณ 150 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลัง<br />

สูงสุดของหมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 150 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

- เสนโคงคุณลักษณะทางเวลาใหเปนชนิดแปรผันกลับปกติ(Normal inverse)<br />

- เวลาทํางานของรีเลยหรือเวลาในการทริปประมาณ 2.0 วินาที ที่กระแสลัดวงจรสาม<br />

เฟสที่ดานแรงต่ํา<br />

22 kV<br />

- ใหสั่งหาม(Block)การทํางานของการสั่งทริปทันทีทันใด(Instantaneous<br />

trip)<br />

ขอกําหนดในการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินของรีเลยรุน<br />

MCO<br />

- กระแสเริ่มตอบสนอง(Pick<br />

up current)ถามีคาระหวาง 0.1 ถึง 2.4 แอมปจะหาไดจาก<br />

สมการที่(1)<br />

และถามีคาระหวาง 0.5 ถึง 12 แอมปจะหาไดจากสมการที่(2)<br />

158<br />

IS = ε + 0.1A<br />

(1)<br />

I = ε + 0.1 × 5A<br />

(2)<br />

S<br />

( )<br />

- เมื่อ<br />

ε คือตัวคูณกระแสจะมีคาใหเลือกตั้งแต<br />

0.0 จนถึง 2.3 (ขั้นละ<br />

0.1 )โดยจะ<br />

เปนดิฟสวิทช(Dip switch)ที่อยูดานหนาของตัวรีเลย<br />

มีลักษณะเปนสวิทช 5 ตัวๆละสองตําแหนง<br />

เชนถาตัวไหนไมไดเลือกคาใหเลื่อนมาที่ตําแหนงศูนย<br />

ผลรวมของสวิทชทั้ง<br />

5ตัวจะเทากับ 2.3<br />

( 0.8 , 0.8 , 0.4 , 0.2 , 0.1 )<br />

- เสนโคงคุณลักษณะทางเวลาของรีเลยรุน<br />

MCO มีทั้งหมด<br />

7 เสนโคงไดแก<br />

CO-2(Short) , CO-5(Long) , CO-6(Definite) , CO-7(Moderate Inverse) , CO-8(Normal Inverse) ,<br />

CO-9(Very Inverse) , CO-11(Extremely Inverse)<br />

- การคํานวณหาคาเสนโคงเวลา(Time dial setting) ในแตละเสนโคงคุณลักษณะทาง<br />

เวลาจะมีเสนโคงเวลา(Time dial setting)ใหเลือกตั้งแต<br />

1 จนถึง 63 เสนโคงเวลา ในการคํานวณหา


เสนโคงเวลา(Time dial setting)จะหาไดจากสมการที่<br />

(3) สําหรับกรณีที่อัตราสวนระหวาง(I/I0)มีคา<br />

มากกวา 1.5 เปอรยูนิต และสมการที่<br />

(4) สําหรับกรณีที่อัตราสวนระหวาง(I/I0)มีคาระหวาง<br />

1.0 ถึง<br />

1.5 เปอรยูนิต<br />

159<br />

P<br />

T = ⎡T 0 + K / ( I / I0 − C) ⎤×<br />

D/<br />

24000<br />

(3)<br />

⎣ ⎦<br />

T = ⎡⎣R / ( I / I0− 1.0 ) ⎤⎦×<br />

D/<br />

24000<br />

(4)<br />

โดยที่<br />

T คือเวลาในการทริป(วินาที)<br />

T0 คือเทอมของเวลาที่แนนอน<br />

I คือกระแสลัดวงจรที่ไหลผาน(เปอรยูนิต)<br />

I0 คือกระแสเริ่มตนทํางานที่ทําการเซตติ้ง(เปอรยูนิต)<br />

K คือแฟคเตอรสําหรับพื้นฐานเวลาแปรผันกลับ<br />

C คือคาคงที่แสดงในตารางที่<br />

19<br />

R คือคาคงที่แสดงในตารางที่<br />

19<br />

P คือคาคงที่แสดงในตารางที่<br />

19<br />

D คือคาเสนโคงเวลา(Time dial setting)<br />

ตารางที่<br />

19 ตารางคาคงที่ของรีเลยกระแสเกินรุน<br />

MCO<br />

เสนโคงคุณลักษณะทางเวลา T 0 K C P R<br />

CO-2(Short) 112 735 0.675 1 501<br />

CO-5(Long) 8197 13769 1.130 1 22705<br />

CO-6(Definite) 785 671 1.190 1 1475<br />

CO-7(Moderate Inverse) 525 3121 0.800 1 2491<br />

CO-8(Normal Inverse) 478 4122 1.270 1 9200<br />

CO-9(Very Inverse) 310 2756 1.350 1 9342<br />

CO-11(Extremely Inverse) 110 17640 0.500 2 8875


ขั้นตอนการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินดานแรงสูง<br />

- กระแสเต็มพิกัด<br />

50MVA<br />

I FL = = 251.022A<br />

3 × 115kV<br />

- เลือก อัตราสวนหมอแปลงกระแสเทากับ 400/5 A<br />

(อัตราสวนดานแรงสูง : 50 , 100 , 150 , 200 , 250 , 300 , 400/5A)<br />

- กระแสเริ<br />

่มตนทํางาน(Pick up current)เทากับ 251.022 × 150% = 4.707A<br />

400 / 5<br />

- เลือกใชสมการที่<br />

(2) โดยแทนคากระแสเริ่มตนทํางานลงในสมการเราจะไดคา<br />

ε = 0.84 แตจากการเลือกดิฟสวิทชสามารถเลือกได 0.8 กับ 0.9 ดังนั้นเลือกที่<br />

0.8 หลังจากนั้นนํา<br />

กลับไปแทนในสมการที่<br />

(2) เราจะไดคากระแสเริ่มตนทํางานของรีเลยเทากับ<br />

4.5 Aหรือประมาณ<br />

143.41 เปอรเซ็นต<br />

- เลือกเสนโคงคุณลักษณะทางเวลาชนิดแปรผันกลับปกติ (Normal inverse) เทากับ<br />

CO-8<br />

- กระแสลัดวงจรดานแรงต่ํา<br />

22 kV เทากับ 4357.6 A ที่กระแสฐาน(Ibase)<br />

= 1312.16 A<br />

ฉะนั้นเราจะไดคา<br />

กระแสลัดวงจรที่ไหลผาน(I)<br />

เทากับ 3.3209 pu และเลือกใชสมการที่<br />

(3) หาคา<br />

เสนโคงเวลา(Time dial setting : D) โดยที่<br />

ตามขอกําหนดของ กฟผ.เทากับ 2 วินาที ดังนั้นจะไดคา<br />

เสนโคงเวลา(D)เทากับ 10.859 แตเลือกคาเสนโคงเวลา(D)ที่<br />

11 หลังจากนั้นนํากลับเขาไปแทนใน<br />

สมการที่<br />

(3) เราจะไดคาเวลาในการทริป(T ) ที่<br />

2.03 วินาที<br />

การคํานวณการเซตติ้งของรีเลยกระแสเกิน(MCO-51)ดานแรงต่ํา22<br />

kV<br />

ขอกําหนดในการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินดานแรงต่ําในระบบสงของ<br />

กฟผ.<br />

- เลือกอัตราสวนหมอแปลงกระแสประมาณ 150 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลังสูงสุดของ<br />

หมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 150 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

- กระแสเริ่มตอบสนอง(Pick<br />

up current) ประมาณ 150 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลัง<br />

สูงสุดของหมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 150 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

- เสนโคงคุณลักษณะทางเวลาใหเปนชนิดแปรผันกลับปกติ(Normal inverse)<br />

- เวลาทํางานของรีเลยหรือเวลาในการทริปประมาณ 1.5 วินาที ที่กระแสลัดวงจรสาม<br />

เฟสที่ดานแรงต่ํา<br />

22 kV<br />

160


- ใหสั่งหาม(Block)การทํางานของการสั่งทริปฉับพลัน(Instantaneous<br />

trip)<br />

ขั้นตอนการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินดานแรงต่ํา<br />

- กระแสเต็มพิกัด<br />

50MVA<br />

I FL = = 1312.16A<br />

3× 22kV<br />

- เลือก อัตราสวนหมอแปลงกระแสเทากับ 1200/5 A (อัตราสวนดานแรงต่ํา<br />

: 100 ,<br />

200 , 300 , 400 , 5000 , 600 , 800 , 900 , 1000 , 1200/5A)<br />

- กระแสเริ<br />

่มตอบสนอง(Pick up current)เทากับ 1312.16 × 150% = 8.201A<br />

1200 / 5<br />

- เลือกใชสมการที่<br />

(2) โดยแทนคากระแสเริ่มตอบสนองลงในสมการเราจะไดคา<br />

ε = 1.54 แตจากการเลือกดิฟสวิทชสามารถเลือกได 1.5 กับ 1.6 ดังนั้นเลือกที่<br />

1.5 หลังจากนั้นนํา<br />

กลับไปแทนในสมการที่<br />

(2) เราจะไดคากระแสเริ่มตอบสนองของรีเลยเทากับ<br />

8.0 Aหรือประมาณ<br />

146.32 เปอรเซ็นต<br />

- เลือกเสนโคงคุณลักษณะทางเวลาชนิดแปรผันกลับปกติ(Normal inverse)<br />

เทากับ CO-8<br />

- กระแสลัดวงจรดานแรงต่ํา<br />

22 kV เทากับ 4357.6 A ที่กระแสฐาน(Ibase)<br />

= 1312.16 A<br />

ฉะนั้นเราจะไดคา<br />

กระแสลัดวงจรที่ไหลผาน(I)<br />

เทากับ 3.3209 pu และเลือกใชสมการที่<br />

(3) หาคา<br />

เสนโคงเวลา(Time dial setting : D) โดยที่<br />

ตามขอกําหนดของ กฟผ.เทากับ 1.5 วินาที ดังนั้นจะได<br />

คาเสนโคงเวลา(D)เทากับ 7.823 แตเลือกคาเสนโคงเวลา(D)ที่<br />

8 หลังจากนั้นนํากลับเขาไปแทนใน<br />

สมการที่<br />

(3) เราจะไดคาเวลาในการทริป(T ) ที่<br />

1.53 วินาที<br />

การคํานวณการเซตติ้งของรีเลยกระแสเกินลงดิน(MCO-51G)ดานแรงต่ํา22<br />

kV<br />

ขอกําหนดในการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดินดานแรงต่ําในระบบสงของ<br />

กฟผ.<br />

- เลือกอัตราสวนหมอแปลงกระแสประมาณ 150 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลังสูงสุดของ<br />

หมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 150 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

- กระแสเริ่มตอบสนอง(Pick<br />

up current) ประมาณ 30 เปอรเซ็นตของพิกัดกําลังสูงสุด<br />

ของหมอแปลง(FOA Cooling)หรือประมาณ 30 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด<br />

161


- เสนโคงคุณลักษณะทางเวลาใหเปนชนิดแปรผันกลับปกติ(Normal inverse)<br />

- เวลาทํางานของรีเลยหรือเวลาในการทริปประมาณ 1.5 วินาที ที่กระแสลัดวงจรหนึ่ง<br />

เฟสลงดินที่ดานแรงต่ํา<br />

22 kV<br />

- ใหสั่งหาม(Block)การทํางานของการสั่งทริปทันทีทันใด(Instantaneous<br />

trip)<br />

ขั้นตอนการเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดินดานแรงต่ํา<br />

- กระแสเต็มพิกัด<br />

50MVA<br />

I FL = = 1312.16A<br />

3× 22kV<br />

- เลือก อัตราสวนหมอแปลงกระแสเทากับ 1200/5 A (อัตราสวนดานแรงต่ํา<br />

: 100 ,<br />

200 , 300 , 400 , 5000 , 600 , 800 , 900 , 1000 , 1200/5A)<br />

- กระแสเริ่มตอบสนอง(Pick<br />

up current)เทากับ 1312.16<br />

× 30% = 1.640A<br />

1200 / 5<br />

- เลือกใชสมการที่<br />

(2) โดยแทนคากระแสเริ่มตอบสนองลงในสมการเราจะไดคา<br />

ε = 0.228 แตจากการเลือกดิฟสวิทชสามารถเลือกได 0.2 กับ 0.3 ดังนั้นเลือกที่<br />

0.2 หลังจากนั้นนํา<br />

กลับไปแทนในสมการที่<br />

(2) เราจะไดคากระแสเริ่มตอบสนองของรีเลยเทากับ<br />

1.5 Aหรือประมาณ<br />

27.44 เปอรเซ็นต<br />

- เลือกเสนโคงคุณลักษณะทางเวลาชนิดแปรผันกลับปกติ(Normal inverse)<br />

เทากับ CO-8<br />

- กระแสลัดวงจรหนึ่งเฟสลงดินดานแรงต่ํา<br />

22 kV เทากับ 4775.26 A ที่กระแสฐาน<br />

(Ibase) = 1312.16 A ฉะนั้นเราจะไดคา<br />

กระแสลัดวงจรที่ไหลผาน(I)<br />

เทากับ 3.64 pu และเลือกใช<br />

สมการที่<br />

(3) หาคาเสนโคงเวลา(Time dial setting : D) โดยที่<br />

ตามขอกําหนดของ กฟผ.เทากับ 1.5<br />

วินาที ดังนั้นจะไดคาเสนโคงเวลา(D)เทากับ<br />

43.81 แตเลือกคาเสนโคงเวลา(D)ที่<br />

44 หลังจากนั้น<br />

นํากลับเขาไปแทนในสมการที่<br />

(3) เราจะไดคาเวลาในการทริป(T ) ที่<br />

1.51 วินาที การจัดลําดับการ<br />

ปองกันกระแสเกินที่เฟสแสดงในภาพที่<br />

116 และการปองกันกระแสเกินลงดินแสดงในภาพที่<br />

117<br />

162


ภาพที่<br />

116 การจัดลําดับการปองกันกระแสเกินที่เฟส<br />

ภาพที่<br />

117 การจัดลําดับการปองกันกระแสเกินลงดิน<br />

163


9.4 กรณีศึกษาที่<br />

4 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนกระบี่<br />

9.4.1 การปองกันผลตาง(87MT) : รีเลยรุน<br />

KBCH 130(ALSTOM)<br />

87MT<br />

I S (HV)<br />

I p (LV2)<br />

I t (LV1)<br />

Generator<br />

ภาพที่<br />

118 การปองกันผลตาง(87MT)<br />

2000/5A<br />

Generator Transformer<br />

15000/5A<br />

การคํานวณหาคากระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

หมอแปลง Generator transformer 460 MVA 230kV / 24 kV<br />

หมอแปลง Unit transformer 46 MVA 24 kV / 6.9 kV<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันสูงของ Generator transformer 2000/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันต่ําของ<br />

Generator transformer 15000/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันสูงของ Unit transformer 1500/5A<br />

1500/5A<br />

Unit Transformer<br />

164


ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

ที่แท็ป<br />

-5% ของ Generator transformer<br />

การคํานวณแกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแสใหถูกตอง<br />

460MVA 5<br />

IS = × = 2.887A<br />

3 × 230kV<br />

2000<br />

I<br />

S<br />

460MVA 5<br />

= × = 2.749A<br />

3 × 241.5kV<br />

2000<br />

460MVA 5<br />

IS = × = 3.039A<br />

3 × 218.5kV<br />

2000<br />

460MVA 5<br />

I p = × = 3.689A<br />

3 × 24.0kV<br />

15000<br />

460MVA 5<br />

It = × = 36.887A<br />

3 × 24.0kV<br />

1500<br />

่<br />

่<br />

อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ), IS = 5.0 A/ 2.887A = 1.732 ∴1.73(<br />

Setting)<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

1 ( LV1), It = 5.0 A/ 36.887A = 0.136 ∴0.14(<br />

Setting)<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

2 ( LV 2), I p = 5.0 A/ 3.689A = 1.355 ∴1.36(<br />

Setting)<br />

การคํานวณหาคากระแสผลตาง<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 46 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 1.732× 2.887) × ⎜ ⎟+ ( 0.14× 36.887)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

= 0.007 A(0.001 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 46 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 1.732× 2.749) × ⎜ ⎟+ ( 0.14× 36.887)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

= 0.224 A(0.045 pu)<br />

165


ที่แท็ป<br />

-5% ของ Generator transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 46 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 1.732× 3.039) × ⎜ ⎟+ ( 0.14× 36.887)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

=−0.232 A( −0.046 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสไบแอส<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

46 ⎞⎞⎤<br />

= ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 1.732× 2.887) × ⎟+ ⎜(<br />

0.14× 36.887 ) × ⎟ ⎥/<br />

2<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝<br />

⎠⎠⎦<br />

= 5.013 A(1.003 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

I<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

46 ⎞⎞⎤ = ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 1.732× 2.749) × ⎟+ ⎜(<br />

0.14× 36.887 ) × ⎟⎠ ⎥/<br />

2<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝<br />

⎠⎦<br />

= 4.905 A(0.981 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

-5% ของ Generator transformer<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

46 ⎞⎞⎤<br />

= ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 1.732× 3.039) × ⎟+ ⎜(<br />

0.14× 36.887 ) × ⎟ ⎥/<br />

2<br />

460 + 46 460 + 46<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝<br />

⎠⎠⎦<br />

= 5.133 A(1.027 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสทํางาน I = ( I > ) + (20% Slope) × I<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

ที<br />

op S bias<br />

I = 1.0A+ 0.2× 5.013A= 2.003A<br />

op<br />

Iop<br />

= 1.0A+ 0.2× 4.905A= 1.981A<br />

่แท็ป -5% ของ Generator transformer I = 1.0A+ 0.2× 5.133A= 2.027A<br />

op<br />

166


การคํานวณหาคากระแสผลตางแบบฉับพลัน<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานโดยกระแสพุงเขาของ<br />

Generator transformer (3.51pu) และUnit<br />

transformer (2.76pu)<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานจากกระแสลัดวงจรจากภายนอกเขตปองกันเมื่อ<br />

อิมพีแดนซของ Generator transformer =14 % ที่<br />

460 MVA ∴ 14 %<br />

อิมพีแดนซของ Generator = 24% ที่<br />

446 MVA ∴24 × 460 MVA/ 446 MVA = 24.8%<br />

อิมพีแดนซของ Unit transformer = 10% ที่<br />

23 MVA ∴10 × 460 MVA/ 23 MVA = 200%<br />

∴คาอิมพีแดนซรวม = (24.8% × 200% ) / ( 24.8% + 200% ) + 14% = 36.06%<br />

∴คากระแสลัดวงจร = 460MVA/(<br />

3 × 230 kV ) × 100 / 36.06× 5/ 2000 = 8.006A<br />

∴คากระแสรีเลย = 460MVA/(<br />

3 × 230 kV ) × 5/ 2000 = 2.887 A(1.0 pu)<br />

∴ 8.006 / 2.887 = 2.77 pu<br />

เนื่องจากกระแสพุงเขาของ<br />

Generator transformerมีคาสูงที่<br />

3.51pu นําไปคูณดวยชวงเผื่อ(Margin)<br />

1.5 เทา ดังนั้นจะไดเทากับ<br />

3.51pu× 1.5 = 5.3pu<br />

∴เลือกคากระแสผลตางแบบฉับพลัน (Id>>) = 6.0 pu<br />

สรุปการเซตติ้งการปองกันผลตาง(87MT)<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตาง(Id>)<br />

0.2 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.1 – 0.5 pu , ขั้นละ<br />

0.1 pu )<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตางแบบฉับพลัน(Id>>)<br />

6.0 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 5 – 20 pu ,<br />

ขั้นละ<br />

0.5 pu )<br />

อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ), I S = 1.732 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

1 ( LV1), I t = 0.136 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

2 ( LV 2), I p = 1.355 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

่<br />

่<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงสูง ( HV ), IS = Yd1(<br />

− 30deg)<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

1 ( LV1), It = Yy0(0deg)<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

2 ( LV 2), I p = Yy0(0deg)<br />

167


ภาพที่<br />

119 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87MT)<br />

9.4.2 การปองกันผลตาง(87UT) : รีเลยรุน<br />

KBCH 130(ALSTOM)<br />

Generator<br />

ภาพที่<br />

120 การปองกันผลตาง(87UT)<br />

Generator Transformer<br />

Unit Transformer<br />

46 MVA<br />

Dd0d0<br />

1500/5A<br />

3000/5A<br />

3000/5A<br />

I p (HV)<br />

87<br />

UT<br />

I t (LV1)<br />

I S (LV2)<br />

168


การคํานวณหาคากระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

หมอแปลง Unit transformer 46 MVA 24 kV / 6.9 kV<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันสูงของ Unit transformer 1500/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันต่ําของ<br />

Unit transformer 3000/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันต่ําของ<br />

Unit transformer 3000/5A<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer<br />

ที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer<br />

ที่แท็ป<br />

+15% ของ Unit transformer<br />

การคํานวณแกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแสใหถูกตอง<br />

I p =<br />

46MVA 5<br />

× = 3.689A<br />

3 × 24.0kV<br />

1500<br />

IS = It =<br />

46MVA 5<br />

× = 6.415A<br />

3× 6.9kV<br />

3000<br />

46MVA 5<br />

IS = It = × = 5.465A<br />

3× 8.1kV<br />

3000<br />

46MVA 5<br />

IS = It = × = 7.377A<br />

3× 6.0kV<br />

3000<br />

่<br />

่<br />

อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ), I p = 5.0 A/ 3.689A = 1.36 ∴1.36(<br />

Setting)<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

1 ( LV1), Is = 5.0 A/ 6.415A = 0.779 ∴0.78(<br />

Setting)<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

2 ( LV 2), It = 5.0 A/ 6.415A = 0.779 ∴0.78(<br />

Setting)<br />

การคํานวณหาคากระแสผลตาง<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 0.78× 6.415) × ⎜ ⎟+ ( 0.78× 6.415)<br />

× ⎜ ⎟<br />

23+ 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

= 0.013 A(0.003 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 0.78× 5.465) × ⎜ ⎟+ ( 0.78× 5.465)<br />

× ⎜ ⎟<br />

23+ 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

= 0.754 A(0.151 pu)<br />

169


ที่แท็ป<br />

+15% ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

= ( 1.36× 3.689) − ⎜( 0.78× 7.377) × ⎜ ⎟+ ( 0.78× 7.377)<br />

× ⎜ ⎟<br />

23+ 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎝ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠<br />

=−0.737 A( −0.147 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสไบแอส<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞⎤<br />

= ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 0.78× 6.415) × ⎟+ ⎜( 0.78× 6.415 ) × ⎟ ⎥/<br />

2<br />

23 + 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠⎦<br />

= 5.010 A(1.002 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer<br />

I<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞⎤<br />

= ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 0.78× 5.465) × ⎟+ ⎜( 0.78× 5.465 ) × ⎟ ⎥/<br />

2<br />

23+ 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠⎦<br />

= 4.640 A(0.928 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

+15% ของ Unit transformer<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 23 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞⎤<br />

= ⎢( 1.36× 3.689) + ⎜⎜( 0.78× 7.377) × ⎟+ ⎜( 0.78× 7.377 ) × ⎟ ⎥/<br />

2<br />

23+ 23 23+ 23<br />

⎟<br />

⎣ ⎝⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠⎦<br />

= 5.386 A(1.077 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสทํางาน Iop = ( IS > ) + (20% Slope) × Ibias<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer Iop = 1.0A+ 0.2× 5.010A= 2.002A<br />

ที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer Iop = 1.0A+ 0.2× 4.640A= 1.928A<br />

ที่แท็ป<br />

+15% ของ Unit transformer I = 1.0A+ 0.2× 5.386A= 2.077A<br />

op<br />

การคํานวณหาคากระแสผลตางแบบฉับพลัน<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานโดยกระแสพุงเขาของ<br />

Unit transformer (2.76pu)<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานจากกระแสลัดวงจรจากภายนอกเขตปองกันเมื่อ<br />

อิมพีแดนซของGenerator transformer =14 % ที่<br />

460 MVA ∴14 % * 23 MVA/460 MVA=0.7%<br />

170


่<br />

อิมพีแดนซของ Generator = 24% ที<br />

อิมพีแดนซของ Unit transformer = 10% ที 23 MVA ∴10 %<br />

∴คาอิมพีแดนซรวม = (<br />

∴คากระแสลัดวงจร = 23<br />

) ( )<br />

่ 446 MVA ∴24 × 23 MVA/ 446 MVA = 1.24%<br />

0.7% × 1.24% / 0.7% + 1.24% + 10% = 10.45%<br />

MVA/( 3 × 6.9 kV ) × 100 /10.45× 5/ 3000 = 30.69A<br />

∴คากระแสรีเลย = 46MVA/(<br />

3 × 6.9 kV ) × 5/ 3000 = 6.415 A(1.0 pu)<br />

∴ 30.69 / 6.415 = 4.78pu<br />

∴เลือกคากระแสผลตางแบบฉับพลัน (Id>>) = 4.78pu × 1.5( Margin) = 7.17 ≅8pu<br />

สรุปการเซตติ้งการปองกันแบบวัดคาผลตาง(87UT)<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตาง(Id>)<br />

0.2 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.1 – 0.5 pu , ขั้นละ<br />

0.1 pu )<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตางแบบฉับพลัน(Id>>)<br />

8.0 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 5 – 20 pu ,<br />

ขั้นละ<br />

0.5 pu )<br />

อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ) , I p = 1.36<br />

(ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

1 ( LV1),<br />

I s = 0.78 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

2 ( LV 2), I t = 0.78 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

่<br />

่<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงสูง ( HV ), I p = Yy0(0deg)<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

1 ( LV1), Is = Yy0(0deg)<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

2 ( LV 2), It = Yy0(0deg)<br />

ภาพที่<br />

121 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87UT)<br />

171


9.4.3 การปองกันแบบผลตาง(87GT) : รีเลยรุน<br />

KBCH 140(ALSTOM)<br />

I p (LV2)<br />

87GT<br />

I S (HV)<br />

I t1 (LV1)<br />

I t2 (LV1)<br />

Generator<br />

ภาพที่<br />

122 การปองกันผลตาง(87GT)<br />

2000/5A<br />

15000/5A<br />

Generator Transformer<br />

3000/5A<br />

การคํานวณหาคากระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

หมอแปลง Generator transformer 460 MVA 230kV / 24 kV<br />

หมอแปลง Unit transformer 46 MVA 24 kV / 6.9 kV<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันสูงของ Generator transformer 2000/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานนิวตรอลของ Generator 15000/5A<br />

หมอแปลงกระแสดานแรงดันสูงของ Unit transformer 3000/5A<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

460MVA 5<br />

IS = × = 2.887A<br />

3 × 230kV<br />

2000<br />

I<br />

S<br />

460MVA 5<br />

= × = 2.749A<br />

3 × 241.5kV<br />

2000<br />

Unit Transformer<br />

3000/5A<br />

172


ที่แท็ป<br />

-5% ของ Generator transformer<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer<br />

ที่แท็ป<br />

15% ของ Unit transformer<br />

ที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer<br />

การคํานวณแกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแสใหถูกตอง<br />

460MVA 5<br />

IS = × = 3.039A<br />

3 × 218.5kV<br />

2000<br />

460MVA 5<br />

I p = × = 3.689A<br />

3 × 24.0kV<br />

15000<br />

460MVA 5<br />

It = × = 64.152A<br />

3× 6.9kV<br />

3000<br />

460MVA 5<br />

It = × = 73.775A<br />

3× 6.0kV<br />

3000<br />

460MVA 5<br />

It = × = 54.648A<br />

3× 8.1kV<br />

3000<br />

อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ), I = 5.0 A/ 2.887A = 1.732 ∴1.73(<br />

Setting)<br />

่ อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

1 t1<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

t 2<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที<br />

p<br />

S<br />

่<br />

่<br />

( LV1), I = 5.0 A/ 64.152A = 0.078 ∴0.08(<br />

Setting)<br />

1 ( LV1), I = 5.0 A/ 64.152A = 0.078 ∴0.08(<br />

Setting)<br />

2 ( LV 2), I = 5.0 A/ 3.689A = 1.355 ∴1.36(<br />

Setting)<br />

การคํานวณหาคากระแสผลตาง<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

0% ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

⎜( 1.732× 2.887) × ⎜ ⎟+ ( 0.08× 64.152)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 46 460 46<br />

⎟<br />

⎝ + ⎠ ⎝ + ⎠<br />

= ( 1.36× 3.689)<br />

−⎜ ⎟<br />

⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟<br />

⎜+ ( 0.08× 64.152)<br />

× ⎜ ⎟<br />

⎟<br />

⎝ ⎝460 + 46 ⎠<br />

⎠<br />

=<br />

0.010 A(0.002 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

-15% ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

⎜( 1.732× 2.749) × ⎜ ⎟+ ( 0.08× 54.648)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 46 460 46<br />

⎟<br />

⎝ + ⎠ ⎝ + ⎠<br />

= ( 1.36× 3.689)<br />

−⎜ ⎟<br />

⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟<br />

⎜+ ( 0.08× 54.648)<br />

× ⎜ ⎟<br />

⎟<br />

⎝ ⎝460 + 46 ⎠<br />

⎠<br />

= 0.296 A(0.059 pu)<br />

173


ที่แท็ป<br />

–5 % ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

15 % ของ Unit transformer<br />

I<br />

diff<br />

⎛ ⎛ 460 ⎞ ⎛ 23 ⎞⎞<br />

⎜( 1.732× 3.039) × ⎜ ⎟+ ( 0.08× 73.775)<br />

× ⎜ ⎟<br />

460 46 460 46<br />

⎟<br />

⎝ + ⎠ ⎝ + ⎠<br />

= ( 1.36× 3.689)<br />

−⎜ ⎟<br />

⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟<br />

⎜+ ( 0.08× 73.775)<br />

× ⎜ ⎟<br />

⎟<br />

⎝ ⎝460 + 46 ⎠<br />

⎠<br />

=−0.299 A( −0.060 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสไบแอส<br />

ที่แท็ป<br />

0% ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

0 % ของ Unit transformer<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

23 ⎞⎞⎤ ⎢ ⎜⎜( 1.732× 2.887) × ⎟+ ⎜(<br />

0.08× 64.152)<br />

× ⎟⎠<br />

460 46 460 46<br />

⎟⎥<br />

⎝ + ⎠ ⎝<br />

+<br />

= ⎢( 1.36× 3.689 ) + ⎜ ⎟⎥/<br />

2<br />

⎢ ⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟⎥<br />

⎢ ⎜+ ⎜( 0.08× 64.152)<br />

× ⎟<br />

⎟⎥<br />

⎢⎣ ⎝ ⎝ 460 + 46 ⎠<br />

⎠⎥⎦<br />

= 5.012 A(1.002 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

-15 % ของ Unit transformer<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

23 ⎞⎞⎤ ⎢ ⎜⎜( 1.732× 2.749) × ⎟+ ⎜(<br />

0.08× 54.648)<br />

× ⎟⎠<br />

460 46 460 46<br />

⎟⎥<br />

⎝ + ⎠ ⎝<br />

+<br />

= ⎢( 1.36× 3.689 ) + ⎜ ⎟⎥/<br />

2<br />

⎢ ⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟⎥<br />

⎢ ⎜+ ⎜( 0.08× 54.648)<br />

× ⎟<br />

⎟⎥<br />

⎢⎣ ⎝ ⎝ 460 + 46 ⎠<br />

⎠⎥⎦<br />

= 4.869 A(0.974 pu)<br />

ที่แท็ป<br />

-5% ของ Generator transformer และที่แท็ป<br />

15 % ของ Unit transformer<br />

I<br />

bias<br />

⎡ ⎛⎛ 460 ⎞ ⎛<br />

23 ⎞⎞⎤ ⎢ ⎜⎜( 1.732× 3.039) × ⎟+ ⎜(<br />

0.08× 73.775)<br />

× ⎟⎠<br />

460 46 460 46<br />

⎟⎥<br />

⎝ + ⎠ ⎝<br />

+<br />

= ⎢( 1.36× 3.689 ) + ⎜ ⎟⎥/<br />

2<br />

⎢ ⎜ ⎛ 23 ⎞<br />

⎟⎥<br />

⎢ ⎜+ ⎜( 0.08× 73.775)<br />

× ⎟<br />

⎟⎥<br />

⎢⎣ ⎝ ⎝ 460 + 46 ⎠<br />

⎠⎥⎦<br />

= 5.167 A(1.033 pu)<br />

174


การคํานวณหาคากระแสทํางาน I = ( I > ) + (20% Slope) × I<br />

ที<br />

และที่แท็ป<br />

0 % ของ Unit transformer<br />

op S bias<br />

่แท็ป 0% ของ Generator transformer I = 1.0A+ 0.2× 5.012A= 2.002A<br />

ที่แท็ป<br />

5% ของ Generator transformer<br />

และที่แท็ป<br />

-15 % ของ Unit transformer<br />

ที<br />

และที่แท็ป<br />

15 % ของ Unit transformer<br />

op<br />

Iop<br />

= 1.0A+ 0.2× 4.869A= 1.974A<br />

่แท็ป -5% ของ Generator transformer I = 1.0A+ 0.2× 5.167A= 2.033A<br />

op<br />

การคํานวณหาคากระแสผลตางแบบฉับพลัน<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานโดยกระแสพุงเขาของ<br />

Generator transformer (3.51pu)<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานจากกระแสลัดวงจรจากภายนอกเขตปองกันเมื่อ<br />

อิมพีแดนซของ Generator transformer =14 % ที่<br />

460 MVA ∴ 14 %<br />

อิมพีแดนซของ Generator = 24% ที่<br />

446 MVA ∴24 × 460 MVA/ 446 MVA = 24.8%<br />

อิมพีแดนซของ Unit transformer = 10% ที่<br />

23 MVA ∴10 × 460 MVA/ 23 MVA = 200%<br />

∴คาอิมพีแดนซรวม = (24.8% × 200% ) / ( 24.8% + 200% ) + 14% = 36.06%<br />

∴คากระแสลัดวงจร = 460MVA/(<br />

3 × 230 kV ) × 100 / 36.06× 5/ 2000 = 8.006A<br />

∴คากระแสรีเลย = 460MVA/(<br />

3 × 230 kV ) × 5/ 2000 = 2.887 A(1.0 pu)<br />

∴ 8.006 / 2.887 = 2.77 pu<br />

เนื่องจากกระแสพุงเขาของ<br />

Generator transformerมีคาสูงที่<br />

3.51pu นําไปคูณดวยชวงเผื่อ(Margin)<br />

1.5 เทา ดังนั้นจะไดเทากับ<br />

3.51pu× 1.5 = 5.3pu<br />

∴เลือกคากระแสผลตางแบบฉับพลัน (Id>>) = 6.0 pu<br />

สรุปการเซตติ้งการปองกันแบบวัดคาผลตาง(87GT)<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตาง(Id>)<br />

0.2 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.1 – 0.5 pu , ขั้นละ<br />

0.1 pu )<br />

คาเริ่มตนทํางานของกระแสผลตางแบบฉับพลัน(Id>>)<br />

6.0 pu (ชวงเซตติ้ง<br />

: 5 – 20 pu ,<br />

ขั้นละ<br />

0.5 pu )<br />

175


อัตราสวนดานแรงสูง ( HV ), I S = 1.732<br />

(ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

1 ( LV1), It1 = ( LV1), It2<br />

= 0.08 (ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

อัตราสวนดานแรงต่ําที่<br />

2 ( LV 2), I p = 1.36<br />

(ชวงเซตติ้ง<br />

: 0.05 – 2 , ขั้นละ<br />

0.01 )<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงสูง ( HV ), IS = Yd1(<br />

− 30deg)<br />

่ การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

1 t t2<br />

การแกไขเวคเตอรดานแรงต่ําที<br />

LV I p Yy<br />

( LV1), I = ( LV1), I = Yy0(0deg)<br />

่ 2 ( 2), = 0(0deg)<br />

ภาพที่<br />

123 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันผลตาง(87GT)<br />

176


9.4.4 การปองกันการลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(51NGT)<br />

Generator Transformer<br />

Generator<br />

TO 230 kV SYSTEM<br />

2000/5A<br />

Unit Transformer<br />

51<br />

NGT<br />

ภาพที่<br />

124 การปองกันการลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(51NGT)<br />

ขั้นตอนการเซตติ้ง<br />

รีเลยจะตรวจจับการลัดวงจรลงดินในระบบ 230 kV โดยที่รีเลยจะตรวจจับกระแสฟอลตที่มีคาสูง<br />

มากกวา 30% ของกระแสลัดวงจรลงดินของหมอแปลงไฟฟาดานแรงดันสูง เมื่ออัตราสวนหมอ<br />

แปลงกระแส 2000/5A และคาอิมพีแดนซของหมอแปลง 14 %<br />

460MVA 100 5<br />

IO = × × = 20.62A<br />

3 × 232kV<br />

14 2000<br />

30<br />

( IO > ) = 20.62A× = 6.19A<br />

100<br />

เลือกคากระแสเริ่มตอบสนอง(Io>)<br />

= 6.20 A<br />

เลือกคาเวลาทํางาน( to>) = 1.5 วินาที (แบบเวลาในการทํางานคงที : Difinite Time)<br />

เนื่องจากรีเลยจะตองทําการจัดลําดับเวลาในการทํางานรวมกับรีเลยระยะทางโซนที่<br />

3 ของระบบ<br />

สายสงซึ่งมีคาเวลาทํางานที่<br />

1 วินาที ดังนั้นจึงเลือกคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกินที่<br />

1.5 วินาที<br />

(ชวงของคากระแสที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.4 –16A แบงเปนขั้นละ<br />

0.05 A)<br />

(ชวงของคาเวลาที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.0 –100 วินาที แบงเปนขั้นละ<br />

0.01 วินาที)<br />

177


ภาพที่<br />

125 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(51NGT)<br />

9.4.5 การปองกันกระแสเกิน(50/51UT) : รีเลยรุน<br />

KCGG 142(ALSTOM)<br />

Generator<br />

TO 230 kV SYSTEM<br />

Generator Transformer<br />

Unit Transformer<br />

1500/5A<br />

ภาพที่<br />

126 การปองกันการลัดวงจรลงดินโดยใชรีเลยกระแสเกิน(50/51UT)<br />

50/51<br />

UT<br />

178


เงื่อนไขการเซตติ้ง<br />

รีเลยตรวจจับการลัดวงจรในตัวหมอแปลงและรีเลยจะตองไมทํางานในสภาวะ<br />

ดังตอไปนี้<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานเนื่องจากกระแสที่พิกัด<br />

- รีเลยจะตองทํางานเนื่องจากกระแสลัดวงจร<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานเนื่องจากกระแสพุงสนามแมเหล็กของหมอแปลง<br />

- รีเลยจะตองไมทํางานเนื่องจากคากระแสสตารทสูงสุดของมอเตอรที่ตออยูกับสวิทซเกียรที่รับไฟ<br />

จากหมอแปลง<br />

การคํานวณหาคากระแสลัดวงจรดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

อิมพีแดนซของGenerator transformer =14 % ที่<br />

460 MVA ∴14 % * 46 MVA/460 MVA=1.4%<br />

อิมพีแดนซของ Generator = 24% ที่<br />

446 MVA ∴24 × 46 MVA/ 446 MVA = 2.48%<br />

อิมพีแดนซของ Unit transformer = 20% ที่<br />

46 MVA ∴20 %<br />

กระแสลัดวงจรสามเฟส<br />

I<br />

S 3<br />

⎛ ⎞<br />

46MVA ⎜<br />

100<br />

⎟<br />

5<br />

= × ⎜ ⎟×<br />

= 17.7 A(4.8 pu)<br />

3× 24kV<br />

⎜⎛1.4% × 2.48% ⎞ 1500<br />

20%<br />

⎟<br />

⎜⎜ ⎟+<br />

1.4% + 2.48%<br />

⎟<br />

⎝⎝ ⎠ ⎠<br />

กระแสลัดวงจรสองเฟส<br />

I<br />

3<br />

= I × = 15.3(4.15 pu)<br />

2<br />

S2 S3<br />

∴ด ังนั้นคาเซตติ<br />

กระแสของรีเลยที่พิกัด<br />

้งของกระแส (I>>) = 15.3×<br />

2 = 30.6 A(8.3 pu)<br />

46MVA 5<br />

I = × = 3.69 A(1 pu)<br />

3× 24kV<br />

1500<br />

∴ดังนั้นคาเซตติ้งของกระแส<br />

(I>) =<br />

3.69×<br />

1.3 = 4.8 A(1.3 pu)<br />

การคํานวณหาคากระแสขณะสตารทมอเตอร<br />

คากระแสของมอเตอรตัวใหญสุด(Boiler feed pump) :<br />

กระแสที่พิกัด<br />

544 A<br />

กระแสขณะสตารท 3606 A<br />

เวลาในการสตารท 2 S.<br />

179


การคํานวณหาคากระแสดานปฐมภูมิของหมอแปลง<br />

I<br />

M, pri<br />

6.9 5<br />

= ( 3606 − 544) × × = 2.93A<br />

24 1500<br />

การคํานวณหาคากระแสอินพุทของรีเลย<br />

( )<br />

Irelay<br />

= 3.69 + 2.93 = 6.62 A(1.79 pu)<br />

∴จากผลการคํานวณกระแสขณะสตารทมอเตอรมีคาเทากับ 6.62 A (1.79 pu) ในเวลา 2 วินาที<br />

ดังนั้นรีเลยจะไมเกิดการทํางานผิดพลาด<br />

สรุปการเซตติ้งของรีเลยกระแสเกิน(50/51UT)<br />

คาเซตติ้งของกระแส<br />

(I>) = 4.8 A (1.3 pu)<br />

คา TMS = 0.6<br />

เลือกใชกราฟเสนโคง VI30×DT<br />

คาเซตติ้งของกระแส<br />

(I>>) = 30.6 A (8.3 pu)<br />

คาเวลาทํางาน (t>>) = 0.0 วินาที<br />

(ชวงของคากระแส (I>) ที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.4 –16A แบงเปนขั้นละ<br />

0.05 A)<br />

(ชวงของคากระแส (I>>) ที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.4 –160A แบงเปนขั้นละ<br />

0.05 A)<br />

(ชวงของคาเวลาที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.0 –100 วินาที แบงเปนขั้นละ<br />

0.01 วินาที)<br />

(ชวงของคาTMSที่ใชเซตติ้งคือ<br />

0.025 –1.5 แบงเปนขั้นละ<br />

0.025 )<br />

ภาพที่<br />

127 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันกระแสเกิน(50/51UT)<br />

180


9.4.6 การปองกันแรงดันตอความถี่หรือปองกันการเกิดฟลักซสูงเกิน(59/81G)<br />

รีเลยจะปองกันแกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟาและเครื่องกําเนิดไฟฟาที่อาจเกิด<br />

ความรอนสูงเกินเนื่องจากเกิดฟลักซสูงเกิน<br />

ขั้นตอนการเซตติ้ง<br />

อัตราสวนหมอแปลงแรงดัน 24200/110 โวลต<br />

ดังนั้นแรงดันดานทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน<br />

= 24000 V ×110 /24200 = 109.1 V<br />

แรงดัน/ความถี่<br />

= 109.1 V / 50 Hz = 2.182 V/Hz (1pu)<br />

∴คาเซตติ้งสําหรับสัญญาณเตือน<br />

= 2.182 V/Hz × 1.05 pu = 2.29 V/Hz ที่<br />

0.1 วินาที<br />

∴คาเซตติ้งสําหรับทริป<br />

= 2.182 V/Hz × 1.05 pu = 2.29 V/Hz ที่<br />

30 วินาที<br />

∴คาเซตติ้งสําหรับทริป<br />

= 2.182 V/Hz × 1.18 pu = 2.57 V/Hz ที่<br />

2.0 วินาที<br />

สรุปการเซตติ้งรีเลยแรงดันตอความถี่<br />

กราฟคุณลักษณะของรีเลยแรงดัน/ความถี่<br />

= Definite Time<br />

คาเซตติ้งแรงดัน/ความถี่สําหรับทริป<br />

= 2.57 V/Hz (1.18 pu)<br />

คาเซตติ้งเวลาในการทริป<br />

= 2.0 วินาที<br />

คาเซตติ้งแรงดัน/ความถี่สําหรับสัญญาณเตือน<br />

= 2.29 V/Hz (1.05 pu)<br />

คาเซตติ้งเวลาในสัญญาณเตือน<br />

= 0.1 วินาที<br />

คาเซตติ้งเวลาชวย=<br />

29.9 วินาที (ทริปที่เวลา<br />

= 0.1+29.9 = 30 วินาที)<br />

ภาพที่<br />

128 กราฟแสดงคุณลักษณะการปองกันแรงดันตอความถี่<br />

181


9.5 กรณีศึกษาที่<br />

5 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี<br />

1200/5A<br />

12000/5A<br />

1000/5A<br />

SR745<br />

87T<br />

51T<br />

51TN<br />

ภาพที่<br />

129 การปองกันหมอแปลงไฟฟาของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี<br />

ขอมูลหมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

กระแสลัดวงจรสามเฟสดานสายสงแรงดัน 230 kV = 15604 A<br />

กระแสลัดวงจรจากเฟสลงดิน = 19868 A<br />

อิมพีแดนซหมอแปลง = 8.33% ที่พิกัด<br />

161 MVA<br />

พิกัดแรงดันไฟฟาของหมอแปลง = 241.5/18 kV :(สตาร)/ (เดลตา)<br />

ขอมูลรีเลยและหมอแปลงกระแส<br />

บริษัทผูผลิต<br />

: General Electric – Multilin<br />

รีเลยรุน<br />

: SR745W2P5G5HI<br />

ชวงทํางานของรีเลย : ฟงกชันวัดตคาผลตาง 0.05-1.00 * 5A , 0.01(step)<br />

: ฟงกชันกระแสเกินที่เฟสและการลัดวงจรลงดิน<br />

0.05-5.00 * 5A , 0.01(step)<br />

182


อัตราสวนหมอแปลงกระแส(เฟส)ดานแรงสูง 1200/5 (ขดลวดชุดที่<br />

1)<br />

อัตราสวนหมอแปลงกระแส(นิวตรอล)ดานแรงสูง 1000/5<br />

อัตราสวนหมอแปลงกระแส(เฟส)ดานนิวตรอลของเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

12000/5 (ขดลวดชุดที่<br />

2)<br />

การคํานวณคาเซตติ้งของการปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T)<br />

หลักการเซตติ้งฟงกชันของรีเลย<br />

87T จะมีฟงกชันการแกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแสที่ไม<br />

ตรงกันและคากระแสผลตาง(IDIFF) = (กระแสของขดลวดชุดที่<br />

1) – (กระแสของขดลวดชุดที่<br />

2)<br />

นอกจากนี้ยังมีฟงกชันการวัดคาผลตางฉับพลันซึ่งจะทํางานสําหรับฟอลตที่เกิดภายในเขตปองกัน<br />

และมีการเซตติ้งของฮารมอนิคที่<br />

2 เพื่อปองกันการทํางานที่ผิดพลาด<br />

I CT<br />

I CT<br />

I1 OA<br />

= MVA /( 3 × HV ) =<br />

= MVA /( 3 × LV ) =<br />

I 2<br />

OA<br />

1<br />

2<br />

=<br />

=<br />

384 . 9<br />

5163 . 9<br />

× 5<br />

× 5<br />

I DIFF = I CT 1 + I CT<br />

/ 1200<br />

2<br />

/ 1200<br />

=<br />

=<br />

384.<br />

9<br />

5163 . 9<br />

1.<br />

604<br />

=<br />

2.<br />

152<br />

2.<br />

152<br />

−1.<br />

604 =<br />

คาตัวคูณของพิกัดหมอแปลง = 0.548/5A = 0.11<br />

ดังนั้นจะไดคาเริ่มตอบสนองของเปอรเซนตคาผลตาง<br />

= 0.11<br />

คาเริ่มตอบสนองของคาผลตางแบบฉับพลัน<br />

= 8.0<br />

8.0In<br />

1.0In<br />

I-diff<br />

0.11In<br />

1.0In<br />

Instantaneous Diff = 8.0In<br />

Slope 1 = 25%<br />

Kneepoint = 6<br />

6.0In<br />

0.<br />

548<br />

Slope 2 = 50%<br />

ภาพที่<br />

130 กราฟคุณลักษณะของรีเลยปองกันผลตาง 87T (SR745)<br />

A<br />

I-restraint<br />

183


การคํานวนคาเซตติ้งของการปองกันกระแสเกินที่เฟส(51T)<br />

หลักการเซตติ้งฟงกชันของรีเลย<br />

51T จะใชกราฟคุณลักษณะ B (BS142) ของมาตรฐาน IEC โดยทํา<br />

การเซตคาเริ่มตอบสนอง(Pickup)ที่<br />

200 % ของพิกัดหมอแปลงที่มีการระบายความรอนโดยอากาศ<br />

ธรรมชาติ(OA) และเซตคา Time dial ใหมีลําดับการปองกันสอดคลองกับกราฟคุณลัษณะขีด<br />

ความสามารถทางความรอนและทางกลซึ่งตรงตามมาตรฐาน<br />

IEEE C57.109-1993 ซึ่งจะไดผลการ<br />

เซตติ้งดังนี้<br />

คาเริ่มตอบสนองของการปองกันกระแสเกิน<br />

= 384.9 A* 200% = 769.8 A<br />

กระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส = 769.8*(5/1200) = 3.2 A<br />

คาตัวคูณของพิกัดหมอแปลง = 3.2/5A = 0.64<br />

คา Time dial ที่บริษัทผูผลิตแนะนํา<br />

= 0.39<br />

ภาพที่<br />

131 กราฟแสดงการปองกันกระแสเกินที่เฟส(51T)<br />

184


การคํานวนคาเซตติ้งของการปองกันกระแสเกินที่จุดตอลงดิน(51TN)<br />

หลักการเซตติ้งฟงกชันของรีเลย<br />

51TN จะใชกราฟคุณลักษณะ B (BS142) ของมาตรฐาน IEC โดย<br />

ทําการเซตคาเริ่มตอบสนอง(Pickup)ที่<br />

78 % ของคาเริ่มตอบสนองของการปองกันกระแสเกินที่เฟส<br />

และเซตคา Time dial ใหมีลําดับการปองกันสอดคลองกับกราฟคุณลัษณะขีดความสามารถทาง<br />

ความรอนและทางกลซึ่งตรงตามมาตรฐาน<br />

IEEE C57.109-1993 ซึ่งจะไดผลการเซตติ้งดังนี้<br />

คาเริ่มตอบสนองของการปองกันกระแสเกิน<br />

= 769.8 A* 78% = 600 A<br />

กระแสดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส = 600*(5/1000) = 3.0 A<br />

คาตัวคูณของพิกัดหมอแปลง = 3.0/5A = 0.60<br />

คา Time dial ที่บริษัทผูผลิตแนะนํา<br />

= 0.50<br />

ภาพที่<br />

132 กราฟแสดงการปองกันกระแสเกินที่จุดตอลงดิน(51TN)<br />

185


สรุปการเซตติ้งการปองกันหมอแปลงไฟฟาของโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี<br />

การปองกันผลตาง เนื่องจากรีเลย<br />

SR 745 เปนรีเลยดิจิตอลที่มีการปองกันวัดคาผลตางแบบ<br />

2 เสน<br />

โคงความชันและมีพารามิเตอรดังนี้<br />

คากระแสเริ่มตอบสนองต่ําสุด(Percent<br />

differential pickup) = 0.11<br />

เสนโคงความชันที่<br />

1(Percent differential slope1) = 25 %<br />

จุดเปลี่ยนความชัน(Percent<br />

differential kneepoint) = 6.0 In<br />

เสนโคงความชันที่<br />

2 (Percent differential slope2) = 50 %<br />

ฟงกชันฮารมอนิกที่<br />

2 (2nd Harmonic inhibit level) = 20.0 %ของความถี่มูลฐาน<br />

การปองกันแบบวัดคาผลตางแบบฉับพลัน(Instantaneous differential pickup) = 8.0<br />

การปองกันกระแสเกิน(เฟส)<br />

คาตัวคูณของพิกัดหมอแปลง (Phase time O/C pickup) = 0.64<br />

เลือกเสนโคง(Phase time O/C shape) = IEC curve B<br />

คา Time dial (Phase time O/C multiplier) = 0.39<br />

การปองกันกระแสเกินที<br />

่จุดตอลงดิน<br />

คาตัวคูณของพิกัดหมอแปลง(Ground time O/C pickup) = 0.60<br />

เลือกเสนโคง(Ground time O/C shape) = IEC curve B<br />

คา Time dial (Ground time O/C multiplier) = 0.50<br />

186


10. การปองกันหมอแปลงระเบิดและเกิดไฟไหม<br />

ระบบปองกันหมอแปลงระเบิดและเกิดไฟไหมนี้เปนการปองกันรูปแบบใหมที่นํามาใชกับ<br />

หมอแปลงฉนวนน้ํามันซึ่งชวยปองกันและลดความเสียหายของชิ้นสวนหลักเชน<br />

แกนเหล็ก ขดลวด<br />

หรือตัวถังของหมอแปลงเปนตน แตระบบปองกันนี้ยังไมใชการปองกันหลักที่จําเปนขึ้นอยูกับ<br />

ความตองการของผูใชงาน(Customer<br />

or Owner)<br />

10.1 สาเหตุของการระเบิดและเกิดไฟไหม<br />

สาเหตุเปนผลสืบเนื่องมาจากการเบรกดาวนของฉนวนน้ํามันภายในตัวถังหมอแปลง<br />

ซึ่งอาจจะเกิดจากภาวะโหลดเกิน<br />

แรงดันเสิรจที่เกิดจากฟาผาหรือจากการสวิทชิ่ง<br />

และความเสื่อม<br />

สภาพของฉนวน เมื่อน้ํามันในหมอแปลงรอนจัดน้ํามันหมอแปลงจะเดือดและแตกตัวเปนกาชที่ติด<br />

ไฟประเภท ไฮโดรเจน บีเทน อาซีทีลิน พรอมกับมีแรงดันภายในตัวถังหมอแปลง เมื่อแรงดันสูงขึ้น<br />

อยางรวดเร็วแลวทําใหหมอแปลงระเบิดและจะเกิดไฟไหมตามมาโดยสามารถสรุปขั้นตอนการ<br />

ระเบิดไดดังนี้<br />

- เกิดการลัดวงจรภายในหมอแปลง(A)<br />

- อุณหภูมิของฉนวนน้ํามันภายในตัวถังหมอแปลงสูงขึ้นอยางรวดเร็ว(B)<br />

- น้ํามันภายในตัวถังรอนจัดทําใหฉนวนน้ํามันแตกตัวเกิดเปนกาชที่ติดไฟ(C)<br />

- เกิดความดันสูงขึ้นภายในตัวถังอยางรวดเร็ว(D)<br />

- เกิดการระเบิดในที่สุดโดยใชเวลารวมประมาณ<br />

0.1 วินาที<br />

ภาพที่<br />

133 ขั้นตอนการระเบิดของหมอแปลง<br />

187


10.2 ชุดอุปกรณระบบปองกันการระเบิดและเกิดไฟไหม<br />

ชุดอุปกรณระบบปองกันนี้สามารถปองกันการระเบิดของหมอแปลงในเวลา<br />

ประมาณ 0.04 วินาที โดยที่ชุดอุปกรณปองกันจะยุติขบวนการระเบิดที่ตําแหนง<br />

B ดังแสดงในภาพ<br />

ที่<br />

133 นอกจากนี้ในภาพที่<br />

134 แสดงชุดอุปกรณของระบบปองกันที่แบงออกเปนหลายสวนดังนี้<br />

หมายเลข 1และ2 คือชุดลดระดับความดัน(Depressurisation sets) หมายเลข 3 และ4 คือชุดกําจัด<br />

กาช(Explosive gas elimination sets) หมายเลข 5 และ6 คือชุดแยกน้ํามันออกจากกาช(Oil-gases<br />

separation sets) หมายเลข 7 คือวาลวปดถังคอนเซอรเวเตอร(Conservator shutter) หมายเลข 8 คือ<br />

แผงควบคุม(Control box)<br />

ภาพที่<br />

134 ชุดอุปกรณของระบบปองกัน<br />

10.2.1 ชุดลดระดับความดัน(Depressurisation Sets) แสดงในภาพที่<br />

135<br />

ประกอบดวยสวนที่สําคัญไดแกแผนรับแรงกระแทก(Rupture<br />

disk : D) ทําหนาที่ปลอยความดันที่<br />

สูงเกินและทอลดความดันของฉนวนน้ํามัน(Decompression<br />

chamber : E) เมื่อเกิดความดันสูงใน<br />

หมอแปลงแผนรับแรงกระแทกจะแตกและน้ํามันที่มีความดันสูงจะไหลเขาสูทอลดความดัน<br />

188


ภาพที่<br />

135 ชุดลดระดับความดัน(Depressurisation Sets)<br />

10.2.2 ชุดกําจัดกาช(Explosive gas elimination sets) อุปกรณชุดนี้ชวยรักษา<br />

สภาพแวดลอมภายในหมอแปลงโดยการฉีดไนโตรเจนเขาที่ดานลางของตัวถังหมอแปลงและฉีด<br />

ไนโตรเจนเขาที่ถังของตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

โดยที่จะฉีดไนโตรเจนหลังจากไดรับสัญญาณจากชุดลด<br />

ระดับความดัน ปริมาณไนโตรเจนขึ้นอยูกับขนาดของหมอแปลง<br />

ชุดกําจัดกาชแสดงในภาพที่<br />

136<br />

10.2.3 ชุดแยกน้ํามันออกจากกาช(Oil-gases<br />

separation sets) อุปกรณชุดนี้จะ<br />

ประกอบดวยถังแยกน้ํามันออกจากกาชหรืออาจจะเปนแบบบอพักขึ้นอยูกับทําเลที่ตั้ง<br />

โดยการ<br />

ทํางานของชุดนี้จะแยกกาชออกจากน้ํามันและกาชนี้จะถูกแยกและระบายออกทางทอระบาย<br />

ชุด<br />

แยกน้ํามันออกจากกาชแสดงในภาพที่<br />

137<br />

10.2.4 วาลวปดถังคอนเซอรเวเตอร(Conservator shutter) วาลวนี้ทําหนาที่ปองกัน<br />

น้ํามันที่อยูในถังคอนเซอรเวเตอรไหลลงมาที่ตัวถังหลักของหมอแปลงดังแสดงในภาพที่<br />

138<br />

189


ภาพที่<br />

136 ชุดกําจัดกาช(Explosive gas elimination sets)<br />

ภาพที่<br />

137 ชุดแยกน้ํามันออกจากกาช(Oil-gases<br />

separation sets)<br />

190


10.2.5 แผงควบคุม(Control box) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของระบบปองกันการ<br />

ระเบิดโดยจะติดตั้งอยูในหองควบคุม<br />

แสดงในภาพที่<br />

139<br />

ภาพที่<br />

138 วาลวปดถังคอนเซอรเวเตอร(Conservator shutter)<br />

ภาพที่<br />

139 แผงควบคุม(Control box)<br />

191


10.3 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิดและเกิดไฟไหม<br />

10.3.1 เมื่อเกิดความดันภายในตัวถังหมอแปลงสูงขึ้นผิดปกติ(ภาพที่140<br />

หมายเลข1 )<br />

10.3.2 ชุดลดระดับความดันทํางาน แผนรับแรงกระแทกจะแตกทําใหน้ํามันที่มีความ<br />

ดันสูงไหลผานเขาสูทอลดความดัน(ภาพที่140<br />

หมายเลข 2 และ 3 )<br />

10.3.3 น้ํามันและกาชไหลลงสูถังแยกน้ํามันกับกาชหรือลงบอรองรับ(หมายเลข<br />

5 )<br />

โดยที่วาลวที่ตําแหนงหมายเลข<br />

4 ทํางาน(ภาพที่140)<br />

10.3.4 วาลวปดถังคอนเซอรเวเตอรทํางานอยูในตําแหนงปดวาลว(ภาพที่140<br />

หมายเลข 6 )<br />

10.3.5 อากาศจากภายนอกไมสามารถสัมผัสน้ํามันและกาชไดเนื่องจากวาลวปองกัน<br />

อากาศเขาอยูในตําแหนงปด<br />

10.3.6 เมื่อชุดลดความดันทํางานจะสงสัญญาณไปยังแผงควบคุมรวมทั้งสัญญาณจาก<br />

อุปกรณปองกันอื่นๆเชน<br />

บุคโฮลซรีเลย รีเลยกระแสเกิน รีเลยวัดคาผลตาง และสั่งใหฉีดไนโตรเจน<br />

เขาในตัวถังหมอแปลง(ภาพที่141<br />

หมายเลข 8 และ 9 )<br />

10.3.7 เมื่อไนโตรเจนไหลเขาสูภายในตัวถังแลว<br />

วาลวปองกันอากาศเขาจะเปดออก<br />

กาชจะไหลออกทางทอที่อยูดานนอกอาคารหรืออยูไกลจากหมอแปลง(ภาพที่141<br />

หมายเลข 7 )<br />

10.3.8 กาชที่ระเบิดและกาชที่ลุกไหมเปนเปลวไฟจะระบายออกทางทอระบาย(ภาพ<br />

ที่141<br />

หมายเลข 10 )<br />

10.3.9 ไนโตรเจนจะปกคลุมในถังหมอแปลงและดับไฟที่อยูในทอระบายภายนอก<br />

อาคาร(ภาพที่142<br />

หมายเลข 11 และ 12 )<br />

10.3.10 ไนโตรเจนจะฉีดเขาภายในตัวถังหมอแปลงประมาณ 45นาทีเพื่อใหแนใจวา<br />

ปลอดภัยหลังจากนั้นทําการซอมแซมสวนที่ไดรับความเสียหาย<br />

192


ภาพที่<br />

140 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด<br />

ภาพที่<br />

141 การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด<br />

ภาพที่142<br />

การทํางานของระบบปองกันหมอแปลงระเบิด<br />

193


10.4 ลอจิกไดอะแกรมของแผงควบคุม<br />

10.4.1 การปองกันการระเบิด เมื่อระดับความดันสูงถึงจุดวิกิตชุดลดระดับความดัน<br />

จะทํางานและสงสัญญาณไปยังแผงควบคุมและชุดกําจัดกาชจะทํางานโดยแสดงในภาพที่143<br />

10.4.2 การดับไฟ การฉีดไนโตรเจนเขาภายในหมอแปลงเพื่อดับไฟใชเปนการ<br />

ปองกันสํารองตอจากการปองกันการระเบิดในกรณีที่เกิดไฟลุกไหม<br />

โดยที่ตัวตรวจจับไฟจะสง<br />

สัญญาณไปยังแผงควบคุมรวมทั้งสัญญาณจากอุปกรณปองกันหลักอื่นๆดวยโดยแสดงในภาพที่144<br />

ภาพที่143<br />

ลอจิกไดอะแกรมของการปองกันการระเบิด<br />

ภาพที่144<br />

ลอจิกไดอะแกรมของการดับไฟ<br />

194


11. ความแตกตางทางดานโครงสรางของหมอแปลง<br />

11.1 โครงสรางแกนเหล็ก<br />

จากที่ทราบกันดีวาหมอแปลงสามารถแบงออกตามลักษณะฉนวนไดสองชนิดคือ<br />

หมอแปลงแบบแหงหรือฉนวนแหงและหมอแปลงแบบฉนวนเหลว เมื่อดูจากโครงสราง<br />

สนามแมเหล็กจะเห็นวาหมอแปลงแบบแหงจะมีโครงสรางสนามแมเหล็กแบบคอรเพียงอยางเดียว<br />

ขณะที่หมอแปลงฉนวนเหลวจะมีโครงสรางสนามแมเหล็กทั้งแบบคอรและแบบเชล<br />

เนื่องจาก<br />

ลักษณะการจัดวางขดลวดและแกนเหล็กมีขอจํากัดที่แตกตางกัน<br />

หมอแปลงแบบแหงจัดวางแกน<br />

เหล็กแบบแนวตั้งเพียงอยางเดียวซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของโครงสรางสนามแมเหล็กแบบคอร<br />

ขณะที่โครงสรางสนามแมเหล็กแบบเชลสามารถจัดวางแกนเหล็ไดทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

นอกจากนี้โครงสรางแกนเหล็กของหมอแปลงแบบแหงจะเปนแบบหนึ่งเฟสสองขาสําหรับหมอ<br />

แปลงหนึ่งเฟสและแบบสามเฟสสามขาสําหรับหมอแปลงสามเฟส<br />

เหตุผลเนื่องจากหมอแปลงแบบ<br />

แหงจะมีพิกัดกําลังไมสูงมากนักตามมาตรฐาน IEEE สูงสุดที่ประมาณ<br />

20 MVA สวนตามมาตรฐาน<br />

ผูผลิตมีพิกัดสูงสุดที่<br />

30 MVA และอุปกรณที่ใชระบายความรอนมีเพียงแคพัดลมระบายความรอน<br />

เทานั้น<br />

ในขณะที่หมอแปลงขนาดใหญๆจะเปนหมอแปลงแบบฉนวนเหลว<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งหมอ<br />

แปลงแบบฉนวนเหลวที่มีขนาดใหญมากๆหลายรอย<br />

MVA โครงสรางสนามแมเหล็กจะเปนแบบ<br />

เชลสวนโครงสรางสนามแมเหล็กแบบคอรจะมีปญหาเรื่องฟลักซรั่วไหลที่เพิ่มตามพิกัดหมอแปลง<br />

รวมถึงขอจํากัดดานความสูงของหมอแปลงในการขนสง ดังนั้นหมอแปลงแบบคอรขนาดใหญสาม<br />

เฟสจะใชแกนเหล็กแบบหาขาและหมอแปลงหนึ่งเฟสจะใชแกนเหล็กแบบสามขาหรือแบบสี่ขา<br />

(แสดงในภาพที่<br />

10 หนา 16) โดยที่ขาดานขาง(Side<br />

leg) ที่เพิ่มขึ้นมาจะชวยเพิ่มความแข็งแรงของ<br />

ตัวถังอีกดวย ในสวนพื้นที่ดานกวางของโยค(Yoke)<br />

ทั้งดานบนและดานลางมีขนาดเล็กลงดานละ<br />

50 %<br />

1.2 โครงสรางขดลวด<br />

ขดลวดของหมอแปลงจะแบงการพันออกเปนสองลักษณะตามโครงสรางแกนเหล็ก<br />

แบบคอรและแบบเชล โดยที่การพันขดลวดตามโครงสรางแกนเหล็กแบบคอรแบงออกไดเปนสี่<br />

แบบไดแก แบบกนหอยเหมาะสําหรับขดลวดแรงต่ําหรือรับกระแสสูง<br />

แบบที่สองคือแบบแผนจาน<br />

เหมาะสําหรับขดลวดแรงสูง แบบที่สามคือแบบทรงกระบอกใชไดทั้งขดลวดแรงสูงและแรงต่ํา<br />

195


นิยมใชกับหมอแปลงที่มีตัวเปลี่ยนแท็ปเนื่องจากจะใหการกระจายของกระแสตอรอบมีความ<br />

สม่ําเสมอตลอลความยาวขดลวด<br />

และแบบที่สี่คือแบบสลับขามบนลาง<br />

เหมาะสําหรับขดลวดแรงสูง<br />

ของหมอแปลงขนาดเล็ก ในสวนการพันขดลวดตามโครงสรางแกนเหล็กแบบเชลจะมีลักษณะเปน<br />

แผนแซนวิช ซึ่งลักษณะการพันที่กลาวมานั้นเราเรียกวาเปนการพันแบบเรียงลําดับเปนชั้น(Layer)<br />

แสดงในภาพที่<br />

14 ถึง 19 และตัวนําเปนทองแดง นอกจากนี้ในปจจุบันขดลวดของหมอแปลงแบบ<br />

แหงไดนําอลูมิเนียมมาใชเปนขดลวดตัวนําและมีลักษณะเปนแผน(Foil)หุมดวยฉนวนทนไฟ<br />

(Epoxy resin)<br />

หมอแปลงโดยทั่วไปจะพันแบบเรียงลําดับเปนชั้นขนาดเล็กตั้งแต<br />

1 kVA ไปจนถึง<br />

1,000 MVA สวนขดลวดแบบแผน(Foil) จะใชกับหมอแปลงแบบแหงเพียงอยางเดียวซึ่งขอดีของ<br />

ตัวนําอลูมิเนียมคือมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวใกลเคียงกับฉนวนหุมขดลวดชนิดอีพอกซี่<br />

เรซิน เมื่อ<br />

ไดรับความรอนจากการเพิ่มขึ้นและลดลงของกระแสขณะจายโหลด<br />

ในมุมมองของผูใชงานหรือผู<br />

ซื้อหมอแปลงเราจะไมกําหนดรายละเอียดของการพันซึ่งเปนเรื่องของผูออกแบบและผูผลิตหมอ<br />

แปลงแตผูใชงานหรือผูซื้อจะพิจารณาถึงวัสดุของขดลวดมากกวา<br />

1.3 โครงสรางตัวถังหมอแปลง<br />

หมอแปลงแบบฉนวนเหลวจะตองมีตัวถังหอหุมขดลวดและปองกันฉนวนเหลวไมให<br />

สัมผัสอากาศภายนอก สิ่งที่เปนตัวกําหนดลักษณะของตัวถังคือพิกัดกําลังของหมอแปลง<br />

หมอ<br />

แปลงขนาดไมเกิน 500 kVA จะเปนตัวถังแบบเรียบ ซึ่งจะเห็นไดตามเสาไฟฟาในระบบจําหนาย<br />

แรงต่ําที่ระดับแรงดันประมาณ<br />

(11-33 kV/400-480 V) และที่พิกัดกําลังของหมอแปลงขนาดตั้งแต<br />

50-4000 kVA จะเปนตัวถังแบบที่มีแผงระบายความรอนพรอมทั้งมีอุปกรณระบายความรอนไดแก<br />

พัดลมและปมน้ํามันสําหรับการไหลเวียนฉนวนเหลว<br />

และในกรณีที่มีพิกัดกําลังสูงกวา1,000<br />

MVA<br />

ที่ตัวถังไมสามารถติดตั้งแผงระบายความรอนไดจะใชการติดตั้งแผลระบายความรอนแยกออกจาก<br />

ตัวถังแลวใชการตอทอถึงกัน<br />

12. ความแตกตางทางดานราคาของหมอแปลง<br />

ปจจัยที่มีผลตอราคาของหมอแปลงไดแก<br />

ระดับแรงดัน ชนิดของหมอแปลงวาเปนแบบ<br />

แหงหรือแบบฉนวนเหลว และขนาดพิกัดกําลัง ระดับแรงดันที่สูงราคาจะแพงขึ้นเนื่องจากระดับ<br />

196


ฉนวนของอุปกรณตองสูงขึ้นตามระดับแรงดันเชนระดับฉนวนของบุชชิ่ง<br />

ในสวนชนิดของหมอ<br />

แปลงขึ้นอยูกับลักษณะการใชงานหมอแปลง<br />

และขนาดพิกัดกําลังที่สูงขึ้นตองใชขนาดตัวนําที่ใหญ<br />

ขึ้นเพื่อรับและจายกระแสไดมากและจํานวนรอบที่มากขึ้นทําใหไดระดับแรงดันที่สูงตามมา<br />

และ<br />

จากการศึกษาขอมูลของราคาหมอแปลงในระบบจําหนายแรงดันต่ํา(11-33<br />

kV/400-480 V) ที่พิกัด<br />

กําลังเดียวกันที่แรงดัน<br />

33 kV จะแพงกวาที่แรงดัน<br />

22 kV ประมาณ 30 % ในขณะที่ระดับแรงดัน<br />

22<br />

kV จะแพงกวาที่ระดับแรงดัน<br />

11-12 kV ประมาณ 10 % และเมื่อเปรียบเทียบระหวางหมอแปลง<br />

แบบแหงกับหมอแปลงแบบฉนวนเหลว(ในที่นี้หมายถึงฉนวนน้ํามัน)<br />

ที่ระดับแรงดันเดียวกันและ<br />

พิกัดกําลังเทากัน ราคาหมอแปลงแบบแหงจะแพงกวาประมาณ 2 ~ 2.5 เทา เหตุผลเนื่องจากฉนวน<br />

ของขดลวดหมอแปลงแบบแหงถูกออกแบบมาใหสูงกวาโดยจะใชที่คลาส<br />

B(135 องศา) F(155<br />

องศา) และ H(220 องศา) ขณะที่หมอแปลงแบบฉนวนน้ํามันจะใชที่คลาส<br />

A (105 องศา) นอกจากนี้<br />

อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดของหมอแปลงแบบแหงมีตั้งแต<br />

80 องศา 115 องศา และ 150 องศาโดยใช<br />

พัดลมระบายความรอนเพียงอยางเดียวขณะที่หมอแปลงฉนวนน้ํามันมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดที่<br />

55<br />

องศา และ 65 องศา โดยมีอุปกรณระบายความรอนไดแก พัดลมและปมน้ํามัน<br />

นอกจากนี้ถาเปรียบเทียบดานวิธีระบายความรอนของหมอแปลงฉนวนเหลวที่พิกัดกําลัง<br />

และพิกัดแรงดันเดียวกัน(ตารางที่<br />

2 หนา 28) เราพบวาการระบายความรอนแบบอาศัยการไหลเวียน<br />

ตามธรรมชาติของน้ํามันและอากาศ(ONAN)<br />

จะมีราคาแพงที่สุดและจะแพงกวาการระบายความ<br />

รอนแบบสูบและฉีดน้ํามันผานปมและเปาอากาศ(OFAF)<br />

และแบบใหน้ํามันไหลผานขดลวด<br />

โดยตรงและเปาอากาศ(ODAF) ตามลําดับโดยจะแพงกวาประมาณ 10-20% เหตุผลเนื่องจากหมอ<br />

แปลงแบบ ONAN จะตองออกแบบใหมีขนาดใหญกวาเพื่อการระบายความรอนที่เพียงพอตอ<br />

อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดตามที่กําหนด<br />

ขณะที่หมอแปลงแบบ<br />

ODAF จะมีขนาดเล็กสุดเนื่องจาก<br />

สามารถนําพาความรอนจากขดลวดไดดีกวา หมอแปลงขนาดใหญจะมีราคาอยูที่ประมาณ<br />

10,000<br />

US ดอลลารตอ 1 MVA<br />

และเมื่อพูดถึงฉนวนเหลวของหมอแปลงเราสามารถแบงออกไดเปนสี่ชนิดไดแก<br />

ฉนวน<br />

น้ํามัน(Mineral<br />

oil) ซึ่งนิยมใชอยางแพรหลายตั้งแต<br />

1 kVA ไปจนถึง 1,000 MVA มีราคาถูกที่สุดแต<br />

สามารถลุกติดไฟไดเมื่อเกิดการระเบิดของหมอแปลง<br />

ชนิดที่สองคือ<br />

ฉนวนเหลว R-temp คือฉนวน<br />

ระบายความรอนทนไฟที่ทําจากไฮโดรคารบอนและไมกอใหเกิดสารพิษ<br />

ราคาจะแพงกวาฉนวน<br />

น้ํามันประมาณ<br />

3-5 เทา ชนิดที่สามคือฉนวนเหลวซิลิโคนเปนฉนวนระบายความรอนทนไฟอีก<br />

ชนิดหนึ่งมีคุรสมบัติทนไฟดีกวาชนิด<br />

R-temp เหมาะสําหรับสถานที่ๆมีความเสี่ยงตอการเกิดไฟ<br />

197


ไหมสูงและมีราคาแพงกวา R-temp ประมาณ 3 เทา และชนิดที่สี่คือ<br />

ฉนวนเหลว Envirotemp FR 3<br />

เปนฉนวนระบายความรอนทนไฟที่ไดจากาน้ํามันในเมล็ดพืชไมกอใหเกิดสารพิษ<br />

ฉนวนเหลว<br />

ตั้งแตชนิดที่สองถึงชนิดที่สี่<br />

ยังไมพบในหมอแปลงของ กฟผ. ซึ่งสวนใหญจะเปนฉนวนน้ํามันแตมี<br />

ระบบปองกันทางไฟฟาและทางกลที่รัดกุมพรอมทั้งมีระบบทอน้ําดับไฟ(Fire<br />

fighting) และกําแพง<br />

ทนไฟ(Fire wall) ปองกันอีกระดับหนึ่ง<br />

แตปจจุบัน กฟน. ไดมีการใชงานหมอแปลงฉนวนเหลว<br />

แบบ ซิลิโคนและ R-temp ในบริเวณชุมชนเมืองที่มีที่พักอาศัยจํานวนมาก<br />

198


1. การปองกันทางกล<br />

วิจารณผล<br />

การปองกันทางกลเปนการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวเพียงอยางเดียว และเกี่ยวของกับ<br />

ความดันที่เกิดขึ้นภายในตัวถัง<br />

ที่มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ํามัน<br />

การลัดวงจร<br />

ภายในตัวถังหมอแปลง<br />

1.1 อุปกรณปลอยความดัน(Pressure Relief Device)<br />

อุปกรณตัวนี้ถือไดวาเปนอุปกรณ<br />

ที่สําคัญกับหมอแปลงฉนวนเหลวทุกประเภทตั้งแต<br />

หมอแปลงขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ โดยปกติผูใชงานหรือผูซื้อหมอแปลงสามารถเลือกไดเพียงวา<br />

จะมีอุปกรณปลอยความดันติดตั้งมาพรอมกับหมอแปลงดวยหรือไมสวนคาเซตติ้งความดันที่<br />

แนนอนทางบริษัทผูผลิตหมอแปลงจะคํานวณใหเหมาะสมกับพิกัดความดันของตัวถังหมอแปลง<br />

และสั่งซื้อจากผูผลิตอุปกรณปลอยความดันอีกทอดหนึ่ง<br />

ขอมูลที่ผูผลิตอุปกรณปลอยความดันตัอง<br />

การทราบไดแก คาเซตติ้งที่ตองการ<br />

ชนิดของฉนวนเหลวหรือกาช ตําแหนงที่ติดตั้ง(แนวตั้งหรือ<br />

แนวนอน)และอุปกรณเสริมเชน หนาสัมผัสของสัญญาณเตือนทางไฟฟา<br />

1.2 รีเลยความดันทันทีทันใด(Sudden Pressure Relay)<br />

เนื่องจากรีเลยความดันทันทีทันใดมีความไวตอการลัดวงจรที่เกิดขึ้นภายในตัวถังหมอ<br />

แปลงมากกวารีเลยวัดคาผลตางและรีเลยกระแสเกิน แตการเลือกใชงานสัญญาณที่ไดจากรีเลยความ<br />

ดันทันทีทันใดวาจะใชเปนสัญญาณเตือนหรือสั่งทริปนั้นนอกจากปจจัยเกี่ยวกับแผนดินไหวแลว<br />

ยังคงขึ้นอยูกับวามีการใชอุปกรณปองกันทางไฟฟาเชน<br />

รีเลยกระแสเกินหรือรีเลยวัดคาผลตางรวม<br />

ดวยหรือไม ยกตัวอยาง 2 กรณีคือ กรณีแรก หมอแปลงขนาดไมเกิน 5000 kVA ถาผูใชงานปฎิบัติ<br />

ตามมาตรฐาน ANSI/IEEE ซึ่งการปองกันทางไฟฟาแนะนําใหใชฟวสปองกันการลัดวงจรเพียง<br />

อยางเดียว ดวยขอเสียของฟวสที่ไมสามารถปองกันฟอลตที่เกิดจากการลัดวงจรระหวางขดลวดที่มี<br />

กระแสต่ําไดในกรณีนี้ตัวรีเลยความดันทันทีทันใดควรใชสั่งทริปเพื่อปองกันความเสียหายตอหมอ<br />

แปลง กรณีที่สองถาผูใชงานเลือกปฎิบัติตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันทางไฟฟา<br />

199


คือใชรีเลยกระแสเกินหรือรีเลยวัดคาผลตางรวมดวย ในกรณีนี้ตัวรีเลยความดันทันทีทันใดควรใช<br />

เปนสัญญาณเตือนก็เพียงพอ<br />

1.3 บุคโฮลซรีเลย(Buchholz Relay)<br />

เปนอุปกรณปองกันความดันสูงเกินทันทีทันใดและปองกันการสะสมของปริมาณกาช<br />

ภายในตัวถังหมอแปลงรวมทั้งปองกันกรณีที่เกิดการรั่วของตัวถังหลัก<br />

ถือวาเปนอุปกรณปองกันที่<br />

สมบรูณแบบ เนื่องจากตัวบุคโฮลซรีเลยมีหนาสัมผัสทั้งสัญญาณเตือนและสั่งทริปซึ่งจะสงไปแสดง<br />

ที่แผงควบคุมและสั่งปลดเซอรกิตเบรคเกอร<br />

ดังนั้นตัวเซอรกิตเบรคเกอรเองตองมีหนาสัมผัสที่รับ<br />

สัญญาณสั่งทริป<br />

ถาเปนเซอรกิตเบรคเกอรที่ไมมีหนาสัมผัสรับสัญญาณสั่งทริปการติดตั้งบุคโฮลซ<br />

รีเลยก็จะไมชวยปองกันหมอแปลง ดังนั้นเราจึงไมเห็นบุคโฮลซรีเลยติดตั้งกับหมอแปลงขนาดเล็ก<br />

ในระบบจําหนายแรงต่ํา<br />

(11~33kV/380~480V)ของการไฟฟาที่ติดตั้งตามเสาไฟฟา<br />

1.4 อุปกรณระบายความดันและวัดความดัน(Pressure Vacuum Bleeder and Indicator)<br />

อุปกรณระบายความดันตัวนี้ใชปองกันหมอแปลงจากการเพิ่มอยางชาๆของความดัน<br />

ทั้งความดัน<br />

บวก(Pressure)และความดันลบ (Vacuum) อุปกรณตัวนี้จะใชกับหมอแปลงขนาดตั้งแต<br />

2500 kVA<br />

ขึ้นไปซึ่งจะเห็นไดตามสถานีไฟฟา<br />

หรือใชเปนหมอแปลงหลักที่รับไฟจากการไฟฟา<br />

1.5 ตัวตรวจจับกาช(Gas Detector)<br />

อุปกรณตัวนี้ใชกับหมอแปลงแบบที่มีถังคอนเซอรเวเตอรตั้งแตขนาด<br />

10,000 kVA<br />

ขึ้นไป<br />

เนื่องจากถุงยางที่กั้นระหวางอากาศกับฉนวนน้ํามันมีขนาดเล็กสุดที่บรรจุอากาศไดประมาณ<br />

250 ลิตร สวนหมอแปลงที่ต่ํากวา10,000<br />

kVA ที่ไมมีถุงยางก็จะไมใชตัวตรวจจับกาชดังนั้นโอกาส<br />

ที่ฉนวนน้ํามันจะเสื่อมสภาพเร็วกวาแตไมมีผลกระทบมากนักเมื่อเทียบกับปจจัยอื่นเชน<br />

ปริมาณ<br />

ฉนวนน้ํามันที่นอยกวาเนื่องจากเปนหมอแปลงขนาดเล็ก<br />

ราคาของตัวตรวจจับกาชและถุงยางเมื่อ<br />

เทียบกับหมอแปลงขนาดเล็ก<br />

200


2. การปองกันทางความรอน<br />

2.1 หมอแปลงฉนวนน้ํามัน<br />

อุปกรณวัดอุณหภูมิน้ํามันเปนอีกหนึ่งอุปกรณที่จําเปน<br />

หมอแปลงขนาดเล็กที่ใชในเชิง<br />

พาณิชและในระบบจําหนายแรงต่ําที่ติดตั้งตามเสาไฟฟาจะมีอุปกรณวัดอุณหภูมิน้ํามันและแสดงคา<br />

อุณหภูมิในตัว ขณะที่หมอแปลงตัวใหญๆที่สําคัญจะมีอุปกรณวัดอุณหภูมิน้ํามันและวัดอุณหภูมิ<br />

ขดลวด แตสิ่งที่สําคัญในการปองกันทางความรอนคือการกําหนดคุณสมบัติดานอุณหภูมิของหมอ<br />

แปลงผูใชงานสามารถกําหนดใหผูผลิตออกแบบไดตามตองการวาจะเลือกคาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น<br />

สูงสุดที่<br />

55 องศาหรือ 65 องศา โดยที่หมอแปลงจะตองทํางานทุกสภาวะและทุกวิธีระบายความ<br />

รอนตองไมเกินคานี้<br />

หรือบางครั้งอาจจะกําหนดที่<br />

55 องศาสําหรับโหลดที่พิกัดและยอมใหอุณหภูมิ<br />

เพิ่มเปน<br />

65 องศาที่สภาวะโหลดฉุกเฉิน<br />

ซึ่งในประเทศไทยอุณหภูมิรอบขางประมาณ<br />

32 ~ 34<br />

องศาและมีคาสูงสุดประมาณ 40 ~ 43 องศา ขณะที่หมอแปลงที่ใชมาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE อุณหภูมิ<br />

รอบขางประมาณ 30 องศาและมีคาสูงสุดประมาณ 40 องศา และหมอแปลงที่ใชมาตรฐาน<br />

IEC<br />

อุณหภูมิรอบขางประมาณ 20 องศาและมีคาสูงสุดประมาณ 30 องศา<br />

2.2 หมอแปลงแบบแหง<br />

อุปกรณวัดอุณหภูมิของหมอแปลงฉนวนแหงจะแตกตางจากหมอแปลงฉนวน โดยที่<br />

จะฝงตัววัดอุณหภูมิที่เรียกวา<br />

RTD ที่ขดลวดและตอสายสัญญาณไปยังตัวแสดงคาอุณหภูมิหรือตัว<br />

รีเลยความรอน ผูผลิตสามารถพัฒนาไดสูงถึง<br />

220 องศา สวนคาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุดที่ใชกัน<br />

ทั่วไปมีตั้งแต<br />

80 องศา 115 องศา และ 150 องศา ผูซื้อหรือผูใชงานสามารถเลือกระดับฉนวนและ<br />

คาอุณหภูมิเพิ่มสูงสุดไดตามตองการโดยตองคํานึงถึงอุณหภูมิแวดลอมของพื้นที่ใช<br />

3. การปองกันวัดคาผลตาง(การปองกันทางไฟฟา)<br />

3.1 ประเภทของรีเลยวัดคาผลตางที่ใชปองกันหมอแปลง<br />

รีเลยวัดคาผลตางแบบไมมีการไบแอสจะไมมีเสถียรภาพในการทํางานคือไมสามารถ<br />

ทํางานที่ความไวสูงได<br />

หรือไมสามารถตั้งคากระแสเซตติ้งคาต่ําๆได<br />

ดังนั้นจึงตองตั้งคา<br />

กระแส<br />

201


เซตติ้งใหสูงเพื่อหลีกเลี่ยงกระแสไมสมดุลยที่เกิดจากความแตกตางของหมอแปลงกระแส<br />

ในการ<br />

ปองกันกระแสฟอลตจากภายนอกหรือกระแสฟอลตที่ไหลผาน<br />

รีเลยแบบนี้จะใชตัวตานทาน<br />

เสถียรภาพเปนตัวจํากัดกระแสที่ไหลผานเขารีเลย<br />

และเนื่องจากรีเลยกระแสเกินมาประยุกตใชจึงทํา<br />

ใหไมมีการปองกันผลของฮารมอนิกที่มากับกระแสพุงเขา<br />

ซึ่งอาจจะทําใหรีเลยทํางานผิดพลาดได<br />

จึงไมเปนที่นิยมใช<br />

รีเลยผลตางแบบเปอรเซนตไบแอสเปนรีเลยที่ออกแบบใหมีขดลวดไบแอสเพื่อรักษา<br />

เสถียรภาพในการทํางานของรีเลยในขณะที่เกิดกระแสฟอลตภายนอกเขตปองซึ่งดีกวาแบบไมมีการ<br />

ไบแอส ถือวาเปนรีเลยวัดคาผลตางรุนแรกๆแบบอิเล็คโตรแมกคานิคัล<br />

ในสวนของการปองกัน<br />

กระแสพุงเขา<br />

ภายในตัวรีเลยจะมีการหนวงเวลาซึ่งตองสัมพันธกับคาเวลาคงที่ในการเกิดกระแสพุง<br />

เขา โดยปกติคาเวลาคงที่ของกระแสสนามแมเหล็กพ<br />

ุ งเขานี้จะขึ้นอยูกับขนาดพิกัดกําลังของหมอ<br />

แปลง ที่หมอแปลงพิกัดกําลัง<br />

10 MVA จะมีคาเวลาคงที่ประมาณ<br />

1.2 วินาที ถาเปนหมอแปลงพิกัด<br />

กําลังที่ใหญกวา<br />

100 MVA คาเวลาคงที่จะมากกวา<br />

1 นาที ดังนั้นรีเลยแบบนี้จะใชกับหมอแปลงที่มี<br />

พิกัดกําลังไมเกิน10 MVA และหมอแปลงพิกัดกําลังตั้งแต<br />

5 MVA จนถึง10 MVA จะมีขนาด<br />

กระแสพุงอยูในชวงประมาณ<br />

6 - 8 เทาของกระแสที่พิกัด<br />

รีเลยวัดคาผลตางแบบเปอรเซ็นตไบแอสที่มีการตานฮารมอนิกนี้มีขดลวดไบแอสแต<br />

จะเปนรีเลยแบบสแตติคและรีเลยแบบดิจิตอล ในปจจุบันการปองกันวัดคาผลตางจะใชรีเลย<br />

ประเภทนี้ซึ่งมีการพัฒนาฟงกชันการตานฮารมอนิกและฟงกชันการหามฮารมอนิกซึ่งโดยปกติจะ<br />

เลือกใชวิธีใดวิธีหนึ่ง<br />

รีเลยผลตางแบบดิจิตอลรุนใหมจะนิยมใชวิธีการหามฮารมอนิก<br />

รีเลยผลตางแบบอิมพีแดนซสูง โดยปกติในการปองกันกระแสเกินลงดินที่ดานขดลวด<br />

สตารตอลงดินทั้งในกรณีที่นิวตรอลตอลงดินโดยตรงหรือนิวตรอลตอผานตัวตานทานลงดินเรา<br />

สามารถใชรีเลยกระแสเกินตรวจจับฟอลตแตกรณีของรีเลยวัดคาผลตางอิมพีแดนซสูงจะใชกับกรณี<br />

ที่นิวตรอลตอผานตัวตานทานลงดินเนื่องจากคุณลักษณะของกระแสฟอลตในขดลวดสตารที่ตอลง<br />

ดินโดยตรงและตอผานตัวตานทานมีความแตกตางกัน กรณีที่ตอลงดินโดยตรงกระแส<br />

ฟอลต จะถูก<br />

จํากัดโดยคาอิมพีแดนซรั่วไหลซึ่งคากระแสฟอลตจะแปรผันและเพิ่มขึ้นแบบไมเชิงเสน(Non<br />

linear) ระหวางจุดนิวตรอลจนถึงขั้วตอสาย<br />

ขณะที่กรณีจุดนิวตรอลตอผานตัวตานทานลงดิน<br />

คากระแสฟอลตจะเพิ่มขึ้นแบบเชิง(Linear)<br />

ระหวางจุดนิวตรอลจนถึงขั้วตอสาย<br />

นอกจากนี้รีเลย<br />

ผลตางแบบอิมพีแดนซสูงจะไมนิยมใชปองกันที่เฟสสําหรับหมอแปลงเนื่องจากรีเลยผลตางแบบ<br />

202


อิมพีแดนซสูงนี้จะไมมีฟงกชันการตานฮารมอนิก<br />

ยกเวนกรณีหมอแปลงออโตสามเฟสแบบสตารที่<br />

ใชในระบบสง ซึ่งกระแสสนามแมเหล็กจะถูกกําจัดโดยหมอแปลงกระแสที่สายนิวตรอลและ<br />

สามารถปองกันฟอลตที่เฟสและฟอลตที่ลงดินแตไมสามารถปองกันฟอลตระหวางขดลวดได<br />

3.2 การเซตติ้งรีเลยผลตางและฟงกชัน<br />

จากผลการศึกษาสามารถแบงการเซตติ้งรีเลยผลตางออกเปน<br />

3 แบบซึ่งแตละแบบ<br />

ขึ้นอยูกับชนิดของรีเลยและเทคโนโลยีของรีเลยที่มีการพัฒนาเพื่อความสะดวกในการเซตติ้งแก<br />

ผูใชงานเชนรีเลยแบบดิจิตอล<br />

นอกจากนี้ฟงกชันของรีเลยแตละชนิดก็มีความแตกตางกัน<br />

ซึ่ง<br />

เปรียบเทียบในตารางที่<br />

20 และ ตารางที่<br />

21<br />

่ ตารางที 20 การเปรียบเทียบการเซตติ้งรีเลยทั้งสามชนิด<br />

ขอเปรียบเทียบ รีเลยแบบ รีเลยแบบ<br />

อิเล็คโตรแมกคานิคัล สแตติค<br />

การตอหมอแปลงกระแส ขดลวด Υ/CT ตอ ∆ ขดลวด Υ/CT ตอ ∆<br />

ขดลวด ∆ /CT ตอ Υ ขดลวด ∆ /CT ตอ<br />

การคํานวณหากระแสที่<br />

ไหลเขารีเลย<br />

การคํานวณหาอัตราสวน<br />

กระแสที่ไหลเขารีเลย<br />

การเลือกแท็ปกระแสที่<br />

ตัวรีเลย<br />

อัตราสวนที่ไมตรงกัน<br />

(Mismatch ratio)<br />

การคํานวณหา<br />

เสถียรภาพของหมอ<br />

แปลงกระแส<br />

Υ<br />

รีเลยแบบ<br />

ดิจิตอล<br />

CT ตอ Υ<br />

ทั้งหมด<br />

ตองคํานวณ ตองคํานวณ ตองคํานวณ<br />

ตองคํานวณ ไมตองคํานวณใช<br />

หมอแปลงMatching<br />

ไมตองคํานวณ<br />

เลือกที่ตัวรีเลย<br />

เลือกที่ตัวรีเลย<br />

ใชซอฟแวรแกไข<br />

โดยการไขสกรู โดยการไขสกรู<br />

ประมาณ 5 % ประมาณ 1 % ไมมี<br />

ตองคํานวณ ตองคํานวณ ตองคํานวณ<br />

203


่ ตารางที 21 การเปรียบเทียบฟงกชันรีเลยทั้งสามชนิด<br />

ฟงกชัน รีเลยแบบ รีเลยแบบ รีเลยแบบ<br />

อิเล็คโตรแมกคานิคัล สแตติค ดิจิตอล<br />

คากระแสเริ่มตนทํางาน<br />

เปนคาคงที่จาก<br />

สามารถเลือก สามารถเลือก<br />

บริษัทผูผลิต<br />

ปรับแตงคาได ปรับแตงคาได<br />

คากระแสทริป เปนคาคงที่จาก<br />

สามารถเลือก สามารถเลือก<br />

ทันทีทันใด<br />

บริษัทผูผลิต<br />

ปรับแตงคาได ปรับแตงคาได<br />

การปรับแตงเปอรเซนต เปนคาคงที่จาก<br />

มีทั้งแบบคงที่และ<br />

ปรับแตง<br />

ความชัน<br />

บริษัทผูผลิต<br />

เลือกคาความชันได คาความชันได<br />

ฟงกชันฮารมอนิกที่สอง<br />

ไมมี มี มี<br />

ฟงกชันฮารมอนิกที่หา<br />

ไมมี มี มี<br />

จากตารางที่<br />

20 และ 21 เมื่อเปรียบเทียบโดยรวมแลวรีเลยวัดคาผลตางแบบดิจิตอลมี<br />

คุณลักษณะในการปองกันหมอแปลงดีที่สุด<br />

4. การปองกันกระแสเกิน<br />

รีเลยปองกันกระแสเกินทั้งสามชนิดคือรีเลยแบบอิเล็คโตรแมกคานิคัล<br />

รีเลยแบบสแตติค<br />

และรีเลยแบบดิจิตอล มีหลักการเซตติ้งเหมือนกันแตก็มีขอแตกตางกันบางดังแสดงในตารางที่<br />

22<br />

่ ตารางที 22 การเปรียบเทียบรีเลยกระแสเกินทั้งสามชนิด<br />

ขอเปรียบเทียบ รีเลยแบบ รีเลยแบบ รีเลยแบบ<br />

อิเล็คโตรแมกคานิคัล สแตติค ดิจิตอล<br />

เสนโคงเวลากระแส 1 เสนโคง 7-8 เสนโคง มากกวา 10 เสนโคง<br />

ยานการเซตติ้ง<br />

หยาบ ละเอียด ละเอียดมาก<br />

การเลือกเปอรเซนต คลาดเคลื่อน<br />

คลาดเคลื่อน<br />

คลาดเคลื่อนนอยมาก<br />

เซตติ้ง(Pick<br />

up)<br />

เล็กนอย<br />

วิธีการเซตติ้ง<br />

ขันสกรู เลือก Dip switch ปอนผาน Key pad<br />

ความตองการแหลง<br />

จายไฟ<br />

ไมใช ใช ใช<br />

204


5. กรณีศึกษาการปองกันหมอแปลงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย<br />

5.1 กรณีศึกษาที่<br />

1 การปองกันหมอแปลงจายโหลดสํารอง(RAT)โรงไฟฟาพระนครใต<br />

การเซตติ้งฟงกชันกระแสเกิน-เวลา(51)<br />

การเลือกคากระแสเริ่มตอบสนองจะเลือก<br />

ที่แท็ปกระแสในตัวรีเลยจะเลือกเปนคากระแสมีหนวยเปนแอมแปรซึ่งไมเหมือนกับรีเลยแบบสแต<br />

ติคหรือแบบดิจิตอลที่เลือกเปนเปอรเซนตของกระแสโหลด<br />

ในกรณีศึกษาที่<br />

1 นั้น<br />

ทําการเซตติ้งที่<br />

200 % เนื่องจากหมอแปลงตัวนี้ใชจายโหลดชวงสั้นๆขณะโรงไฟฟาเริ่มตนทํางาน<br />

( Plant start up)<br />

และขนาดไมใหญมาก(15 MVA) และสามารถเพิ่มพิกัดเปน<br />

133% (20 MVA) โดยเพิ่มการระบาย<br />

ความรอนชุดที่<br />

2 (FA) เมื่อคํานวณหากระแสเริ่มตอบสนองไดเทากับ<br />

7.53 A แตมีแท็ปกระแสให<br />

เลือกระหวาง 7 A กับ 8A ถาเลือกแท็ป 7 A คาเซตติ้งเทากับ<br />

186 % ขณะที่เลือกแท็ป<br />

8A คาเซตติ้ง<br />

เทากับ 212.5 % ในทางปฎิบัติเราสามารถเลือกไดทั้งสองแท็ปแตรีเลยจะทํางานเร็วหรือชาตางกัน<br />

ไมมากนักเนื่องจากในสภาวะปกติหมอแปลงจะไมทํางานเกินพิกัดถึง<br />

186 % แตในกรณีนี้เลือกที่<br />

212.5 % วัตถุประสงคหลักของฟงกชันนี้คือปองกันการลัดวงจรซึ่งมีคากระแสลัดวงจรสูงกวา<br />

กระแสโหลดหลายเทา<br />

การเซตติ้งฟงกชันกระแสเกินทันทีทันใด(50)<br />

ขอมูลกระแสพ ุ งเขาของหมอแปลงตัวนี้<br />

ประมาณ 8 เทา หรือเทากับกระแสดานแรงสูงของหมอแปลงเทากับ 301.2 A ถาสังเกตุในภาพที่<br />

110 จะเห็นวาคากระแสพุงเขาสูงสุดจะเกิดขึ้นที่เวลา<br />

0.1 วินาที กรณีนี้ทําการเซตติ้งที่แท็ป<br />

60 A<br />

ของรีเลยเมื่อแปลงมาทางดานแรงสูงของหมอแปลงเทากับ<br />

600 A เพื่อหลีกเลี่ยงกระแสพุงเขา<br />

วัตถุประสงคหลักของฟงกชันนี้คือปองกันการลัดวงจรภายในตัวถังหมอแปลงที่มีปริมาณกระแส<br />

ลัดวงจรสูงมากกวาการลัดวงจรนอกตัวถัง<br />

การเซตติ้งรีเลยกระแสเกินลงดิน(51G)<br />

เนื่องจากดานแรงต่ําตอแบบวายและที่จุดนิว<br />

ตรอลตอลงดินผานตัวตานทาน กระแสลัดวงจรจะถูกจํากัดโดยตัวตานทานดังนั้นการปองกันจะ<br />

ปองกันความเสียหายของตัวตานทานซึ่งในกรณีนี้ตัวตานทานมีพิกัดทนกระแส<br />

1000 A ภายในเวลา<br />

10 วินาที และทําการปองกันฟงกชันกระแสเกิน-เวลาโดยเมื่อกระแสลัดวงจรลงดินที่พิกัด<br />

1000 A<br />

จะตองทํางานภายในเวลานอยกวา 10 วินาที ในกรณีศึกษานี้รีเลยจะทํางานที่พิกัดพิกัด<br />

1000 A<br />

ทํางานภายในเวลา1.2 วินาที<br />

205


5.2 กรณีศึกษาที่<br />

2 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนรวมวังนอย อยุธยา<br />

การปองกันผลตาง (หมอแปลงและเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

: 87GTL) เปนการปองกัน<br />

ขดลวดของหมอแปลงและขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

ในการคํานวณจะอางอิงพิกัดกําลังของ<br />

เครื่องกําเนิดไฟฟา(262.77<br />

MVA) รีเลยที่ใชเปนแบบสแตติคมีคาเสนโคงความชันเทากับ<br />

30% และ<br />

มีคาทริปทันทีทันใดเทากับ 10 เทาของแท็ปกระแสซึ่งกําหนดตายตัวจากผูผลิตรีเลย<br />

ในการเซตติ้ง<br />

คากระแสทริปฉับพลันควรจะมีคาเซตติ้งสูงกวาคากระแสพุงเขาและกระแสฟอลตที่เกิดนอกเขต<br />

ปองกัน ในกรณีศึกษานี้หมอแปลงมีขนาดใหญมากและจะมีคากระแสพุงเขาไมเกิน<br />

7~8 เทาของ<br />

กระแสพิกัดโหลด และจากการตรวจสอลกระแสฟอลตสามเฟสที่เกิดภายนอกเขตมีคาต่ํากวาคาเซต<br />

ติ้งที่<br />

10 เทาของแท็ปกระแส<br />

การปองกันผลตาง (หมอแปลง : 87T) เปนการปองกันหมอแปลงเพียงอยางเดียว<br />

รีเลยที่ใชเปนแบบสแตติคมีคาเสนโคงความชันเทากับ<br />

30% และมีคาทริปทันทีทันใดเทากับ 10 เทา<br />

ของแท็ปกระแสซึ่งกําหนดตายตัวจากผูผลิตรีเลย<br />

การเซตติ้งจะเหมือนกับ<br />

การปองกันผลตาง(หมอ<br />

แปลงและเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

: 87GTL) แตแตกตางตรงที่ใชพิกัดกําลังของหมอแปลงในการ<br />

คํานวณซึ่งเทากับ<br />

312 MVA ซึ่งปกติพิกัดหมอแปลงจะสูงกวาเครื่องกําเนิดประมาณ<br />

10~20 %<br />

การปองกันกระแสเกินลงดินดานแรงสูง รีเลยที่ใชเปนรีเลยแบบอิเล็คโตรแมกคานิคัล<br />

โดยทําการเซตติ้งที่<br />

50 % ของกระแสพิกัดโหลด ในการจัดลําดับการทํางานของรีเลยกระแสเกินลง<br />

ดินดานแรงสูง(ของโรงไฟฟา)จะตองจัดลําดับการทํางานรวมกับรีเลยกระแสเกินลงดินของสถานี<br />

ไฟฟาที่โรงไฟฟาตอรวมอยู<br />

กรณีที่เกิดการลัดวงจรลงดินหนึ่งเฟสบนสายสงที่เชื่อมตอรีเลยจาก<br />

สถานีไฟฟาจะตองทํางานกอนรีเลยของโรงไฟฟา โดยปกติรีเลยที่สถานีไฟฟาจะทําการเซตติ้งที่<br />

ประมาณ 30 % ของกระแสพิกัดโหลดและทํางานที่เวลา<br />

1.5 วินาทีกรณีเกิดการลัดวงจรหนึ่งเฟส<br />

ดังนั้นรีเลยกระแสเกินลงดินของหมอแปลงจะตองมีคาเซตติ้งตั้งแต<br />

30 % ขึ้นไป(ในกรณีศึกษานี้<br />

เลือกที่<br />

50%)และทํางานที่เวลาประมาณ<br />

2 วินาทีกรณีเกิดการลัดวงจรหนึ่งเฟส<br />

206


5.3 กรณีศึกษาที่<br />

3 การปองกันหมอแปลงโรงสถานีไฟฟาแมสอด<br />

การปองกันผลตาง(87) รีเลยที่ใชเปนแบบสแตติคมีคาเสนโคงความชันเทากับ<br />

30%<br />

และมีคาทริปทันทีทันใดเทากับ 10 เทาของแท็ปกระแสซึ่งกําหนดตายตัวจากผูผลิตรีเลย<br />

ในการเซต<br />

ติ้งคากระแสทริปฉับพลันควรจะมีคาเซตติ้งสูงกวาคากระแสพุงเขาและกระแสฟอลตที่เกิดนอกเขต<br />

ปองกัน จากการคํานวณในตารางที่<br />

17 จะเห็นวากระแสพิกัดโหลดเทากับ 1312.16 A ซึ่งสูงกวา<br />

พิกัดหมอแปลงกระแส 1200/5A แตในทางปฎิบัติตัวหมอแปลงกระแสจะสามารถรับกระแส<br />

ตอเนื่องไดถึง<br />

150% ของพิกัดหมอแปลงกระแส(K factor = 1.5)<br />

การปองกันกระแสเกินที่เฟสดานแรงสูง<br />

115 kV รีเลยที่ใชเปนแบบสแตติคและเลือก<br />

คากระแสเริ่มตอบสนองที่<br />

150% ของกระแสโหลดและเวลาในการทริปเทากับ 2 วินาทีเมื่อเกิดการ<br />

ลัดวงจรสามเฟสดาน 22 kV เนื่องจากรีเลยรุนนี้เปนรีเลยที่ใชมาตรฐานANSI/IEEE<br />

ในการจัดลําดับ<br />

เวลาการทํางานจะใชสูตรคํานวณ โดยการใสคากระแสลัดวงจรและเวลาในการทริปเพื่อคํานวณหา<br />

ตัวคูณเวลา(Time dial)<br />

การปองกันกระแสเกินที่เฟสดานแรงต่ํา<br />

22 kV รีเลยที่ใชเปนแบบสแตติคและเลือก<br />

คากระแสเริ่มตนทํางานที่<br />

150% ของกระแสโหลดและเวลาในการทริปเทากับ 1.5 วินาทีเมื่อเกิดการ<br />

ลัดวงจรสามเฟสดาน 22 kV วัตถุประสงคเพื่อตองการใหทํางานเร็วกวาดานแรงสูงประมาณ<br />

0.5<br />

วินาที นอกจากนี้รีเลยดานแรงต่ําจะตองจัดลําดับการทํางานรวมกับรีเลยของการไฟฟาสวนภูมิภาค<br />

โดยที่รีเลยของการไฟฟาสวนภูมิภาคจะตองทํางานเร็วกวาที่เวลาประมาณ<br />

1.0 วินาที สําหรับ<br />

กรณีศึกษานี้จากภาพที่<br />

116 ซึ่งเปนการใชโปรแกรมพล็อตกราฟแสดงใหเห็นวาเมื่อการเซตติ้งกระ<br />

แสเริ่มตนทํางานของรีเลยทั้งสองดานเทากันที่<br />

150% กราฟทางดานแรงสูงและดานแรงต่ําทับกัน<br />

สมมติวาถาเกิดกระแสเกินที่ระดับประมาณ<br />

150% รีเลยทั้งสองดานอาจจะทํางานพรอมกันหรือดาน<br />

แรงสูงอาจจะทํางานกอนดานแรงต่ํา<br />

ซึ่งที่จริงผลลัพธเทามีคาเทากันคือหมอแปลงทริปแตเราจะไมรู<br />

วา ฟอลตเกิดขึ้นอยูตําแหนงใดเกิดกอนหรือหลังรีเลยดานแรงต่ํา<br />

การจัดลําดับที่ดีกราฟทั้งสองเสน<br />

ไมควรทับกัน แตในกรณีที่เกิดการลัดวงจรสามเฟสดานสายสง<br />

22 kV รีเลยดานแรงต่ําจะทํางาน<br />

กอนแนนอน<br />

การปองกันกระแสเกินลงดินดานแรงต ำ 22 kV การเซตติ้งกระแสเริ่มตนทํางาน<br />

ประมาณ 30%ของกระแสพิกัดโหลด และเลือกเวลาในการทริปที่<br />

1.5 วินาทีซึ่งการจัดลําดับการ<br />

207


ทํางานของรีเลยกระแสเกินลงจะตองจัดลําดับรวมกับรีเลยกระแสเกินลงดินเชนกัน นอกจากนี้จะ<br />

เห็นวาการปองกันกระแสเกินที่เฟสและกระแสเกินลงดินในระบบสงจะไมใชการปองกันกระแส<br />

เกินทันทีทันใดเนื่องจากตองการจัดลําดับการทํางานรวมกันของรีเลยหลายตัว<br />

5.4 กรณีศึกษาที่<br />

4 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนกระบี่<br />

การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลยรุน<br />

KBCH (ALSTOM)การปองกันหมอแปลง<br />

หลัก(Main Transformer) หมอแปลงจายโหลดในโรงไฟฟา(Unit Transformer) รวมทั้งเครื่องกําเนิด<br />

ไฟฟา เนื่องจากหมอแปลงแตละตัวมีแท็ปแรงดัน<br />

ในการปองกันหมอแปลงหลัก(87MT)ทําการหา<br />

กระแสผลตางที่ตําแหนงแท็ป<br />

0% แท็ป +5% และแท็ป –5% สวนหมอแปลงจายโหลดในโรงไฟฟา<br />

(87UT)ทําการหากระแสผลตางที่ตําแหนงแท็ป<br />

0% แท็ป +15% และแท็ป –15% และสําหรับการ<br />

ปองกันวัดคาผลตางทั้งหมด(87GT:Overall<br />

Differential Protection)ทําการหากระแสผลตางที่แท็ป<br />

ตางๆระหวางหมอแปลงหลักกับหมอแปลงจายโหลดในโรงไฟฟาที่จะเกิดขึ้นสูงสุดสามกรณีคือ<br />

กรณีแรกที่ตําแหนงแท็ป<br />

0%กับแท็ป 0% กรณีที่สองที่ตําแหนงแท็ป<br />

+5%กับแท็ป –15% และกรณี<br />

ที่สามที่ตําแหนงแท็ป<br />

–5%กับแท็ป +5% เพื่อใหแนใจวาคากระแสเริ่มตนทํางานจะตองสูงกวา<br />

กระแสผลตางที่ตําแหนงแท็ปตางๆ<br />

ในการคํานวณหาคากระแสผลตางและกระแสไบแอสจะใช<br />

หลักการกระแสที่ไหลออกจากเครื่องกําเนิดเทากับกระแสที่ไหลเขาหมอแปลงหลัก(Step<br />

up) รวม<br />

กับกระแสที่ไหลเขาหมอแปลงจายโหลดในโรงไฟฟา<br />

นอกจากนี้รีเลยดิจิตอลตัวนี้ตองคํานวณหาคา<br />

แกไขอัตราสวนหมอแปลงกระแสเพื่อปรับกระแสที่ไหลเขารีเลย<br />

ในการปองกันวัดคาผลตางทั้ง<br />

สามที่ไดกลาวขางตน<br />

คากระแสเซตติ้งเทากับ<br />

20%ของกระแสพิกัดหมอแปลงกระแสซึ่งต่ํากวาใน<br />

กรณีศึกษาที่<br />

3 ที่มีคาเซตติ้ง<br />

30% นั้นหมายความวาเมื่อเกินกระแสผลตางในเขตเพียง20%ของ<br />

กระแสพิกัดหมอแปลงกระแส(5A) ทําใหมีการปองกันที่มีความไวสูง<br />

แตเมื่อสังเกตุที่เสนโคงความ<br />

ชันจะเห็นวารีเลยดิจิตอลตัวนี้มีเสนโคงความชันสองเสนๆแรกที่<br />

20% และเสนที่สองที่<br />

80% โดยมี<br />

จุดเปลี่ยนความชันที่<br />

1.0In(5A) และยังไมสามารถปรับเสนโคงความชันได สวนการเซตติ้งกระแส<br />

ผลตางทันทีทันใดจะทําการตรวจสอบวากระแสสนามแมเหล็กพุงเขาและกระแสฟอลตที่นอกเขต<br />

คาใดมีคาสูงที่สุดแลวเลือกคาสูงสุดคูณดวยชวงเผื่อ<br />

1.5 เทาและนําไปเลือกคากระแสทริปฉับพลัน<br />

การปองกันแรงดันตอความถี่หรือปองกันการเกิดฟลักซสูงเกิน(59/81G)<br />

เปนการ<br />

ปองกันรวมกันทั้งหมอแปลงหลักและเครื่องกําเนิดไฟฟาโดยใชหมอแปลงแรงดันเปนแปลงแรงดัน<br />

208


และนําไปเทียบกับความถี่มูลฐาน<br />

50 Hz เมื่ออัตราสวนระหวางแรงดันตอความถี่เกินคาเซตติ้งจะ<br />

แบงออกเปนสองสัญญาณคือสัญญาณเตือนกับสั่งทริป<br />

สวนใหญเวลาที่ใชในสั่งทริปจะไมเกิน<br />

1<br />

นาทีจากในกรณีศึกษานี้ทําการเซตติ้งสําหรับสัญญาณเตือนที่<br />

105% ที่เวลา<br />

0.1 วินาที่<br />

และสั่งทริปที่<br />

คา 105% ที่เวลา<br />

30 วินาที หรือสั่งทริปที่คา<br />

118% ที่เวลา<br />

2.0 วินาที่<br />

ซึ่งปกติคาความถี่ปกติของ<br />

เครื่องกําเนิดจะอยูในชวง<br />

± 2% หรือ 49 ~ 51 Hz และคาแรงดันจะอยูในชวง<br />

± 5 %<br />

5.5 กรณีศึกษาที่<br />

5 การปองกันหมอแปลงโรงไฟฟาพลังความรอนรวมราชบุรี<br />

เปนการปองกันครอบคลุมทั้งขดลวดหมอแปลงและขดลวดของเครื่องกําเนิด<br />

โดยที่<br />

หมอแปลงสามารถปรับแท็ปแรงดันดานแรงสูงได ± 5 %(5 แท็ปๆละ 2.5%) เปนแบบปรับแท็ป<br />

ขณะไมมีโหลด ดังนั้นหลักการเซตติ้งจะพิจารณาวาที่แท็ป<br />

0% แรงดันเทากับ 230 kV ที่แท็ป<br />

–5%<br />

แรงดันเทากับ218.5 kV และที่แท็ป<br />

+5% แรงดันเทากับ 241.5 kV สวนดานแรงดันต่ําคงที่เทากับ<br />

18 kV ดังนั้นกระแสผลตางสูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่อหมอแปลงปรับไปที่แท็ป+5%<br />

แรงดันเทากับ 241.5<br />

kV จากการคํานวณจะไดวากระแสผลตางสูงสุดเมื่อแปลงไปที่ดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส<br />

เทากับ 11% ของกระแสพิกัดหมอแปลงกระแส(5A) กรณีศึกษานี้ใชคานี้เปนกระแสเริ่มตนทํางาน<br />

นั้นหมายความวาหมอแปลงตัวนี้มี<br />

5 แท็ปแรงดันแตสามารถปรับได 4 แท็ปแรงดันจาก –5% ไป<br />

จนถึง + 2.5% ถาเกิดการแสผลตางที่ไหลเขารีเลยเกิน<br />

11 % ของกระแสพิกัดหมอแปลงกระแส(5A)<br />

รีเลยจะทํางาน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาการปองกันวัดผลตางนี้ปองกันขดลวดหมอแปลงและขดลวด<br />

ของเครื่องกําเนิด<br />

209


สรุป<br />

จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลสามารถสรุปการปองกันหมอแปลงแบงออกเปนสาม<br />

ประเภทใหญๆไดแก การปองกันทางไฟฟา การปองกันทางความรอน และการปองกันทางกล โดย<br />

แบงตามชนิดของหมอแปลงดังนี้<br />

1. สรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหง จากที่ทราบกันดีวาหมอแปลงฉนวนแหงจะใช<br />

กับงานภายในอาคาร และจากการศึกษาพบ วาในปจจุบันหมอแปลงฉนวนแหงไดพัฒนาดานพิกัด<br />

กําลังไดสูงถึง 30 MVA ในการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงจะมีการปองกันสองประเภทไดแก<br />

การปองกันทางไฟฟาและการปองกันทางความรอนโดยจะไมมีการปองกันทางกล ดังนั้นสรุปการ<br />

ปองกันไดดังนี้<br />

อุปกรณปองกันทางไฟฟาไดแก กับดักเสิรจ(Surge Arrester) ฟวส รีเลยปองกันกระแส<br />

เกิน และรีเลยวัดคาผลตาง<br />

อุปกรณปองกันปองกันทางความรอนไดแก อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวด(Winding<br />

temperature detector) และรีเลยวัดความรอน(Thermal relay)ซึ่งรับสัญญาณอุฌหภูมิจากอุปกรณวัด<br />

อุณหภูมิเพื่อมาแสดงคาอุณหภูมิ<br />

สั่งควบคุมการทํางานของพัดลม<br />

สงสัญญาณเตือน และสั่งทริป<br />

หมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแต<br />

1~ 5,000 kVA<br />

กับดักเสิรจการใชงานอุปกรณตัวนี้มีความสําคัญตอหมอแปลงและมีราคาไมแพงเมื่อ<br />

เทียบกับราคาหมอแปลงและรีเลยปองกัน ดังนั้นจะใชงานกับหมอแปลงตั้งแตขนาดเล็กไปจนถ<br />

ึง<br />

ขนาดใหญ ซึ่งสวนใหญหมอแปลงที่ติดตั้งกับดักเสิรจจะเปนหมอแปลงที่รับไฟจากการไฟฟาหรือ<br />

เรียกวาหมอแปลงหลัก(Main Transformer) คําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิต<br />

อุปกรณปองกันรวมทั้งการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯแสดงในตารางที่<br />

23<br />

ฟวส ตามมาตรฐานANSI/IEEE แนะนําใหใชฟวสปองกันการลัดวงจรแทนรีเลย<br />

กระแสเกิน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชฟวสรวมกับรีเลยกระแสเกินซึ่งสวนใหญ<br />

ดานแรงสูงจะใชฟวสปองกันขณะที่ดานแรงต่ําจะใชรีเลยปองกันกระแสที่เฟสและกระแสเกินลง<br />

210


ดิน ในสวนของการใชงานในโรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตฯจะไมใชฟวสในการปองกันหมอ<br />

แปลงและ อุปกรณอื่นๆเนื่องจากจะตองมีการสํารองฟวสไวสําหรับเปลี่ยนนอกจากนี้ยังไมสะดวก<br />

และเสียเวลาในการเปลี่ยนฟวส<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหใชฟวสปองกันการลัดวงจร<br />

แทนรีเลยกระแสเกินซึ่งประหยัดกวา<br />

สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยกระแส<br />

เกินรวมกับฟวส หรือใชรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

สวนของการใช<br />

งานในโรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตฯจะใชรีเลยกระแสเกินแทนฟวสซึ่งการใชฟวสไมสะดวก<br />

ตองสํารองฟวส<br />

รีเลยผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE แนะนําวายังไม<br />

จําเปนตองใชการปองกันดวยฟวสก็เพียงพอ สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยวัด<br />

คาผลตางตั้งแตหมอแปลงขนาด<br />

2000 kVA ขึ้นไป<br />

ขณะที่การใชงานในโรงไฟฟาของการไฟฟา<br />

ฝายผลิตฯจะไมใชซึ่งการปองกันดวยรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวก็เพียงพอ<br />

รีเลยความรอน ในที่นี้ไดรวมถึงอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิที่ติดตั้งฝงในขดลวดหมอ<br />

แปลงในขั้นตอนการผลิต<br />

ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญจําเปนตองใชตามคําแนะนําจากมาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันรวมทั้งการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯ<br />

ดังแสดง<br />

ในตารางที่<br />

23<br />

ตารางที่<br />

23 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแต<br />

1 ~ 5,000 kVA<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก<br />

เสิรจ<br />

ฟวส<br />

มาตรฐานANSI/IEEE ใช ใชแทน<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

ใช ใชรวมกับ<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

การใชงานของ<br />

ใช ไมใช<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯ(EGAT)<br />

(ในโรงไฟฟา)<br />

รีเลย รีเลย รีเลย<br />

กระแสเกิน ผลตาง ความรอน<br />

ไมใช ไมใช ใช<br />

ใช<br />

หรือรวมกับฟวส<br />

ใช<br />

(ในโรงไฟฟา)<br />

ใช<br />

(ตั้งแต<br />

2000 kVA)<br />

ไมใช<br />

ใช<br />

ใช<br />

211


หมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแตมากกวา5,000<br />

kVA ~ ต่ํากวา10<br />

MVA<br />

เนื่องจากหมอแปลงฉนวนแหงที่มีขนาดตั้งแต<br />

5,000 kVA ขึ้นไปยังไมมีใชในการไฟฟา<br />

ฝายผลิตฯ ดังนั้นในการสรุปจึงไมมีการแสดงการใชงาน<br />

กับดักเสิรจ คําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

24 แนะนําใหใชทั้งหมด<br />

ฟวส หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหเลือกใชได<br />

ระหวางฟวสกับรีเลยกระแสเกินหรือใชรวมกัน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชฟวส<br />

รวมกับรีเลยกระแสเกิน<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหเลือกใชไดระหวางฟวสกับรีเลย<br />

กระแสเกินหรือใชรวมกัน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยกระแสเกินรวมกับ<br />

ฟวส หรือใชรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

รีเลยผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE แนะนําวา<br />

สามารถเลือกใชไดขึ้นอยูกับความสําคัญของหมอแปลง<br />

สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนํา<br />

ใหใชรีเลยวัดคาผลตางตั้งแตหมอแปลงขนาด<br />

2000 kVA ขึ้นไป<br />

รีเลยความรอน เปนอุปกรณที่สําคัญจําเปนตองใชตามคําแนะนําจากมาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันการปองกันทั้งหมดแสดงในตารางที่<br />

24<br />

ตารางที่<br />

24 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงตั้งแตขนาดมากกวา5,000<br />

kVA ~ ต่ํากวา<br />

10 MVA<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก<br />

เสิรจ<br />

ฟวส<br />

มาตรฐานANSI/IEEE ใช เลือกใชได<br />

(แนะนํา)<br />

หรือใชรวมกัน<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

ใช ใชรวมกับ<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

รีเลย<br />

กระแสเกิน<br />

เลือกใชได<br />

หรือใชรวมกัน<br />

ใชอยางเดียวหรือ<br />

ใชรวมกับฟวส<br />

รีเลย<br />

ผลตาง<br />

เลือกใชได<br />

หรือใชรวมกัน<br />

ใช<br />

รีเลย<br />

ความรอน<br />

ใช<br />

ใช<br />

212


หมอแปลงแบบแหงขนาดตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไป<br />

กับดักเสิรจ ใชตามคําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณ<br />

ปองกันดังแสดงในตารางที่<br />

25<br />

ฟวส หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐานANSI/IEEE<br />

และบริษัทผูผลิต<br />

อุปกรณปองกันแนะนําวาไมควรใชเนื่องจากหมอแปลงในชวงนี้มีพิกัดกระแสสูงและตองการ<br />

ปองกันที่มีความไวสูงซึ่งฟวสไมสามารถปองกันได<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนํา<br />

ใหใชรีเลยกระแสเกินแทนการใชฟวส<br />

รีเลยวัดคาผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE และ<br />

บริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยวัดคาผลตางซึ่งมีความไว(Sensitivity)ในการปองกัน<br />

สูง<br />

รีเลยความรอน เปนอุปกรณที่สําคัญจําเปนตองใชตามคําแนะนําจากมาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันการปองกันทั้งหมดแสดงในตารางที่<br />

25<br />

ตารางที่<br />

25 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนแหงขนาดตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไป<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก ฟวส รีเลย รีเลย รีเลย<br />

เสิรจ<br />

กระแสเกิน ผลตาง ความรอน<br />

มาตรฐานANSI/IEEE<br />

(แนะนํา)<br />

ใช ไมใช ใช ใช ใช<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

(แนะนํา)<br />

ใช ไมใช ใช<br />

ใช ใช<br />

213


2. การปองกันหมอแปลงแบบฉนวนเหลว ในการใชงานหมอแปลงแบบฉนวนเหลวจะใช<br />

กับงานภายนอกอาคารหรือบางครั้งใชภายในอาคารกรณีที่ตองการใชหมอแปลงขนาดใหญที่หมอ<br />

แปลงแบบแหงไมมีขนาดและจากการศึกษาพบ วาในปจจุบันหมอแปลงแบบฉนวนเหลวไดพัฒนา<br />

ดานพิกัดกําลังไดสูงกวา 1000 MVA ในการปองกันหมอแปลงแบบฉนวนเหลวจะมีการปองกัน<br />

สามประเภทไดแก การปองกันทางไฟฟาและการปองกันทางความรอนและการปองกันทางกล<br />

หมอแปลงแบบฉนวนเหลวขนาดตั้งแต<br />

1- 5,000 kVA<br />

ซึ่งหมอแปลงพิกัดกําลังในชวงนี้เราจะเห็นไดตามเสาไฟฟาที่ใชในระบบจําหนายแรง<br />

ต่ํา(11-33<br />

kV/400-480 V)หรือติดตั้งภายนอกอาคารใชเปนหมอแปลงหลัก(Main<br />

transformer)<br />

กับดักเสิรจ การใชงานจะใชงานกับหมอแปลงตั้งแตขนาดเล็กไปจนถ<br />

ึงขนาดใหญ ซึ่ง<br />

สวนใหญหมอแปลงที่ติดตั้งตัวดักจับเสิรจจะเปนหมอแปลงที่รับไฟจากการไฟฟาหรือเรียกวาหมอ<br />

แปลงหลัก(Main Transformer) คําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณ<br />

ปองกันรวมทั้งการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯแสดงในตารางที่<br />

26<br />

ฟวส ตามมาตรฐานANSI/IEEE แนะนําใหใชฟวสปองกันการลัดวงจรแทนรีเลย<br />

กระแสเกิน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชฟวสรวมกับรีเลยกระแสเกินซึ่งสวนใหญ<br />

ดานแรงสูงจะใชฟวสปองกันขณะที่ดานแรงต่ําจะใชรีเลยปองกันกระแสที่เฟสและกระแสเกินลง<br />

ดิน ในสวนของการใชงานในโรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตฯจะไมใชฟวสในการปองกันหมอ<br />

แปลงและ อุปกรณอื่นๆเนื่องจากจะตองมีการสํารองฟวสไวสําหรับเปลี่ยนนอกจากนี้ยังไมสะดวก<br />

และเสียเวลาในการเปลี่ยนฟวส<br />

ขณะที่ในสถานีไฟฟาจะใชฟวสปองกันดานแรงสูงและดานแรงต่ํา<br />

ใชรีเลยกระแสเกินปองกันที่ทางเขาสวิทชเกียร(In<br />

comming)<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหใชฟวสปองกันการลัดวงจร<br />

แทนรีเลยกระแสเกินซึ่งประหยัดกวา<br />

สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยกระแส<br />

เกินรวมกับฟวส หรือใชรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

สวนของการใช<br />

งานในโรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตฯจะใชรีเลยกระแสเกินแทนฟวสซึ่งการใชฟวสไมสะดวก<br />

ตองสํารองฟวส<br />

214


รีเลยวัดคาผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE แนะนําวา<br />

ยังไมจําเปนตองใชการปองกันดวยฟวสก็เพียงพอ สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใช<br />

รีเลยวัดคาผลตางตั้งแตหมอแปลงขนาด<br />

2000 kVA ขึ้นไป<br />

ขณะที่การใชงานในโรงไฟฟาของการ<br />

ไฟฟาฝายผลิตฯจะไมใชซึ่งการปองกันดวยรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวก็เพียงพอ<br />

อุปกรณปองกันปองกันทางความรอนไดแก อุปกรณวัดอุณหภูมิน้ํามัน(ขนาดตั้งแต<br />

50<br />

kVA ขึ้นไป)<br />

อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวด(ขนาดตั้งแต<br />

500 kVA ขึ้นไป)<br />

ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญ<br />

จําเปนตองใชตามคําแนะนําจากมาตรฐานANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันรวมทั้งการ<br />

ใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯ<br />

ตารางที่<br />

26 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต<br />

1 ~ 5,000 kVA<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก<br />

เสิรจ<br />

ฟวส<br />

มาตรฐานANSI/IEEE ใช ใชแทน<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

ใช ใชรวมกับ<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

การใชงานของ<br />

ใช ใชรวมกับ<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯ(EGAT)<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

ในสถานีไฟฟา<br />

รีเลย รีเลย อุปกรณปองกัน<br />

กระแสเกิน ผลตาง ทางความรอน<br />

ไมใช ไมใช ใช<br />

ใช<br />

หรือรวมกับฟวส<br />

ใช<br />

(ในโรงไฟฟา)<br />

ใช<br />

(ตั้งแต2000<br />

kVA)<br />

ไมใช<br />

หมอแปลงแบบฉนวนเหลวตั้งแตขนาดมากกวา<br />

5,000 ~ แตไมเกิน 10 MVA<br />

ซึ่งหมอแปลงพิกัดกําลังในชวงนี้เราจะเห็นไดในอาคารพาณิชขนาดใหญ<br />

โรงงาน<br />

อุตสาหกรรมรวมถึงสถานีไฟฟายอยของระบบจําหนายแรงดันปานกลาง(11-33 kV/(69-230 kV )<br />

กับดักเสิรจ ควรใชตามคําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณ<br />

ปองกันรวมทั้งการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯแสดงในตารางที่<br />

27<br />

ใช<br />

ใช<br />

215


ฟวส หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหเลือกใชได<br />

ระหวางฟวสกับรีเลยกระแสเกินหรือใชรวมกัน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชฟวส<br />

รวมกับรีเลยกระแสเกิน สวนการไฟฟาฝายผลิตฯไมใช<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

แนะนําใหเลือกใชไดระหวางฟวสกับรีเลย<br />

กระแสเกินหรือใชรวมกัน สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนําใหใชรีเลยกระแสเกินรวมกับ<br />

ฟวส หรือใชรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา<br />

สวนสวนของการใชงานใน<br />

โรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตฯจะใชรีเลยกระแสเกินแทนฟวสซึ่งการใชฟวสไมสะดวกตอง<br />

สํารองฟวส<br />

รีเลยวัดคาผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE แนะนําวา<br />

สามารถเลือกใชไดขึ้นอยูกับความสําคัญของหมอแปลง<br />

สวนบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันแนะนํา<br />

ใหใชรีเลยวัดคาผลตางตั้งแตหมอแปลงขนาด<br />

2000 kVA ขึ้นไป<br />

สวนการใชงานในโรงไฟฟาของ<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯจะไมใชซึ่งการปองกันดวยรีเลยกระแสเกินเพียงอยางเดียวก็เพียงพอ<br />

อุปกรณปองกันปองกันทางความรอน ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญจําเปนตองใชตาม<br />

คําแนะนําจากมาตรฐานANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันรวมทั้งการใชงานของการ<br />

ไฟฟาฝายผลิตฯ<br />

ตารางที่<br />

27 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวตั้งแตขนาดมากกวา<br />

5,000 ~ แตไมเกิน<br />

10 MVA<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก ฟวส รีเลย<br />

เสิรจ<br />

กระแสเกิน<br />

มาตรฐานANSI/IEEE ใช เลือกใชได เลือกใชได<br />

(แนะนํา)<br />

หรือใชรวมกัน หรือใชรวมกัน<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

ใช ใชรวมกับ ใชอยางเดียวหรือ<br />

(แนะนํา)<br />

รีเลยกระแสเกิน ใชรวมกับฟวส<br />

การใชงานของ<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯ(EGAT)<br />

ใช ไมใช ใช<br />

รีเลย<br />

ผลตาง<br />

เลือกใชได<br />

หรือใชรวมกัน<br />

ใช<br />

(ตั้งแต2000<br />

kVA)<br />

ไมใช<br />

อุปกรณปองกัน<br />

ทางความรอน<br />

ใช<br />

ใช<br />

ใช<br />

216


หมอแปลงแบบฉนวนเหลวขนาดตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไป<br />

ซึ่งหมอแปลงพิกัดกําลังในชวงนี้เราจะเห็นไดในสถานีไฟฟายอยของระบบจําหนายแรงดันปาน<br />

กลาง(11-33 kV/ 69-230 kV )หรือสถานีไฟฟาของ กฟผ. ในระบบสง(69-500 kV) และในระบบ<br />

ผลิตหรือในโรงไฟฟา<br />

กับดักเสิรจ ใชตามคําแนะนําของมาตรฐาน ANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณ<br />

ปองกันดังแสดงในตารางที่<br />

28<br />

ฟวส หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐานANSI/IEEE<br />

บริษัทผูผลิตอุปกรณ<br />

ปองกันและการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯแนะนําวาไมควรใชเนื่องจากหมอแปลงในชวงนี้มี<br />

พิกัดกระแสสูงและตองการปองกันที่มีความไวสูงซึ่งฟวสไมสามารถปองกันได<br />

รีเลยกระแสเกิน จากที่มาตรฐานANSI/IEEE<br />

บริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันและการใช<br />

งานของการไฟฟาฝายผลิตฯแนะนําใหใชรีเลยกระแสเกินแทนการใชฟวส<br />

รีเลยวัดคาผลตาง หมอแปลงที่มีพิกัดกําลังอยูในชวงนี้มาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE<br />

บริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันและการใชงานของการไฟฟาฝายผลิตฯแนะนําใหใชรีเลยวัดคาผลตาง<br />

ซึ่งมีความไว(Sensitivity)ในการปองกันสูง<br />

อุปกรณปองกันปองกันทางความรอน ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญจําเปนตองใชตาม<br />

คําแนะนําจากมาตรฐานANSI/IEEE และบริษัทผูผลิตอุปกรณปองกันรวมทั้งการใชงานของการ<br />

ไฟฟาฝายผลิตฯ<br />

ตารางที่<br />

28 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต10<br />

MVA ขึ้นไป<br />

อุปกรณปองกัน กับดัก ฟวส รีเลย รีเลย อุปกรณปองกัน<br />

เสิรจ<br />

กระแสเกิน ผลตาง ทางความรอน<br />

มาตรฐานANSI/IEEE<br />

(แนะนํา)<br />

ใช ไมใช ใช ใช ใช<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

(แนะนํา)<br />

ใช ไมใช ใช ใช ใช<br />

การใชงานของ<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯ(EGAT)<br />

ใช ไมใช ใช ใช ใช<br />

217


การปองกันทางกลของหมอแปลงฉนวนเหลว<br />

อุปกรณปลอยความดัน (Pressure Relief ) เริ่มใชกับหมอแปลงขนาดต่ํากวา<br />

500 kVA<br />

อุปกรณระบายความดันและตัวแสดงความดัน (Press-Vacuum Bleeder&Indicator)<br />

มาตรฐาน ANSI/IEEE แนะนําใหควรใชตั้งแตขนาด<br />

2500 kVA สวนบริษัทผูผลิตก็จะกําหนดตาม<br />

มาตรฐาน ANSI/IEEE อีกที ขณะที่การใชงานของการไฟฟาฝายผลิตก็ใชตามบริษัทผูผลิต<br />

รีเลยความดันทันทีทันใด (Sudden Gas/Oil Pressure Relay) มาตรฐาน ANSI/IEEE<br />

แนะนําใหควรใชตั้งแตขนาด<br />

2500 kVA สวนบริษัทผูผลิตก็จะกําหนดตามมาตรฐาน<br />

ANSI/IEEE<br />

อีกที ขณะที่การใชงานของการไฟฟาฝายผลิตก็ใชตามบริษัทผูผลิต<br />

บุคโฮลซรีเลย (Buchholz Relay) มาตรฐาน ANSI/IEEE ไมไดกําหนดวาควรเริ่มใชงาน<br />

ที่ขนาดเทาใด<br />

สวนบริษัทผูผลิตแนะนําใหควรใชตั้งแตขนาด<br />

1000 kVA ขณะที่การใชงานของการ<br />

ไฟฟาฝายผลิตก็ใชตามบริษัทผูผลิต<br />

ตัวตรวจจับกาช (Gas Detector) มาตรฐาน ANSI/IEEE ไมไดกําหนดวาควรเริ่มใชงานที่<br />

ขนาดเทาใด สวนบริษัทผูผลิตแนะนําใหควรใชตั้งแตขนาด<br />

10 MVA ขณะที่การใชงานของการ<br />

ไฟฟาฝายผลิตก็ใชตามบริษัทผูผลิต<br />

อุปกรณปองกันทางกลไดสรุปในตารางที่<br />

29<br />

ตารางที่<br />

29 ตารางสรุปการปองกันหมอแปลงฉนวนเหลวขนาดตั้งแต10<br />

MVA ขึ้นไป<br />

อุปกรณปองกัน Pressure<br />

Relief<br />

มาตรฐานANSI/IEEE<br />

(แนะนํา)<br />

บริษัทผูอุปกรณปองกัน<br />

(แนะนํา)<br />

การใชงานของ<br />

การไฟฟาฝายผลิตฯ(EGAT)<br />

Press-Vacuum<br />

Bleeder&Indicator<br />

(Sealed Tank)<br />

Sudden Gas/Oil<br />

Pressure Relay<br />

(Sealed Tank)<br />

ใช<br />

ตั้งแต<br />

2500 kVA<br />

Buchholz<br />

Relay<br />

(Conservator)<br />

Gas Detector<br />

(Conservator)<br />

ใช ใช<br />

ตั้งแต<br />

2500 kVA<br />

ใช ใช<br />

ใช ใช ใช ใช ใช<br />

ตั้งแต<br />

1000 kVA ตั้งแต<br />

10 MVA<br />

ใช ใช ใช ใช ใช<br />

ตั้งแต<br />

10 MVA<br />

218


3. สรุปสถิติความเสียหายของหมอแปลงในการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สถิติที่<br />

นําเสนอนี้เปนขอมูลของหมอแปลงในระบบสงพิกัดกําลังตั้งแต<br />

10 MVA ขึ้นไปและระดับแรงดัน<br />

ตั้งแต<br />

11 kV ไปจนถึง 500 kV โดยสรุปหัวขอตามมาตรฐาน IEEE C37.91 ดังแสดงในตารางที่<br />

30<br />

ตารางที่<br />

30 สรุปสถิติความเสียหายของหมอแปลงในการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย<br />

ประเภทของความเสียหาย เปอรเซ็นตความเสียหาย<br />

3.1 ความเสียหายของขดลวด<br />

90 %<br />

3.2 ความเสียหายของตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

5 %<br />

3.3 ความเสียหายของบุชชิ่ง<br />

4 %<br />

3.4 ความเสียหายของแกนเหล็ก<br />

0 %<br />

3.5 ความเสียหายอื่นๆ<br />

1 %<br />

3.1 ความเสียหายของขดลวด สาเหตุสวนใหญเกิดจากความเสียหายทางกลหรือทาง<br />

โครงสรางของขดลวดและความเสียหายของฉนวนระหวางขดลวด<br />

3.2 ความเสียหายของตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

สาเหตุสวนใหญจะเกิดจากความเสียหายทางกล<br />

และหนาสัมผัสตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

เหล็ก<br />

3.3 ความเสียหายของบุชชิ่ง<br />

สาเหตุเกิดจากการflash over เนื่องจากสัตวและจากเสิรจ<br />

3.4 ความเสียหายของแกนเหล็ก หมอแปลงของ กฟผ. ยังไมเกิดความเสียหายของแกน<br />

3.5 ความเสียหายอื่นๆ<br />

ไดแก ความเสียหายของระบบชวยสํารอง(Auxiliary system)ซึ่ง<br />

ไดแก ปมน้ํามัน<br />

พัดลมระบายความรอน และสวนนอยที่เกิดจากจุดเชื่อมของตัวถังที่ไมดี<br />

219


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

มงคล ทองสงคราม. ม.ป.ป. หมอแปลงไฟฟา. พิมพครั้งที่<br />

2. บริษัทรามาการพิมพ จํากัด, 691 ถ.<br />

พระราม 4 สะพานเหลือง ปทุมวัน กรุงเทพฯ.<br />

ศุภชัย สุรินทรวงศ. 2543. หมอแปลงระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส. พิมพครั้งที่<br />

1. สํานักพิมพ<br />

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุน),<br />

5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถ. สุขุมวิท แขวงคลองเตย<br />

เหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ.<br />

ABB, Ltd. 2003. Power Transformer. ABB Power transformer. Available Source:<br />

http://www.abb.com/global/abbzh/abbzh251.nsf, May 10, 2003.<br />

Austen Stigant, S. and Franklin, A.C. 1973. The J&P Transformer Book. 10th ed. Fletcher<br />

and Son, Ltd., London.<br />

GEC ALSTOM Measurements Limited. 1990. Protective Relays Application Guide. 2nd ed.<br />

Balding and Mansell Publ., London.<br />

GIBBS, J.B. 1950. Transformer principles and practice. 2nd ed. McGraw-Hill Book Co.<br />

Inc., New York.<br />

Hitachi, Ltd. 1995. Large Capacity Transformers. 20.<br />

Hochart Bernard. 1987. Power Transformer Handbook. Butterworths Publ. Co. Inc., London.<br />

Huth Mark. 1995. Motor, Generator and Transformers. Delmar Publ., Albany, New York.<br />

IEC Standard. 1993. Power Transformer Part 1:General. 76-1.<br />

220


เอกสารอางอิง(ตอ)<br />

IEEE Standard. 1998. IEEE Standard General Requirements for Dry-Type Distribution<br />

and Power Transformers Including Those with Solid- Cast and/or Resin-<br />

Encapsulated Windings. C57.12.01.<br />

IEEE Standard. 1999. IEEE Standard Test Code for Liquid-Immersed Distribution, Power,<br />

and Regulating Transformers. C57.12.90.<br />

IEEE Standard. 2000. IEEE Guide for Protective Relay Applications to Power<br />

Transformers. C37.91.<br />

IEEE Standard. 2000. IEEE Standard General Requirements for Liquid-Immersed<br />

Distribution, Power, and Regulating Transformers. C57.12.00.<br />

Leonard, R. 1988. Electrical Machines and Transformers. 2nd ed. Prentice-Hall, Inc.,<br />

Englewood Cliffs, NJ, USA<br />

Lewis Blackburn, J. 1987. Protective Relaying. Marcell Dekker, Inc., New York.<br />

Mitsubishi Electric Corporation. 1990. Mitsubishi Large Power Transformers. 22.<br />

Phadke Arun, G. 1992. Power System Relaying. John Wiley and Sons, Inc., New York.<br />

SAWHNEY, A.K. 1977. A course in electrical machine design. 4th ed. Dhanpat Rai and<br />

Sons, Inc., Delhi, India.<br />

SIEMENS, Ltd. 2002. Power Transformer above 100 MVA. 14.<br />

221


เอกสารอางอิง(ตอ)<br />

Stephen, L. 1999. Electrical Transformers and Rotating Machines. Delmar Publ.,<br />

Albany, New York.<br />

Toshiba International Corporation. 1996. Power Transformer. Toshiba Power System and<br />

Services. Available Source: http://www.tic.toshiba.com.au/ website/newtic/<br />

pt_home.htm, March 20, 2003.<br />

222


ภาคผนวก<br />

223


ภาคผนวก ก<br />

ไดอะแกรมการตอรีเลยปองกันหมอแปลง<br />

224


1.1 การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลย 87<br />

1. การปองกันหมอแปลงแบบสองขดลวด<br />

ในการปองกันแบบวัดคาผลตางนี้สิ่งที่ตองนํามาพิจารณาอีกประการหนึ่งคือเวคเตอรกรุป<br />

ของหมอแปลงซึ่งมีผลตอคากระแสที่ไหลในขดลวดหมอแปลง<br />

ดังนั้นการตอหมอแปลงกระแสให<br />

เหมาะสมกับเวคเตอรกรุปของหมอแปลงจึงเปนสิ่งที่ความสําคัญ<br />

ซึ่งรูปแบบตางๆมีดังตอไปนี้<br />

1.1.1 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy1<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

หมอแปลงแบบ Dy1<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

yn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก1 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy1<br />

225


1.1.2 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy11<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

หมอแปลงแบบ Dy11<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก2 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dy11<br />

226


1.1.3 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd1<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yd1<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก3 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd1<br />

227


1.1.4 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd11<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yd11<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก4 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yd11<br />

228


1.1.5 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz1<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yz1<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

Zn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก5 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz1<br />

229


1.1.6 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz11<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yz11<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

Zn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก6 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yz11<br />

230


1.1.7 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy0<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yy0<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

yn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก7 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy0<br />

231


1.1.8 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy6<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Yy6<br />

YN<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

yn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก8 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Yy6<br />

232


1.1.9 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd0<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

หมอแปลงแบบ Dd0<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก9 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd0<br />

233


1.1.10 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd6<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

หมอแปลงแบบ Dd6<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบสตาร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก10 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dd6<br />

234


1.1.11 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz0<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Dz0<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

zn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก11 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz0<br />

235


1.1.12 รูปแบบการตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz6<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ขดลวดทํางาน<br />

รีเลย 87<br />

หมอแปลงแบบ Dz6<br />

A<br />

B<br />

C<br />

ขดลวดตาน<br />

Zn<br />

a<br />

b<br />

c<br />

87 87 87<br />

หมอแปลงกระแส<br />

ตอแบบเดลตา<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก12 การตอหมอแปลงกระแสของหมอแปลงที่มีการตอเวคเตอรกรุปแบบ<br />

Dz6<br />

236


1.2 การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลย 87 โดยใชหมอแปลงกระแสชวย(Auxiliarl CT)<br />

โดยทั่วไปรีเลยที่เปนแบบอิเล็คโทรแมคานิคหรือแบบโซลิตสเตทจะมีแท็ปเซตติ้งภายใน<br />

ตัวรีเลยเพื่อใหผูใชงานสามารถเลือกแท็ปได<br />

ซึ่งบอยครั้งที่อาจจะเกิดปญหาในการคํานวณเรื่องคา<br />

เปอรเซนตมิสแมสเกินกวาคาที่กําหนด<br />

ดังนั้นเมื่อเกิดปญหาในกรณีนี้เราจะนิยมใชหมอแปลง<br />

กระแสชวย เขามาแกไขโดยมีลักษณะการตอดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก13 ซึ่งจะสังเกตุเห็นวาหมอ<br />

แปลงกระแสหลักที่ตอกับขดลวดสตารของหมอแปลงไฟฟาจะตอแบบสตาร<br />

และที่หมอแปลง<br />

กระแสชวยจะตอแบบสตาร-เดลตาและจายกระแสใหกับรีเลย 87 อีกที<br />

ขดลวดไบแอส<br />

ขดลวดหมอแปลง<br />

87 87 87<br />

รีเลยแบบวัดคาผลตาง<br />

หมอแปลงกระแส<br />

หมอแปลงชวย<br />

ขดลวดทํางาน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก13 การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลย 87 โดยใชหมอแปลงกระแสชวย<br />

237


1.3 การปองกันแบบวัดคาผลตางแบบสมดุลยอยางหยาบ(Rough Balance)<br />

การปองกันแบบนี้เปนการปองกันแบบวัดคาผลตางและใชเปนการปองกันสํารองของ<br />

ระบบทั่วไปนอกจากนี้ยังใชปองกันโหลดเกินไดอีกดวย<br />

โดยจะใชรีเลยกระแสเกิน(รีเลย 51)ตั้ง<br />

คากระแสใหทํางานสูงกวากระแสโหลด เชนตั้งคาประมาณ125<br />

เปอรเซนตของกระแสโหลด<br />

ลักษณะการปองกันแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก14<br />

ขดลวดหมอแปลง หมอแปลงกระแส<br />

51 51 51<br />

รีเลยกระแสเกิน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก14 การปองกันแบบวัดคาผลตางแบบสมดุลยอยางหยาบ<br />

238


2. การปองกันหมอแปลงแบบสามขดลวด<br />

การปองกันหมอแปลงแบบสามขดลวดนั้นจะไมแตกตางจากการปองกันหมอแปลงแบบ<br />

สองขดลวดมากนักไมวาจะเปนลักษณะการตอหมอแปลงกระแส การตอรีเลยปองกันหรือการ<br />

คํานวณกระแสที่ไหลในรีเลย<br />

ซึ่งเราจะใชหลักการเหมือนกับแบบสองขดลวด<br />

โดยทําการเทียบ<br />

ระหวางขดลวดที่<br />

1 กับ 2 ตอดวยขดลวดที่<br />

1 กับ 3 และสุดทายเทียบกันระหวางขดลวดที่<br />

2 และ 3<br />

แตละขดลวดจะมีระดับแรงดันไมเทากัน และจากการศึกษาขอมูลเราพอที่จะสรุปไดวาไมวาขดลวด<br />

ของหมอแปลงจะตอแบบใดก็ตามลักษณะการใชงานหมอแปลงแบบสามขดลวดและรูปแบบการ<br />

ปองกันแบบวัดคาผลตาง(รีเลย 87)สามารถแบงไดดังนี้<br />

1. การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่มีหนึ่งแหลงจาย<br />

ในกรณีนี้จะมีแหลงจายเพียงดานเดียวดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก15 และอีกสองขดลวดที่<br />

เหลือทําการจายโหลดเพียงอยางเดียวโดยไมตอกับแหลงจายอื่น<br />

ซึ่งในลักษณะนี้เราสามารถใช<br />

รูปแบบการปองกันของหมอแปลงสองขดลวดไดโดยที่หมอแปลงกระแสดานจายโหลดตอขนาน<br />

กันถึงแมวาแรงดันของทั้งสองขดลวดตางกันแตผลรวมกระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสที่<br />

ขนานกันจะสมดุลยกับกระแสทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสดานแหลงจาย<br />

ดานแหลงจายไฟ จายโหลด<br />

A<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก15 การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่มีหนึ่งแหลงจาย<br />

87<br />

B<br />

C<br />

จายโหลด<br />

239


2. การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่แหลงจายทั้งสองดาน<br />

ในกรณีนี้ถาทําการปองกันโดยมีลักษณะในภาพผนวกที่<br />

ก15 จะเปนอันตรายอยางยิ่ง<br />

ตัวอยางเชน ในภาพผนวกที่<br />

ก15 ดาน A เปนแหลงจายไฟดานหนึ่งและดานC<br />

ปกติจายโหลดแตถา<br />

ตอกับแหลงจายอีกดานหนึ่ง<br />

สวนดาน B จายโหลดเพียงอยางเดียว ถาเบรคเกอรดาน A เปดวงจร<br />

ออก ดานC จายไฟใหกับดาน B และเกิดการลัดวงจรภายนอกเขตปองกันทางดาน B ดวยอัตราสวน<br />

หมอแปลงกระแสที่แตกตางกันทําใหเกิดการคลาดเคลื่อนไมเทากัน<br />

ซึ่งอาจจะทําใหเกิดกระแส<br />

ตกคางและไหลเขาสูขดลวดทํางาน<br />

และกระแสนี้อาจจะสูงเกินคากระแสที่ตั้งไวทําใหรีเลยทํางาน<br />

ผิดพลาดได ดังนั้นควรใชรูปแบบการปองกันดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก16 จะเหมาะสมและ<br />

ปลอดภัยกวา<br />

A<br />

ดานแหลงจายไฟ<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก16 การปองกันแบบวัดคาผลตางกรณีที่แหลงจายทั้งสองดาน<br />

87<br />

ดานโหลด<br />

B<br />

C<br />

ตอกับแหลง<br />

จายไฟอื่น<br />

240


3. การปองกันหมอแปลงแบบออโต<br />

1. การปองกันการลัดวงจรลงดิน<br />

เปนการปองกันโดยใชรีเลยวัดคาผลตางแบบอิมพีแดนซสูง การตอแบบนี้หมอแปลง<br />

กระแสทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิจะตอขนานกันทั้งสามเฟสและมีหมอแปลงกระแสอีกหนึ่งตัว<br />

ตอที่จุดนิวตรอลดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก17<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก17 การปองกันการลัดวงจรลงดิน<br />

87<br />

ขดลวดหมอแปลงแบบออโต<br />

รีเลยแบบวัดคาผลตาง<br />

แบบอิมพีแดนซสูง<br />

241


2. การปองกันการลัดวงจรในสายเฟสและการลัดวงจรลงดิน<br />

เปนการปองกันโดยใชรีเลยวัดคาผลตาง(รีเลย 87)และหมอแปลงกระแสทางดานปฐมภูมิ<br />

และทุติยภูมิจะตอแบบสตารแยกกันแตละเฟสและหมอแปลงกระแสที่จุดนิวตรอลก็จะแยกวัด<br />

คากระแสแตละเฟสดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ก18<br />

ขดลวดหมอแปลงแบบออโต<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก18 การปองกันการลัดวงจรในสายเฟสและการลัดวงจรลงดิน<br />

87<br />

87<br />

87<br />

242


4. การปองกันหมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

หมอแปลงที่ตอลงดิน(Grounding<br />

Transformer) คือหมอแปลงที่ใชสําหรับเปนจุดตอลงดิน<br />

ใหแกระบบที่มีการตอแบบเดลตาและหมอแปลงประเภทนี้จะเปนหมอแปลงที่มีขดลวดแบบซิก<br />

แซก(Zigzag) ซึ่งในวิทยานิพนธฉบับนี้จะกลาวถึงการใชหมอแปลงที่ตอลงดินนํามาตอกับขดลวด<br />

เดลตาของหมอแปลงไฟฟากําลังและมีรูปแบบการปองกันดังนี้คือ<br />

1. การปองกันแบบวัดคาผลตางดวยรีเลย 87<br />

หมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

ดานขดลวดเดลตา<br />

หมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก19 การปองกันแบบวัดคาผลตางของหมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

87<br />

รีเลยวัดคาผลตาง<br />

243


2. การปองกันกระแสเกิน<br />

หมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

ดานขดลวดเดลตา<br />

หมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

51 51 51<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก20 การปองกันกระแสเกินของหมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

51n<br />

รีเลยปองกัน<br />

กระแสเกิน<br />

รีเลยปองกัน<br />

การลัดวงจรลงดิน<br />

244


3. การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณดวยรีเลย 64<br />

หมอแปลงไฟฟากําลัง<br />

ดานขดลวดเดลตา<br />

หมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก21 การปองกันการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณของหมอแปลงที่ตอลงดิน<br />

64<br />

245


5. การปองกันหมอแปลงไฟฟาดวยรีเลยแบบดิจิตอล<br />

จากหัวขอที่หนึ่งถึงหัวขอที่สี่ที่ผานมาในภาคผนวก<br />

ก เปนการแสดงรูปแบบการตอและ<br />

การปองกันหมอแปลงไฟฟาโดยใชรีเลยแบบแมกคานิคัล(Mechanical Relay) และรีเลยแบบโซลิตส<br />

เตท(Solid-State relay) ซึ่งในการนําไปใชงานจะตองตอหมอแปลงกระแสใหสอดคลองกับลักษณะ<br />

การตอของขดลวดหมอแปลงไฟฟาที่ทําการปองกัน<br />

เพื่อใหไดคากระแสทางดานทุติยภูมิของหมอ<br />

แปลงกระแสมีความถูกตอง และรีเลยที่ใชปองกันจะทํางานไดอยางถูกตองซึ่งทําใหหมอแปลง<br />

ไฟฟาไดรับการปองกันที่ดี<br />

ในปจจุบันรีเลยที่ใชงานสวนใหญจะเปนรีเลยแบบดิจิตอลซึ่งมีความ<br />

สะดวกในการใชงานสูงและในบางรุนรีเลยหนึ่งตัวมีฟงกชันการปองกันหลายอยางซึ่งมากกวารีเลย<br />

แบบแมกคานิคัล(Mechanical Relay) และรีเลยแบบโซลิตสเตท(Solid-State Relay) นอกจากนี้ใน<br />

ปจจุบันราคาถูกลง และไมตองยุงยากในการตอหมอแปลงกระแสโดยทั้งไปรีเลยแบบดิจิตอลจะมี<br />

การตอหมอแปลงกระแสแบบสตาร ซึ่งจุดตอรวมของหมอแปลงกระแสจะอยูติดทางดานตัวหมอ<br />

แปลงไฟฟาโดยที่ขั้วหมอแปลงกระแสดานที่กระแสไหลเขา(<br />

จุด dot )จะหันออกจากหมอแปลง<br />

ไฟฟา และเมื่อนําไปตอกับรีเลยตัวรีเลยจะทําการแกไขมุมเฟสของกระแสในสมดุลโดยการปอน<br />

ขอมูลเขาที่ตัวรีเลยซึ่งเปนขั้นตอนในการเซตติ้งการทํางาน<br />

ในหัวขอนี้จะแสดงตัวอยางการปองกัน<br />

หมอแปลงไฟฟาของรีเลยแบบดิจิตอลและฟงกชันการทํางานภายในของรีเลยแบบดิจิตอล<br />

1. การปองกันดวยฟงกชันวัดคาผลตาง(87T)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก22 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T)<br />

246


2. การปองกันดวยฟงกชันวัดคาผลตาง(87T) และการปองกันการลัดวงจรลงดินดวยฟงกชันกระแส<br />

เกิน(51G)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก23 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชันกระแสเกิน(51G)<br />

3. การปองกันดวยฟงกชันวัดคาผลตาง(87T) และการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณดวยฟงกชัน<br />

กระแสเกิน(51N)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก24 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชันกระแสเกิน (51N)<br />

247


4. การปองกันดวยฟงกชันวัดคาผลตาง(87T) และการลัดวงจรลงดินแบบจํากัดบริเวณดวยฟงกชัน<br />

วัดคาผลตาง (87N)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ก25 การปองกันแบบวัดคาผลตาง(87T) และฟงกชัน (87N)<br />

248


ภาคผนวก ข<br />

โครงสราง องคประกอบอื่นๆและการตั้งคาอุปกรณปองกันหมอแปลง<br />

249


1. โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบคอรและแบบเชล<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข1 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบคอร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข2 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเชล<br />

250


2. หมอแปลงสามเฟสแบบเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลดและแบบเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข3 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข4 โครงสรางหมอแปลงสามเฟสแบบเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด<br />

251


3. ตัวเปลี่ยนแท็ป(Tap<br />

changers)<br />

มีสองชนิดคือตัวเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด(Off-load<br />

tap changer)และตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

ขณะมีโหลด(On-load tap changer)<br />

3.1 ตัวเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด(Off-load<br />

tap changer) ประกอบดวยหนาสัมผัส<br />

เคลื่อนที่และหนาสัมผัสที่อยูกับที่<br />

ในการเปลี่ยนแท็ปจะใชอุปกรณหมุนดวยมือ(Handle)หรืออาจจะ<br />

ใชมอเตอรเปนตัวขับก็ได ลักษณะโครงสรางแสดงดังภาพผนวกที่<br />

ข5<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข5 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะไมมีโหลด<br />

252


3.2 ตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด(On-load<br />

tap changer) องคประกอบหลักของตัวเปลี่ยน<br />

แท็ปแบบนี้ประกอบดวย<br />

3.2.1 สวิตชเปลี่ยนแท็ป(Diverter<br />

switch) ซึ่งทําหนาที่เปนตัวเปลี่ยนกระแสโหลดจาก<br />

แท็ปที่ใชงานไปยังแท็ปที่ตองการจะเปลี่ยนไป<br />

โดยที่ทั้งสองแท็ปจะถูกเลือกโดยตัวเปลี่ยนแท็ป<br />

(Tap selector) ภายในสวิตชเปลี่ยนแท็ปจะประกอบไปดวย<br />

ตัวถังดานบน(Tap changer head case)<br />

ถังสวิตชเปลี่ยนแท็ป(Diverter<br />

switch vessel) และชุดเปลี่ยนแท็ป(Diverter<br />

insert) ซึ่งภายในชุดนี้จะ<br />

มีตัวขับเคลื่อนทางกล(Quick<br />

motion mechanism) หนาสัมผัสสวิตชเปลี่ยนแท็ป(Diverter<br />

switch<br />

contact) และตัวตานทานจํากัดกระแส(Current limiting resistor) ดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข6 ถึง<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข8<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข6 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด<br />

253


ตัวถังดานบน (Tap changer head case) ถังสวิตชเปลี่ยนแท็ป(Diverter<br />

switch vessel)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข7 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข8 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด<br />

254


3.2.2 ตัวเปลี่ยนแท็ป(Tap<br />

selector) ทําหนาที่เลือกแท็ปของขดลวดหมอแปลงที่<br />

ตองการจะเปลี่ยนและทํางานรวมกับสวิตชเปลี่ยนแท็ป<br />

ลักษณะโครงสรางแสดงดังภาพผนวกที่<br />

ข9<br />

ตัวเปลี่ยนแท็ป(Tap<br />

selector)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข9 โครงสรางตัวเปลี่ยนแท็ปขณะมีโหลด<br />

255


4. อุปกรณความดันทันทีทันใด(Sudden pressure device)<br />

อุปกรณชนิดนี้ใชกับหมอแปลงที่เปนแบบฉนวนน้ํามันซึ่งจะมีสวิตชความดันสงสัญญาณ<br />

ใหกับวงจรทริปหมอแปลง โดยที่อุปกรณจะทํางานเมื่อเกิดความแตกตางของความดันภายในตัวถัง<br />

หมอแปลงและสามารถแบงออกไดเปนสองชนิดคือ ชนิดแรกวัดความดันของกาชซึ่งจะติดตั้ง<br />

ภายในบริเวณพื้นที่ๆเปนกาช<br />

และชนิดที่สองเปนแบบวัดความดันของน้ํามันโดยจะติดตั้งบริเวณ<br />

ดานขางของตัวถังและอยูต่ํากวาจุดต่ําสุดของระดับน้ํามัน<br />

และคาความดันที่อุปกรณทํางาน<br />

(Working pressure rise) อยูที่ประมาณ<br />

0.6kg/cm/sec. และการทํางานของหนาสัมผัส(Contact<br />

actuated) ประมาณ 0.31- 0.54 วินาที ลักษณะของอุปกรณความดันทันทีทันใดแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข10<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข10<br />

อุปกรณความดันทันทีทันใด<br />

256


5. อุปกรณปลอยความดัน(Pressure relief)<br />

เปนอุปกรณที่ใชกับหมอแปลงแบบฉนวนน้ํามันและจะติดตั้งบริเวณดานบนของตัวถัง<br />

หมอแปลง และมีสองชนิดคือชนิดแผนไดอะแฟรมที่สามารถแตกได(Bursting<br />

plate) และชนิดตั้ง<br />

คาใหมไดดวยตัวเอง(Self reset) ชนิดนี้ในการตั้งคาทํางานของอุปกรณจะขึ้นอยูกับแรงของสปริง<br />

ภายในตัวอุปกรณโดยจะตั้งคามาจากบริษัทผูผลิตซึ่งผูใชงานสามารถเลือกคาทํางานไดตั้งแตความ<br />

ดัน 0.28-0.85 bar หรือ 4-12 psi (4 ,5 ,8 ,10 ,12 psi) และสามารถเปดวาลวระบายความดันไดภายใน<br />

0.002 วินาที ลักษณะโครงสรางแสดงดังภาพผนวกที่<br />

ข11<br />

ภ าพผนวกที่<br />

ข11 อุปกรณปลอยความดันชนิดตั้งคาใหมไดดวยตัวเอง(Self<br />

reset)<br />

257


6. บุคโฮลซรีเลย(Buchholz relay)<br />

เปนอุปกรณปองกันหมอแปลงแบบฉนวนน้ํามันที่มีถังคอนเซอเวเตอร<br />

โดยที่ตัวบุคโฮลซ<br />

รีเลยจะติดตั้งระหวางตัวถังหมอแปลงหลักและถังคอนเซอเวเตอร ตัวบุคโฮลซรีเลยนี้แบงการ<br />

ทํางานปองกันหมอแปลงออกเปนสองสถานะไดแก<br />

6.1 สั่งสัญญาณเตือนเมื่อเกิดการสะสมของกาชภายในตัวบุคโฮลซรีเลยเกินคาที่ตั้งไว<br />

ซึ่ง<br />

โดยทั่วไปมีคาประมาณ<br />

200-300 ลูกบาศเมตรตามแตขนาดพิกัดหมอแปลง กรณีนี้สาเหตุเกิดจาก<br />

การแตกตัวของฉนวนน้ํามันเนื่องจากเกิดความรอนสูงเกินทําใหเกิดกาชวิ่งผานทอจากตัวถังหมอ<br />

แปลงขึ้นสูดานบนและจะถูกสะสมไวที่ตัวบุคโฮลซรีเลยแทนที่น้ํามัน<br />

เมื่อมีปริมาณมากพอตามคา<br />

ที่ตั้งไวลูกลอยดานบนจะลดระดับต่ําลงมาจนหนาสัมผัสสวิตชทํางานและสงสัญญาณใหแก<br />

วงจรไฟฟาเพื่อเตือนดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข12<br />

ภ าพผนวกที่<br />

ข12 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยในสถานะแรกเมื่อเกิดการสะสมกาช<br />

6.2 สั่งทริปหมอแปลงเมื่อเกิดความดันภายในถังหมอแปลงสูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

โดยคาที่<br />

ตั้งอยูระหวาง<br />

0.65-3.0 เมตรตอวินาทีตามแตขนาดพิกัดหมอแปลง ซึ่งขนาดของทอที่ใชมีตั้งแต<br />

50-<br />

80 มิลลิเมตร กรณีนี้สาเหตุเกิดจากการแตกตัวของฉนวนน้ํามันเนื่องจากการลัดวงจรอยางรุนแรง<br />

จนทําใหเกิดเปนคลื่นของน้ํามันที่มีความดันสูงวิ่งผานตัวตัวบุคโฮลซรีเลยไปชนตัวดักการไหลของ<br />

น้ํามัน(Damper)<br />

และทําใหลูกลอยตัวลางลดระดับลงมาจนหนาสัมผัสสวิตชทํางานและสงสัญญาณ<br />

ใหแกวงจรไฟฟาเพื่อทําการทริปและปลดหมอแปลงออกจากระบบไฟฟาดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข<br />

258


13 นอกจากนี้อาจจะเกิดกรณีที่ลูกลอยทั้งสองลดระดับลงและหนาสัมผัสของสวิตชทํางานทั้งคู<br />

เนื่องจากการรั่วของฉนวนน้ํามันทําใหระดับน้ํามันในตัวบุคโฮลซรีเลยลดลงอยางมากดังแสดงใน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข14 และลักษณะโครงสรางของบุคโฮลซรีเลยแสดงดังภาพผนวกที่<br />

ข15 และวงจร<br />

หนาสัมผัสแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข16<br />

ภ าพผนวกที่<br />

ข13 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยในสถานะสองเมื่อเกิดการพุงชนของน้ํามัน<br />

ภ าพผนวกที่<br />

ข14 การทํางานของบุคโฮลซรีเลยทั้งสองสถานะเมื่อเกิดการรั่วของน้ํามัน<br />

259


ภาพผนวกที่<br />

ข15 ลักษณะโครงสรางของบุคโฮลซรีเลย<br />

260


ภาพผนวกที่<br />

ข16 วงจรหนาสัมผัสของบุคโฮลซรีเลย<br />

7. อุปกรณระบายความดันและสูญญากาศ (Pressure and Vacuum Bleeder)<br />

อุปกรณชนิดนี้ใชปองกันหมอแปลงจากการเพิ่มอยางชาๆของความดัน<br />

ทั้งความดันบวก<br />

(Pressure) และความดันลบ (Vacuum) โดยจะมีใบมีดไวเจาะแผนระบายความเพื่อใหอากาศจาก<br />

ภายนอกเขามาในตัวถังซึ่งเมื่อความดันเปนลบเกิน<br />

-6.5 psi หรือเกิดความดันเปนบวกเกิน +6.5 psi<br />

ใบมีดจะเจาะระบายความดันภายในออกสูอากาศภายนอก<br />

อุปกรณนี้ชวยรักษาระดับความดันของ<br />

หมอแปลงและใชกับหมอแปลงแบบระบบปดที่ไมใชแบบคอนเซอรเวเตอร<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข17 อุปกรณระบายความดันและสูญญากาศ<br />

261


8. อุปกรณวัดระดับน้ํามัน(Oil<br />

level indicator)<br />

อุปกรณที่แสดงระดับน้ํามันภายในตัวถังหมอแปลง<br />

ถาหมอแปลงเปนแบบที่มีถังคอน<br />

เซอเวเตอรอยูดวยตัวอุปกรณนี้จะติดตั้งบนถังคอนเซอเวเตอรนอกจากนี้อุปกรณวัดระดับน้ํามันที่ใช<br />

กันมีอยูสองชนิดคือแบบเเมกเนติค(Magnetic<br />

type)และแบบหนาปด(Dial type) ดังแสดงในภาพ<br />

ผนวกที่<br />

ข18 และ ข19<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข18 อุปกรณวัดระดับน้ํามันแบบเเมกเนติค(Magnetic<br />

type)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข19 อุปกรณวัดระดับน้ํามันแบบหนาปด(Dial<br />

type)<br />

262


9. อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามัน<br />

(Winding and Oil temperature devices)<br />

การวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันนั้นเราจะนําคาอุณหภูมิของทั้งสองไปสั่งใหหนาสัมผัส<br />

ของสวิตชในตัวแสดงคาอุณหภูมิ(Temperature indicator)ทํางาน ตัวอยางเชนในตารางผนวกที่<br />

ค1<br />

เปนคาเซตติ้งของหมอแปลงแปลงแรงดันขี้นขนาด<br />

990 เมกกะโวลต-เเอมปของโรงไฟฟาพลังความ<br />

รอนราชบุรี<br />

่<br />

่<br />

ตารางผนวกที ค1 คาเซตติ้งของอุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามัน<br />

หนาสัมผัสที คาเซตติ้งอุณหภูมิขดลวด<br />

คาเซตติ้งอุณหภูมิน้ํามัน<br />

การใชงาน<br />

1 65 องศา 55 องศา ชุดระบายความรอน<br />

2 115 องศา 95 องศา สัญญาณเตือน<br />

3 120 องศา 100 องศา ทริปหมอแปลง<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข20 อุปกรณวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันที่ติดตั้งที่ดานขางตัวถังหมอแปลง<br />

263


ภาพผนวกที่<br />

ข21 แสดงตัวอยางวงจรการวัดอุณหภูมิขดลวดและน้ํามันโดยใชตัวเทอรโมมิเตอร<br />

264


10. ตัวกรองอากาศ(Dehydrating breater)<br />

ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ํามันทําใหระดับน้ํามันมีการเพิ่มขึ้นและลดลง<br />

ตัวกรองอากาศซึ่งภายในมีซิลิกาเจลจะทําหนาที่ดูดความชื้นและฝุนที่เปนตัวทําใหฉนวนน้ํามัน<br />

เสื่อมสภาพไมใหเขาไปสัมผัสกับน้ํามันหมอแปลง<br />

ลักษณะโครงสรางของตัวกรองอากาศแสดงดัง<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข22<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข22 โครงสรางภายในตัวกรองอากาศ<br />

265


11. อุปกรณตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร<br />

หรือเรียกอีกอยางวาเปนอุปกรณตรวจจับความผิดปกติของถุงยางในถังคอนเซอเวเตอร<br />

โดยที่จะทําหนาที่สะสมกาซที่เกิดจากการรั่วของถุงยาง(rubber<br />

cell) และทําใหอากาศภายนอกรั่ว<br />

เขามาในถังคอนเซอเวเตอรดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข23<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข23 ลักษณะโครงสรางของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร<br />

การทํางานของอุปกรณนั้นโดยปกติภายในตัวอุปกรณจะเต็มไปดวยฉนวนน้ํามันดังแสดง<br />

ในภาพผนวกที่<br />

ข24 และเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับถุงยาง(rubber<br />

cell) ทําใหเกิดการแทนที่ของ<br />

กาซภายในตัวตรวจจับทําใหระดับของน้ํามันลดลงดังแสดงในภาพผนวกที่<br />

ข25 และ ข26 ซึ่ง<br />

โดยทั่วไปจะทําการเซตติ้งคาทํางานใหแกอุปกรณที่ระดับน้ํามันที่<br />

450 ซีซี สั่งใหหนาสัมผัสสวิตช<br />

ทํางานสงสัญญาณเตือน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข24 แสดงสภาวะปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอร<br />

266


ภาพผนวกที่<br />

ข25 แสดงสภาวะผิดปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอรเมื่อมีกาซบาง<br />

สวนเกิดขึ้นภายในตัวตรวจจับ<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข26 แสดงสภาวะผิดปกติของตัวตรวจจับกาซภายในถังคอนเซอเวเตอรเมื่อมีกาซเกิด<br />

ขึ้นเต็มภายในตัวตรวจจับ<br />

12. ถุงยางในถังคอนเซอรเวเตอร(Rubber bag or rubber cell)<br />

ภาพผนวกที่<br />

ข27 ถุงยางในถังคอนเซอรเวเตอร<br />

267


ภาคผนวก ค<br />

วิธีระบายความรอนของหมอแปลงไฟฟา<br />

268


1. หมอแปลงแบบแหง(Dry type transformer)<br />

วิธีการระบายความรอน<br />

AA (Ventilated self-cooled)<br />

ระบายความรอนโดยการไหลเวียนของอากาศตามธรรมชาติ<br />

AA/FA (Ventilated self-cooled / Forced air-cooled)<br />

ที่พิกัดโวลต-แอมปคาต่ําระบายความรอนโดยการไหลเวียนของ<br />

อากาศตามธรรมชาติ และที่พิกัดโวลต-แอมปคาสูงระบายความ<br />

รอนโดยใชพัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศ<br />

AFA (Ventilated Forced air-cooled)<br />

ระบายความรอนโดยใชพัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศ<br />

ANV (Nonventilated self-cooled)<br />

ระบายความรอนดวยตัวเองโดยไมมีการระบายความรอนโดยการ<br />

ไหลเวียนของอากาศภายนอกแตจะทํางานที่ความดันเกจที่ศูนย<br />

GA (Sealed self-cooled)<br />

ระบายความรอนดวยตัวเองโดยปดตัวถังหมอแปลงแบบสนิท<br />

2. หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่ระบายความรอนดวยอากาศ(Oil-immersed<br />

transformer : air cooled)<br />

OA<br />

(ONAN)<br />

ระบายความรอนโดยอาศัยผลของการไหลเวียนของอากาศ<br />

ที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิวระบายความรอน<br />

269


OA/FA or<br />

(ONAN/ONAF)<br />

OA/FA/FA or<br />

(ONAN/ONAF/<br />

ONAF)<br />

OA/FA/FOA or<br />

(ONAN/ONAF/<br />

OFAF)<br />

OA/FOA/FOA or<br />

(ONAN/OFAF/<br />

OFAF)<br />

FOA or<br />

(OFAF or ODAF)<br />

ที่พิกัดโวลต-แอมปคาต่ําระบายความรอนโดยอาศัยผลของ<br />

การไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิวระบายความ<br />

รอน และที่พิกัดโวลต-แอมปคาสูงระบายความรอนโดยใช<br />

พัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิว<br />

ระบายความรอนอันเดียวกับที่พิกัดแรก<br />

ที่พิกัดโวลต-แอมปคาต่ําระบายความรอนโดยอาศัยผลของ<br />

การไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิวระบายความ<br />

รอน และที่พิกัดโวลต-แอมปคากลางระบายความรอนโดย<br />

ใชพัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่<br />

ผิวระบายความรอนสวนที่หนึ่ง<br />

และที่ที่พิกัดโวลต-แอมปคา<br />

สูงระบายความรอนโดยใชพัดลมชวยในการไหลเวียนของ<br />

อากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่<br />

ผิวระบายความรอนสวนที่สอง<br />

ที่พิกัดโวลต-แอมปคาต่ําระบายความรอนโดยอาศัยผลของ<br />

การไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิวระบายความ<br />

รอน และที่พิกัดโวลต-แอมปคากลางระบายความรอนโดยใช<br />

พัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิว<br />

ระบายความรอนอันเดียวกับที่พิกัดแรก<br />

และที่พิกัดโวลต-แอมปคา<br />

สูงจะใชปมน้ํามันทํางานเพิ่มเพื่อชวยการไหลเวียนของน้ํามัน<br />

ที่พิกัดโวลต-แอมปคาต่ําระบายความรอนโดยอาศัยผลของ<br />

การไหลเวียนของอากาศที่ปกคลุมรอบพื้นที่ผิวระบายความ<br />

รอน และที่พิกัดโวลต-แอมปคากลางและพิกัดโวลต-แอมปคาสูงจะ<br />

ใชทั้งพัดลมและปมน้ํามันทํางานรวมกันโดยจะแบงพื้นที่ระบายรอน<br />

ออกเปนสองสวน<br />

ใชทั้งพัดลมและปมน้ํามันทํางานรวมกัน<br />

270


3. หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่ระบายความรอนดวยน้ํา(Oil-immersed<br />

transformer : water cooled)<br />

OW or<br />

(ONWF)<br />

OW/A or<br />

(ONWF/ONAN)<br />

FOW or<br />

(OFWF or ODWF)<br />

ระบายความรอนโดยอาศัยผลของการไหลเวียนของน้ํามันตาม<br />

ธรรมชาติที่ไหลผานพื้นที่ผิวของทอน้ําระบายความรอน<br />

มีสองพิกัดโวลต-แอมป ที่พิกัดแรกใชการระบายความรอนโดย<br />

อาศัยผลของการไหลเวียนของน้ํามันตามธรรมชาติที่ไหลผานพื้นที่<br />

ผิวของทอน้ําระบายความรอน<br />

และที่พิกัดที่สองใชการไหลเวียน<br />

ของอากาศที่ปกคลุมพื้นผิวระบายความรอน<br />

ระบายความรอนโดยใชปมน้ํามันชวยในการไหลเวียนของน้ํามัน<br />

และใชปมน้ําชวยในการไหลเวียนของน้ําในทอน้ําระบายความ<br />

รอน<br />

4. ตัวอยางการระบายความรอนของหมอแปลงแบบเเหง<br />

ภาพผนวกที่<br />

ค1 หมอแปลงแบบเเหงที่ระบายความรอนดวยอากาศรอบขางและระบายความรอน<br />

แบบ AA<br />

271


ภาพผนวกที่<br />

ค2 หมอแปลงแบบเเหงที่มีพัดลมระบายความรอนและระบายความรอนแบบ<br />

AA/FA<br />

5. ตัวอยางการระบายความรอนของหมอแปลงฉนวนน้ํามัน<br />

ภาพผนวกที่<br />

ค3 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN<br />

272


ภาพผนวกที่<br />

ค4 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN/ONAF/ONAF<br />

ภาพผนวกที่<br />

ค5 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

ONAN/OFAF/OFAF<br />

273


ภาพผนวกที่<br />

ค6 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

OFAF<br />

ภาพผนวกที่<br />

ค7 หมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความรอนแบบ<br />

OFWF<br />

274


ภาพผนวกที่<br />

ค8 ไดอะแกรมการระบายความรอนของหมอแปลงฉนวนน้ํามันที่มีการระบายความ<br />

รอนแบบ OFWF<br />

275


ภาคผนวก ง<br />

รีเลยปองกันหมอแปลงรุนตางๆของบริษัทผูผลิต<br />

276


รีเลยปองกันหมอแปลงรุนตางๆของบริษัทผูผลิต<br />

ในการปองกันหมอแปลงโดยสวนใหญจะใชรีเลยวัดคาผลตาง รีเลยปองกันกระแสเกินที่<br />

เฟส และรีเลยปองกันกระแสเกินลงดิน ซึ่งบริษัทผูผลิตรีเลยที่ไดรับความนิยมแพรหลายไดแก<br />

บริษัท ALSTOM ABB Westing House General Electric(GE) SIEMENS เปนตน ซึ่งใน<br />

ภาคผนวกนี้จะนําเสนอรีเลยรุนตางๆของแตละบริษัทดังนี้<br />

1. บริษัท General Electric(GE)<br />

Differential and Timing Relays<br />

BDD Percentage Differential with Harmonic<br />

Restraint<br />

Single Function<br />

CFD High Speed Differential Relay Single Function<br />

IJD Percentage Differential Relay Single Function<br />

PVD Differential Voltage Relay Single Function<br />

STD Percentage Differential with Harmonic<br />

Restraint<br />

Transformer Protection<br />

Single Function<br />

745 Transformer Management Relay Multifunction<br />

DTP-B Digital Transformer Protection Multifunction<br />

DTR Transformer Tap Changer Controller Multifunction<br />

T35 Transformer Management Relay Multifunction<br />

Overcurrent Relays<br />

CHC Instantaneous Overcurrent Relay Single Function<br />

DIAC/DIFC/DSFC Single Phase Digital<br />

Overcurrent Protection<br />

Single Function<br />

HFC Instantaneous Overcurrent Relay Single Function<br />

IAC Time-overcurrent Relay Single Function<br />

IBCG Ground Directional Overcurrent Relay Single Function<br />

IFC Time-overcurrent Relay Single Function<br />

IFCV TOC Relay with Voltage Restraint Single Function<br />

IJC Current Balance Relay Single Function<br />

PJC Instantaneous Overcurrent Relay Single Function<br />

277


BDD Percentage Differential with Harmonic Restraint<br />

Description<br />

The Type BDD relays are for the protection of transformers rated 2000 kVA and above<br />

and for transformers with windings rated 15 kV or above. However, the importance of the<br />

transformer to the system, not its size alone, should be the basis for the decision on this<br />

quality of protection.<br />

Applications<br />

• Power and autotransformer protection<br />

Protection and Control<br />

• High speed percentage differential<br />

• Phase and ground fault detection<br />

CFD High Speed Differential Relay<br />

Description<br />

Type CFD22B high-speed, product-restraint relays are designed to provide<br />

percentage-differential relaying protection for the larger and more important<br />

machines. They are recommended for generators rated 2000 kVA and above<br />

and for motors and synchronous condensers rated 3000 hp (or kVA) and<br />

above.<br />

Applications<br />

Generators, 2000 kVA and above<br />

IJD Percentage Differential Relay<br />

Description<br />

The IJD Percentage Differential Relay is used for the protection of AC<br />

rotating machinery and power transformers.<br />

Features and Benefits<br />

• Single- and three-phase units available<br />

• Various percentage slopes available<br />

• Electrically operated target seal-in unit<br />

• Restraint current matching taps (IJD53)<br />

• Drawout case<br />

Applications Protection and Control<br />

• AC rotating machines (IJD52) Fixed slope percentage-differential<br />

• Power Transformers (IJD53)<br />

278


PVD Differential Voltage Relay<br />

Description<br />

The Type PVD21 relay is a single-phase, high-speed, high-impedance, voltage-operated<br />

relay designed to provide protection in bus differential schemes. The Type PVD21 utilizes<br />

the same operating principle (high impedance voltage) as the earlier PVD models, but<br />

provides faster operating speeds and higher seismic capabilities. Typical operating speed is<br />

20 ms at 4X pickup. The Type PVD21 is mechanically interchangeable with the earlier<br />

PVD21 models, and provides additional output contacts.<br />

Applications<br />

• Bus differential high z voltage<br />

• Shunt reactor differental protection<br />

Protection and Control<br />

• High-speed, high z voltage sensing<br />

• High seismic instantaneous O/C unit<br />

STD Percentage Differential with Harmonic Restraint<br />

Description<br />

The STD is a harmonic restrained percentage differential relay specifically designed for<br />

transformer fault protection. The STD15 through 21 relays differ from each other only in<br />

the number of restraint circuits that they include (see Selection Guide). The STD25<br />

through 29 relays differ from STD15 through 21 relays in that they utilize only second<br />

harmonics for the harmonic restraint circuit while the others use all the harmonics.<br />

Harmonic restraint is employed to prevent undesired tripping as a result of exciting current<br />

inrush to the transformer being protected. Inrush to a transformer usually occurs when the<br />

transformer is energized or when a nearby fault is cleared thus suddenly restoring normal<br />

voltage to the bank. The second harmonic component is the predominant harmonic<br />

transformer inrush current.<br />

Applications<br />

• Power and autotransformer protection<br />

Protection and Control<br />

• High-speed percentage differential<br />

• Harmonic restraint<br />

279


745 Transformer Management Relay<br />

Description<br />

The 745 is a high speed, multiprocessor based, 3-phase, two or three winding, transformer management relay<br />

intended for the primary protection and management of small, medium and large power transformers.<br />

Protection and Control<br />

• Percent differential<br />

• Adaptive harmonic restraint<br />

• Multiple overcurrent elements<br />

• Adaptive time O/C elements<br />

• Underfrequency<br />

• Frequency rate-of-change<br />

• Overexcitation<br />

• Multiple setpoint groups<br />

• Restricted ground fault (optional)<br />

• 1 analog transducer input (optional)<br />

• 16 digital (logic) inputs<br />

• 7 analog transducer outputs (optional)<br />

• 9 control outputs<br />

Monitoring and Metering<br />

• All currents<br />

• THD and harmonics<br />

• Demand<br />

• Harmonic analysis<br />

• Voltage<br />

• Calculated 3 Phase Power<br />

• Tap position<br />

• Ambient temperature<br />

• Analog transducer input<br />

• Waveform capture and playback<br />

DTP-B Digital Transformer Protection<br />

Description<br />

The DTP-B is a digital relay that provides high-speed differential and backup instantaneous differential three<br />

phase protection functions for power transformers. Different models of the DTP are available for protecting and<br />

monitoring transformers with two, three or four windings.<br />

280


Protection and Control<br />

• Current differential protection<br />

• 2, 3 or 4 windings<br />

• Dual-slope percentage restraint<br />

• 2nd & 5th harmonic cross-restrained<br />

• Internal phase shift compensation<br />

• 7 configurable digital inputs<br />

• 4 trip contacts<br />

Monitoring and Metering<br />

• All currents<br />

• Event recorder<br />

• Oscillography recorder<br />

• Self-Checking functions<br />

User Interface<br />

• 20 key keypad<br />

• Alphanumeric 2-line LCD<br />

• 16 LED indicators<br />

• RS232, plastic or glass fiber optic<br />

DTR Transformer Tap Changer Controller<br />

Description<br />

The transformer tap changer controller DTR controls automatically the transformer on load tap changer, so that<br />

the power supply voltage is practically constant, independently from the load. In order to achieve this, the DTR is<br />

able to increase and decrease the OLTC in the power transformer.<br />

Applications<br />

• Control power transformer OLTCs to regulate voltage<br />

Protection and Control<br />

• Automatic voltage regulator<br />

• Automatic/manual operation<br />

• Three setting tables<br />

• Configurable inputs and outputs<br />

• BCD format inputs to detect tap changer position<br />

Monitoring and Metering<br />

• I, V, P, Q, cos j, frequency measurement<br />

• Transformer OLTC position<br />

• Event recording<br />

281


T35 Transformer Management Relay<br />

Description<br />

The T35, a member of the UR family of protection relays, is a 3-phase transformer relay, intended for primary<br />

protection of power transformers, with up to six windings/restraints.<br />

The T35 Transformer Management Relay is a perfect protection for multi-winding power transformers, where the<br />

windings are connected to more than one breaker such as in a breaker-and-a-half schemes, or to more than two<br />

breakers. Percent and instantaneous differential protections combined with phase time overcurrent elements and<br />

sixteen fully configurable universal comparators (FlexElements), make a perfect protection package for primary<br />

and backup transformer protections. The relay is capable of protecting transformers with up to six<br />

windings/restraints.<br />

Features and Benefits<br />

• FlexLogic and distributed FlexLogic<br />

• Virtual I/Os (reduce hardware cost)<br />

• Expandable I/Os<br />

• User programmable LEDs<br />

• User-definable display messages<br />

• Flash memory for field upgrades<br />

• Draw-out modules for serviceability<br />

• Common modules (reduce spares cost)<br />

• Test mode for I/Os<br />

• IRIG-B time synchronization<br />

Applications<br />

• Reliable high speed protection for small, medium and large power transformers with up to six<br />

windings/restraints.<br />

• Easy configuration for transformers with windings connected to one, two or more breakers<br />

Protection and Control<br />

• Dual slope percent differential characteristic<br />

• Instantaneous differential protection<br />

• Inrush inhibit<br />

• Overexcitation inhibit<br />

• Multiple phase TOCs<br />

• Universal IOC (FlexElement)<br />

Monitoring and Metering<br />

• Current, voltage, power, power factor and frequency<br />

• Percent 2nd and 5th harmonics<br />

• 64 samples/cycle programmable oscillography<br />

• 1024 programmable event recorder<br />

• 16 channel programmable data logger<br />

• Self diagnostic<br />

282


User Interface<br />

• enerVista UR Setup software for setting, monitoring<br />

• RS232 port, faceplate accessible<br />

• RS485 port<br />

• Second RS485 or Ethernet port<br />

• 2 x 20 character display and keypad<br />

• Target LED indicators<br />

T60 Transformer Management Relay<br />

Description<br />

The T60, a member of the UR family of protection relays, is a 3-phase, multiple winding, transformer relay<br />

intended for the primary protection and management of small, medium and large power transformers.<br />

The T60 combines percent and instantaneous differential with overcurrent protection along with a whole suite of<br />

current, voltage and frequency protection elements, and multiple settings groups in one easily configured,<br />

economical package. An innovative improvement to the traditional harmonic inrush inhibit of the percent<br />

differential element increases security while maintaining fault response performance.<br />

The logic that determines the interaction of inputs, features, and outputs is reconfigurable through the use of logic<br />

equations (FlexLogic). The use of virtual inputs and outputs in addition to hardware is available internally and<br />

on the communications ports (minimizing the requirement for auxiliary components and wiring). Hardware<br />

input/output capability is expandable.<br />

The T60 has three communications ports that operate independently and simultaneously. The RS232 port is<br />

accessible from the faceplate of the relay. The RS485 port supports ModBus ? RTU and DNP 3.0 protocols and is<br />

capable of baud rates up to 115 kbps. The third communications port may be ordered as either a similar RS485<br />

port or a 10 Mbps Ethernet port supporting MMS/UCA2, DNP 3.0 and ModBus /TCP protocols. The physical<br />

Ethernet port may be ordered as 10BaseF or redundant 10BaseF. The high baud rates of these ports enable<br />

system wide communications without sacrificing speed.<br />

The free Windows&#reg; based URPC software allows complete access to all relay information, taking advantage<br />

of the PC display to provide more data at a glance in a graphical representation.<br />

Diagnostic features of the T60 include a 1024 event record that tags events with time and date. This precise time<br />

stamping allows for a determination of the sequence of events throughout a system. Events can also trigger<br />

digital oscillography records that consist of a 64 samples/cycle record of waveforms, analog values and digital<br />

flags. The URPC software is used to view these records.<br />

The T60 utilizes flash memory technology that, coupled with the modular hardware, allows future upgrading of the<br />

relay to follow the technology curve without replacing the entire relay. Selftest functions determine the relative<br />

health of the relay and raise an alarm if the relay is malfunctioning prior to a failure to operate.<br />

Features and Benefits<br />

• FlexLogic<br />

• Distributed FlexLogic<br />

• Virtual I/O (reduce hardware cost)<br />

• Expandable I/O<br />

• Flash memory for field upgrades<br />

283


• Drawout modules for serviceability<br />

• Common modules (reduce spares cost)<br />

• Test mode for forcing contact I/O states<br />

• IRIG-B<br />

• time synchronization<br />

Applications<br />

• Small, medium, and large power transformers<br />

• Up to 4 restraint windings<br />

Protection and Control<br />

• Percent differential<br />

• Instantaneous Differential<br />

• Dynamic Inrush Inhibit<br />

• Overexcitation Inhibit<br />

• Low impedance biased restricted ground fault<br />

• Phase, ground and neutral O/C<br />

• Phase overvoltage<br />

• Underfrequency<br />

• Multiple setting groups<br />

Monitoring and Metering<br />

• Current, voltage, power metering<br />

• Current, voltage phasors<br />

• 64 samples/cycle oscillography<br />

• 1024 Event record<br />

• Self diagnostics<br />

User Interface<br />

• enerVista UR Setup software for setting, monitoring<br />

• RS232 port, faceplate accessible<br />

• RS485 port (115 kbps, ModBus RTU and DNP 3.0 protocols) Second RS485 or Ethernet port:<br />

10BaseF or redundant 10BaseF supporting MMS/UCA2, DNP 3.0, and ModBus /TCP protocols<br />

• 2 x 20 character display and keypad<br />

• Target LED indicators<br />

284


CHC Instantaneous Overcurrent Relay<br />

Description<br />

The CHC relays are cup-type, high speed, sensitive, overcurrent fault detector relays.<br />

These relays may be set to pick up below full load current and operate continuously in the<br />

picked-up position. The cup unit circuits are designed to prevent contact welding.<br />

Protection and Control<br />

3 phase and ground instantaneous O/C<br />

DIAC/DIFC/DSFC Single Phase Digital Overcurrent Protection<br />

Description<br />

The DIAC, DIFC, and DSFC units are single phase, digital microprocessor based, self-powered, non-directional<br />

overcurrent relays. They provide time and instantaneous overcurrent protection for phase or ground faults. They<br />

are designed to be used by industrial and utility power systems for applications including feeders, transmission<br />

lines, AC machines, transformers, or any facility with medium voltage switchgear.<br />

Applications<br />

• Industrial and utility power systems<br />

• Feeders, transmission lines, AC machines, transformers<br />

• Facilities with medium voltage switchgear<br />

Protection and Control<br />

• Phase or ground overcurrent<br />

• Separate TOC and IOC protection<br />

• Wide pickup setting ranges<br />

• 16 TOC curve characteristics<br />

• RMS sensing (TOC)<br />

• Reset characteristic selection<br />

User Interface<br />

• Pickup status LED<br />

• TOC and IOC latched indicators<br />

285


HFC Instantaneous Overcurrent Relay<br />

Description<br />

The Type HFC relays consist of one or more hinged armature<br />

instantaneous overcurrent units. Each unit has two electrically separate<br />

contacts and is assembled in a single end drawout type C1 case. The<br />

units have a high-seismic rating, and include a target which is latched<br />

and raised into view when the unit operates. The targets are manually<br />

reset by a button on the front of the relay cover.<br />

Protection and Control<br />

• Instantaneous overcurrent<br />

• Detection of severe close-in faults on transmission lines<br />

• Differential motor protection<br />

IAC Time-overcurrent Relay<br />

Description<br />

Type IAC relays are used in the protection of industrial and utility power systems against either phase or ground<br />

overcurrent. They are single phase (although some models contain more than one unit), non-directional, current<br />

sensitive, AC devices. The basic operating mechanism (the time unit) produces one of several available operating<br />

characteristics. The operating time is inversely related to operating current which permits close coordination with<br />

other protective devices. It consists of a magnetic core operating coil, an induction disc, damping magnet, and a<br />

mechanical target. The IAC relay may also include one or more hinged armature instantaneous overcurrent units,<br />

with integral target.<br />

Applications<br />

• Feeder, AC machines and transformers<br />

Protection and Control<br />

• Ground and phase time O/C and U/C<br />

• Overload motor protection<br />

286


IBCG Ground Directional Overcurrent Relay<br />

Description<br />

The Type IBC directional overcurrent relays are employed primarily for the protection of feeders and transmission<br />

lines in applications where single-phase relays are desired or required.<br />

The Types IBC and IBCG relays consist of two units, an instanta-neous power-directional unit (bottom) of the<br />

induction-cup type, and a time overcurrent unit (top) of the induction-disk type. The direc-tional- unit contacts<br />

control the operation of the overcurrent unit (directional control).<br />

Features and Benefits<br />

• Mechanical targets<br />

• 3 inverse time/current operating characteristics<br />

• Drawout case<br />

Applications<br />

• Directional phase fault protection (IBC)<br />

• Directional ground fault protection (IBCG)<br />

Protection and Control<br />

• Time overcurrent<br />

IFC Time-overcurrent Relay<br />

Description<br />

Type IFC relays are used for the protection of industrial and utility power systems against either phase or ground<br />

overcurrent. They are single-phase, non-directional, current sensitive AC devices. The basic operating<br />

mechanism (the time unit) produces one of several available operating characteristics with operating time<br />

inversely related to operating current to permit coordination with other protective devices. It consists of a<br />

magnetic-core operating coil, an induction disk, damping magnet, and a mechanical target. The IFC relay may<br />

also include a hinged-armature instantaneous overcurrent unit with its own target.<br />

Applications<br />

• Feeder, AC machines and transformers<br />

Protection and Control<br />

• Ground and phase time O/C and U/C<br />

• Overload motor protection<br />

287


IFCV TOC Relay with Voltage Restraint<br />

Description<br />

The Type IFCV relays are draw out, induction disc time-overcurrent relays having voltage restraint and inverse<br />

time characteristics.<br />

Applications<br />

• System fault backup protection<br />

Protection and Control<br />

• Time O/C unit with voltage restraint<br />

IJC Current Balance Relay<br />

Description<br />

The Type IJC51E relays are used for the protection of lines and of three- phase machines, especially motors and<br />

synchronous converters against damage that is caused by phase- unbalancing and single-phase operation.<br />

This protection cannot usually be obtained satisfactorily by voltage relays because in three-phase machine,<br />

grounded-neutral, or four- wire circuits the opening of one phase conductor may not appreciably disturb the<br />

voltage phase relations or magnitude, especially under light load conditions. The machine, or other connected<br />

apparatus, will itself tend to maintain the three-phase voltage intact.<br />

The relay compares the current in each phase with that in each of the other phases. An increase of current in the<br />

circuit, irrespective of the magnitude of the current, will not cause the relay to operate, so long as the currents in<br />

the phases are not unbalanced by 25 percent or more.<br />

Features and Benefits<br />

• Drawout case<br />

Applications<br />

• Lines and AC rotating machines<br />

• Regulating transformer exciting windings<br />

• Phase balance protection<br />

Protection and Control<br />

• Phase current unbalance<br />

• Timed operation<br />

288


PJC Instantaneous Overcurrent Relay<br />

Description<br />

The Type PJC is a plunger relay that operates on the principle of<br />

electromagnetic attraction. The contacts are opened or closed by an<br />

armature which is attracted vertically into a small solenoid.<br />

Applications<br />

• Feeder circuit overcurrent protection<br />

289


2. บริษัท ABB<br />

Transformer Protection<br />

RET 316 Multifunction<br />

RET 521 Multifunction<br />

SPAD 346 C Multifunction<br />

TPU2000 Multifunction<br />

TPU2000R Multifunction<br />

COMBIFLEX TYPE<br />

RADSB Transformer differential<br />

protection<br />

RAEDK/RXEDK 2H<br />

Time over/undervoltage relay and<br />

protection assemblies<br />

RAIDK/RXIDK 2H<br />

Time-overcurrent and earth-fault relay<br />

and protection assemblies.<br />

RAIDG/RXIDG 21H<br />

Earth-fault relay and protection<br />

assemblies for EHV and HV systems<br />

RAZK/RXZK 21H, 22H & 23H<br />

Directional and non directional<br />

impedance relay and protection<br />

assemblies<br />

RAVK/RXVK 2H<br />

Thermal overcurrent relay and protection<br />

assemblies<br />

RALK/RXLK 2H<br />

Transformer or generator timeoverexcitation<br />

relay and protection<br />

assemblies.<br />

290


RET 316<br />

Transformer protection<br />

The numerical transformer protection unit RET 316 is designed for the fast, selective protection of two- or three-winding transformers. In addition the<br />

applications for the protection of autotransformers and block generator-transformer units are possible.<br />

The RET 316 unit will detect all-phase faults, interturn faults and earth faults where the power transformer starpoint is solidly or low-impedance earthed.<br />

RET 316 can be supplied with different protection functions and has low requirements with respect to the main CT´s. No interposing CT´s are required.<br />

Main Features:<br />

• Selectable protection functions<br />

• Current compensation of ratio and phase<br />

• Programmable inputs and outputs<br />

• Compact design and modular software<br />

• Continuous self-monitoring and diagnosis<br />

• Event recording and measuring values<br />

Protect IT Transformer Protection Terminal RET 521<br />

291


Multi-functional transformer protection<br />

RET 521 provides fast and selective protection, monitoring and control for two- and three-winding transformers, autotransformers, generatortransformer<br />

units, special railway transformers and shunt reactors. The transformer terminal is designed to operate correctly over a wide frequency<br />

range in order to accommodate power system frequency variations and generator start-up and shut-down.<br />

Fast differential protection, with automatic CT ratio matching and vector group compensation, makes this device the ideal solution even for the most<br />

demanding applications. RET 521 has low requirements on the main CTs and no interposing CTs are required. It is suitable for differential applications<br />

with multi-breaker arrangements with up to five restraint CT inputs. The differential protection function is provided with adaptive 2nd harmonic and<br />

waveblock restraint features to avoid tripping for magnetizing inrush, and 5th harmonic restraint to avoid tripping for overexcitation. The differential<br />

function is fully stable during external faults followed by heavy CT saturation and recovery inrush. RET 521’s unique capability to automatically<br />

compensate for on-load tap-changer position enables its differential function to have high sensitivity for internal winding turn-to-turn faults. On-load tapchanger<br />

position can be monitored via mA-signal or BCD coded input signal.<br />

A low impedance restricted earth-fault protection function is available as complimentary protection against winding to ground faults. This function<br />

includes a directional criterion for additional security. Underimpedance protection functionality for phase to phase and/or phase to ground faults is also<br />

available as backup protection for transformer faults and faults in the connected power system. Versatile phase, ground, positive, negative and zero<br />

sequence overcurrent functions, which can optionally be made directional and/or voltage controlled, provide further backup protection. Thermal<br />

overload, volts per hertz, over/under voltage and over/under frequency protection functions are also available. Built-in disturbance and event recorder<br />

provides valuable data to the user about status and operation of surrounding primary and secondary equipment.<br />

RET 521 terminal can be equipped with advanced voltage control functionality for single or parallel transformers. Up to eight parallel transformers can<br />

be controlled by using minimizing circulating current principle. Line drop compensation and silent load shedding based on voltage magnitude reduction<br />

are included. The RET 521 terminal has the unique capability to measure voltage on both sides of the power transformer. When combined with userspecific<br />

internal logic, this feature helps prevent power system voltage collapse and, at the same time, minimizes the OLTC maintenance cost by<br />

minimizing the number of on-load tap-changer operations.<br />

ABB has designed pre-configured, application-specific RET 521 solutions that can be adapted to the most common transformer applications. These<br />

proven C-series terminals enable smooth connection without additional configuration. This speeds up both engineering and commissioning, which<br />

results in significant cost savings.<br />

Overview of functions included in RET 521-C1, RET 521-C2, RET 521-C3 and RET 521:<br />

Transformer differential protection functions<br />

RET 521-C1 RET 521-C2 RET 521-C3 RET 521<br />

Transformer differential protection, up to 5 restraint groups Included Included Included Optional<br />

Three phase time overcurrent, non directional Incl. 2 pcs Incl. 2 pcs.<br />

Earth fault time overcurrent, non-directional 2:nd harmonic<br />

restraint<br />

Restricted earth fault<br />

Incl. 2 pcs Incl. 2 pcs.<br />

Optional<br />

Optional<br />

Incl. 3 pcs. Incl. 3 pcs. Optional<br />

Single/three-phase overvoltage and neutral voltage Incl. 2 pcs. Included Incl. 2 pcs. Optional<br />

Overexcitation<br />

Control<br />

Included Included Optional<br />

Voltage control, single transformer Included Included Included Optional<br />

Monitoring<br />

Disturbance recorder Included Included Included Optional<br />

Basic<br />

Self-supervision with internal event recorder Included Included Included Included<br />

Real-time clock with external time syncronization Included Included Included Included<br />

Four groups of setting parameters Included Included Included Included<br />

Local Human machine Interface (HMI) Included Included Included Included<br />

Configurable logic Included Included Included Included<br />

Service value reading Included Included Included Included<br />

Event recording and trip value recording Included Included Included Included<br />

RET 521-C1, C2 and C3 are preconfigured terminals ready to plug in at delivery. The terminals have pre-selected functionality, they are pre-configured<br />

and delivered with terminal diagrams.<br />

292


Protect IT Stabilized Differential Relay SPAD 346<br />

Protect your power transformer or your generator-transformer units with the stabilized differential relay SPAD<br />

The stabilized differential relay SPAD 346 C is designed for protecting two-winding power transformers and generator-transformer units against winding<br />

short-circuit, interturn fault, earth fault and short circuit, and generators and motors against interwinding short-circuit and pole short circuit. In addition,<br />

the relay can be used for the protection of three-winding power transformers, provided 75% of the short circuit power to the power transformer is<br />

supplied from the same direction, and for the protection of compensating chokes and short cable lines.<br />

Features<br />

• Integrated three-phase differential relay, three-phase overcurrent relay and multi-configurable earth-fault relay<br />

• Stabilized differential relay module providing winding short-circuit and interturn fault protection for two-winding power-transformers and<br />

generator-transformer units, and interwinding short-circuit protection for generators<br />

• Earth-fault relay module providing protection for the transformer HV and LV side according to the selected principle: stabilized differential<br />

current principle, high-impedance principle, residual current principle or neutral current principle<br />

• Three-stage overcurrent module providing protection for power transformers and generators and two-stage backup earth-fault protection<br />

• Short operate time even at partial saturation of the current transformers<br />

• Operation characteristic of differential relay module easily adapted for different applications<br />

• Stabilized against unwanted operations at faults occurring outside the protected area and at transformer inrush<br />

• Second harmonic restraint for prevention of unwanted relay operations at transformer inrush<br />

• Fifth harmonic restraint for prevention of unwanted relay operations at transformer overexcitation - The fifth harmonic restraint can be<br />

aborted if the ratio of the fifth harmonic and the basic frequency component rises too high at dangerous overvoltages<br />

Wide CT ratio correction range - accurate correction through digital setting<br />

•<br />

No interposing current transformers needed for the protection of two-winding power transformers - numerical vector group matching on HV<br />

and LV side<br />

•<br />

Four heavy-duty output relays for circuit breaker tripping and five output relays for signalling<br />

Five programmable external control inputs intended for alarm and trip signals from gas relays, oil temperature sensors and other sensors<br />

of transformer auxiliary devices<br />

•<br />

Integrated circuit breaker failure protection with adjustable operate time<br />

Differential relay and earth-fault relay modules provided with integrated disturbance recorder functions for analog and digital signals -<br />

signals to be used for triggering selectable<br />

•<br />

•<br />

Sensitive phase current and phase angle displays facilitate checking of energizing circuit connections and vector group matchings<br />

High immunity to electrical and electromagnetic interference allows the relay to be used in severe environments<br />

High availability and system reliability due to continuous supervision of hardware and software<br />

Powerful software supports relay parametrization and reading of measured, recorded and event data<br />

• CE marking according to the EC directive for EMC<br />

293


TPU2000 - Transformer Protection Unit<br />

The TPU2000 is an advanced transformer protection package designed for protection of two-winding 3-phase<br />

power transformers. Sensitive high-speed restrained and unrestrained differential elements protect against<br />

internal phase and ground faults. Multiple restraint curves match electronic and electromechanical relays easing<br />

retrofits. Flexible harmonic restraint modes prevent false trips during transformer inrush and overexcitation. Phase<br />

and ground overcurrent elements for each winding plus disturbance and current level detectors, power metering,<br />

digital fault recording and load profile completes a full transformer management system. For the Descriptive<br />

Bulletin 41-372M, please click on the right menu.<br />

TPU2000R - Transformer Protection Unit 2000R<br />

The TPU2000R is an advanced transformer protection package designed for protection of 3-phase power<br />

transformers with up to three restraints available covering the majority of power transformer applications.<br />

Sensitive high-speed restrained and unrestrained differential elements protect against internal phase and ground<br />

faults. Multiple restraint curves match electronic and electromechanical relays easing retrofits. Flexible harmonic<br />

restraint modes prevent false trips during transformer inrush and overexcitation. Phase and ground overcurrent<br />

elements for each winding plus disturbance and current level detectors, power metering, digital fault recording<br />

and load profile completes a full transformer management system. For complete details, click Descriptive Bulletin<br />

41-372M on the right menu.<br />

For the latest Two-winding and Three-winding Flash Firmware, please click on Configuration Software in the righthand<br />

column.<br />

Features:<br />

• Six overcurrent protective functions for each winding.<br />

• Programmable logic inputs and outputs.<br />

• Phase compensation for most main winding and current transformer secondary arrangement.<br />

• Electrically Isolated Communications Ports provides superior remote communications.<br />

• Simultaneous communications through front and rear ports via dedicated microprocessors.<br />

• Models available for use with optical CT's.<br />

• Complete electronic draw-out.<br />

• Complete load current metering functions<br />

294


RADSB<br />

Transformer differential protection<br />

RADSB is a protective relay intended for all types of three-phase power transformers. By including additional<br />

input restraint modules, up to 6 transformer windings or restraining inputs can be connected. The relay is well<br />

suited for generator and step-up transformer overall protection, often including the auxiliary transformer in the<br />

protected zone.<br />

The non-linear percentage restraint characteristic provides the required restraint for external faults, making it<br />

suitable for use with multi-winding transformers, auto-transformers or in a system where one transformer winding<br />

is directly connected to two or more breakers. The characteristics are designed to provide excellent internal fault<br />

sensitivity.<br />

Main Features:<br />

Complete phase and earth fault protection<br />

Built-in trip relay, indicator and test switch<br />

Variable percentage restraint for external fault security<br />

Stable against CT saturation effects<br />

Redundant instantaneous operating element for severe internal faults<br />

Inrush security by 2nd harmonic restraint<br />

Overexcitation security by 5th harmonic restraint<br />

High speed operation<br />

RAEDK/RXEDK 2H<br />

Time over/undervoltage relay and protection assemblies<br />

295


RXEDK 2H is a microprocessor based time-over/ undervoltage relay with two measuring stages, which are<br />

switchable for over- or undervoltage functions independently of each other.<br />

Stage 1 is programmable for two different time functions; definite-time characteristic and inverse time<br />

characteristic.<br />

Stage 2 has a definite-time characteristic, settable from 0 to 10 s.<br />

RXEDK 2H can be used in a number of different applications, such as; neutral point voltage-, overvoltage-, flashover-,<br />

undervoltage- or stator earth fault protection. The optional built in filters provide extended application<br />

possibilities. For example; A model measuring the third harmonic is available. Other frequencies of interest may<br />

also be quoted.<br />

Main Features:<br />

Wide setting ranges in two measuring stages<br />

Built in operating time delays for both stages<br />

Over and undervoltage setting selectable for both stages<br />

Allows setting close to maximum service values due to high resetting ratio<br />

Available with optional filters for different frequency response<br />

Low burden<br />

RAIDK/RXIDK 2H<br />

Time-overcurrent and earth-fault relay and protection assemblies.<br />

RXIDK 2H is a single phase microprocessor based time-overcurrent relay that is available in multi-phase and<br />

earth-fault assemblies RAIDK. The RXIDK 2H has simple setting knobs and selector-switches for different inverse<br />

and fixed time delay over-current characteristics and operate values and time delays. It is used as short-circuit<br />

and earth fault protection for all types of objects in the network.<br />

The available time-lag characteristics and the short recovery times, together with independent measuring<br />

elements in each phase and for earth-faults, ensures suitability on networks of major importance, where<br />

selectivity and short back-up tripping times are essential. It has four LEDs on the front for start, trip and selfsupervision<br />

indication.<br />

RXIDK 2H is pin compatible with the obsolete RXIDF 2H relays and is therefore offered as a replacement part.<br />

296


Main Features:<br />

Independent measuring elements<br />

Three versions with different current ranges and wide setting ranges<br />

Versions with built-in test switch, DC/DC converter and heavy duty trip relays are available<br />

Available with optional built-in filters for different frequency characteristics<br />

RAIDG/RXIDG 21H<br />

Earth-fault relay and protection assemblies for EHV and HV systems<br />

The RXIDG 21H/RAIDG relay is used as a selective and sensitive earth-fault protection in solidly earthed<br />

transmission networks. It is a single-phase time-overcurrent relay with a combined definite and logarithmic inverse<br />

time relay function.<br />

The logarithmic inverse time characteristic has been choosen to produce selective tripping when used as earth<br />

fault protection in solidly earthed transmission networks. The selectivity is ensured when the largest infeed is less<br />

than 80% of current to the fault. All relay locations are set with the same primary sensitivity in order to provide<br />

selectivity, which is then achieved without having to use a directional measurement criteria.<br />

RXIDG 21H has replacd the obsolete RXIDG 2H relay.<br />

Main Features:<br />

Earth fault relay with logarithmic current-dependent and a minimum delayed operating time<br />

Wide setting range of 15 mA to 2,60 A<br />

Binary input for enabling or blocking, often in combination with a 2nd harmonic restraint additional relay or a<br />

directional earth fault relay<br />

Minimum definite time setting to achieve selectivity with instantaneous functions in distance protection at very<br />

high zero sequence fault currents<br />

297


RAZK/RXZK 21H, 22H & 23H<br />

Directional and non directional impedance relay and protection<br />

assemblies<br />

The RXZK 2*H family of relays are intended for general purpose use in power systems as primary or back-up<br />

functions often in combination with other protective relays.<br />

The quadrilateral impedance reach characteristic is independently adjustable in the reactive and resistive<br />

direction. Forward, reverse and non directional functions are available.<br />

Applications of RXZK 21H and RXZK 22H include single and dual zone impedance protection of transformers,<br />

generators, lines and cables. The relays include a directional element which is provided with a memory function<br />

upon loss of voltage during the fault.<br />

RXZK 23H is an out-of-step tripping relay intended for generators and tie-lines between power systems. Tripping<br />

is affected when there has been a current reversal and only upon leaving the relay impedance characteristic<br />

ensuring that breaker stress is minimized.<br />

Main Features, RXZK 21H:<br />

One-zone + time function<br />

Directional element<br />

Definite time delay settable 0,1-5 s on second measuring stage<br />

Quadrilateral characteristic with individual RX setting<br />

Characteristic angle settable 0° to 120°<br />

Main Features, RXZK 22H:<br />

Two zones + time functions<br />

Directional unit<br />

Quadrilateral characteristic with individual RX settings<br />

Load encroachment prevention for zone 2 0, 15, 30 and 45°<br />

0-120 characteristic<br />

Zone 2 delay settable 0-5 sec<br />

Main Features, RXZK 23H:<br />

Out of step + one zone<br />

Quadrilateral characteristic with individual RX setting<br />

0-5 sec delay settable per impedance zone<br />

0 - 90° characteristic angle selectable<br />

298


RAVK/RXVK 2H<br />

Thermal overcurrent relay and protection assemblies<br />

Thermal overcurrent relays RXVK 2H/RAVK effectively prevents damage to conductors and insulation due to<br />

overloading and, at the same time, allow full utilization of the protected object. The relay may be used for motors,<br />

generators, transformers, filters, reactors, cables and over-head lines.<br />

RXVK 2H/RAVK uses the thermal time constant of the protected object as a setting parameter. Time constants of<br />

2 to 62 minutes can be set in steps of 2 minutes. The same time-constant setting is used for heating and cooling.<br />

Relay contact outputs are available for trip temperature, thermal trip and overcurrent trip functions. The<br />

overcurrent function can be delayed up to 5 seconds. Indications are available for In service, thermal content<br />

above 95% and trip conditions.<br />

Main Features:<br />

Continuous settings for time and instantaneous functions<br />

Wide setting ranges of scale constant, thermal basic current and overcurrent operate current<br />

Thermal time constant programmable 2-62 min in steps of 2 min with the same time constants for heating and<br />

cooling<br />

Available with optional filter for suppressing frequency dependence 40-2000 Hz<br />

RALK/RXLK 2H<br />

Transformer or generator time-overexcitation relay and protection assemblies.<br />

RXLK 2H over-excitation relay monitors the magnitude of excitation by measuring the relationship between the<br />

voltage and the frequency. When the set operate value is exceeded, an alarm and delayed tripping is obtained.<br />

299


The inverse time tripping is settable with different characteristics in order to suit different types of power<br />

transformers. 10 different inverse and fixed time delay characteristics are selectable on the relay making it<br />

suitable for most transformer and generator over-excitation applications.<br />

The relay includes one setting having the same inverse shape as the earlier RATUB relay and may therefor be<br />

used as a RATUB replacement. The different inverse V/Hz characteristics available are advantageous by<br />

providing better protection and utilization of the V/Hz capability of the protected object than fixed time delay V/Hz<br />

relay solutions.<br />

Main Features:<br />

Wide setting range<br />

10 selectable inverse and fixed time delay characteristics<br />

Two measuring stages settable<br />

Linear reset of "time counter"<br />

LED indicators for start and tripping<br />

300


3. บริษัท ALSTOM<br />

Transformer Protection<br />

MiCOM P631 Multifunction<br />

MiCOM P632 Multifunction<br />

MiCOM P633 Multifunction<br />

MiCOM P634 Multifunction<br />

MiCOM P631, P632, P633 and P634<br />

Transformer Differential Protection Devices<br />

Application and scope<br />

The MiCOM P63x series differential protection devices are<br />

intended for fast and selective short-circuit protection of<br />

transformers, motors, generators and other installations with two,<br />

three or four windings respectively.<br />

Functions<br />

The differential protection devices have the following main functions (with differences between the models as shown<br />

in the table on page 3):<br />

• Three-phase differential protection<br />

•Amplitude and vector group matching<br />

•Zero-sequence current filtering for each winding, may be deactivated individually for each end<br />

•Triple-slope tripping characteristics<br />

•Harmonic restraint with second harmonic component, optionally with or without cross blocking; may be<br />

deactivated<br />

•Overfluxing restraint with fifth harmonic component, may be deactivated<br />

•Through-stabilization with saturation discriminator<br />

• Ground differential protection (UK: Restricted earth fault protection, REF)<br />

• Definite-time overcurrent protection, three stages, phaseselective,separate measuring<br />

systems for phase currents,negative-sequence current and residual current<br />

• Inverse-time overcurrent protection, single-stage, phaseselective, separate measuring systems for phase<br />

currents, negative-sequence current and residual current<br />

• Thermal overload protection, choice of relative or absolute thermal replica<br />

• Over/undervoltage protection<br />

• Over/underfrequency protection<br />

• Overexcitation protection<br />

• Measuring circuit monitoring<br />

• Limit value monitoring<br />

• Programmable logic<br />

301


302


4. บริษัท SIEMENS<br />

Transformer Protection<br />

7UT61 Multifunction<br />

7UT51 Multifunction<br />

7SJ511 Multifunction<br />

SIPROTEC 7UT61 Differential Protection Relay<br />

for Transformers, Generators, Motors and Busbars<br />

Function overview<br />

· Differential protection for two-winding<br />

transformers<br />

· Differential protection for motors and<br />

generators<br />

· Differential protection for short<br />

two terminal lines<br />

· Differential protection for busbars up<br />

to 7 feeders (phase-segregated or with<br />

summation CT)<br />

Protection functions<br />

· Differential protection with phasesegregated<br />

measurement<br />

· Sensitive measuring stage for low-fault<br />

currents<br />

· Restraint against inrush of the<br />

transformer<br />

· Phase overcurrent protection<br />

· Overload protection with or without<br />

temperature measurement<br />

· Negative-sequence protection<br />

· Breaker failure protection<br />

· Low or high-impedance restricted earth<br />

fault (REF)<br />

303


7UT51 V3 Protective Relay<br />

Differential Protection for Transformers, Generators, Motors, and Busses<br />

Overview<br />

The Siemens 7UT51 multifunction protective relay<br />

provides three-phase protection for two (7UT512) or<br />

three (7UT513) winding transformers, shunt reactors,<br />

motors, generators, short lines, or buses. The 7UT513<br />

model has two ground current inputs that can be used<br />

to increase the sensitivity of the differential protection.<br />

The relay matches currents mathematically, so<br />

complicated CT wiring schemes are not necessary.<br />

The 7UT51 features selectable variable percentage<br />

differential and selectable harmonic restraints. An<br />

active algorithm recognizes CT saturation and<br />

unequal CT performance and restrains pickup. These<br />

abilities provide typical trip times of one cycle or less<br />

with high security.<br />

In addition to the differential protection (87T/87HS,<br />

87M/G, or 87B), the 7UT51 relay provides<br />

current-model based thermal overload protection<br />

(49-1 and 49-2) for two selected windings. High-set<br />

(50HS) and definite/inverse time overcurrent<br />

protection (50/51) are available for one selected<br />

winding. The 7UT513 model can provide either ground<br />

differential protection (87N) of one winding or tank<br />

leakage protection (64T). See Figure 2.1 and<br />

Table 2.1 for the possible combinations of protection<br />

functions.<br />

The model 7UT513 relay’s third set of three-phase<br />

inputs can apply the additional protection functions to<br />

an<br />

additional zone, which may be independent or overlap<br />

the main zone containing the main protected device.<br />

This additional-zone protection provides added<br />

flexibility and security in a range of applications.<br />

Protection Overview<br />

• Microprocessor-based full numerical<br />

implementation with self-diagnostics of internal<br />

operation and CT circuits.<br />

• Mathematically matched currents enable use of<br />

simple wye-connections of CTs.<br />

• Three-phase, variable-slope percentage<br />

differential protection (87T, 87M/87G, or 87B).<br />

• Unrestrained high-set differential protection<br />

(87HS) when protecting a transformer.<br />

• Restraint of differential protection when a<br />

through-fault causes CT saturation.<br />

• Zero sequence current elimination (7UT512 or<br />

7UT513) or correction (7UT513 only).<br />

• 2nd harmonic restraint (inrush) and<br />

higher-harmonic restraint (3rd, 4th or 5th) when<br />

protecting a transformer.<br />

• Thermal overload protection (49-1 and 49-2,<br />

current-based thermal model) for any two<br />

windings.<br />

• High-set (50HS) and definite/inverse (50/51) time<br />

overcurrent protection for any one winding.<br />

• Ground differential protection (87N) of any one<br />

winding, or tank leakage protection (64T) (7UT513<br />

only).<br />

• Any protection function (except for differential<br />

protection) can be used to protect a separate,<br />

additional device or zone (7UT513 only).<br />

304


7SJ511 NUMERICAL OVERCURRNT TIME<br />

PROTECTION AND<br />

OVERLOAD PROTECTION<br />

FUNCTION<br />

• Thermal overload<br />

• Instantaneous overcurrent relay<br />

• Instantaneous ground fault overcurrent relay<br />

• Overcurrent relay with time relay<br />

• ground fault overcurrent with time relay<br />

305


ประวัติการศึกษา และการทํางาน<br />

ชื่อ<br />

นายอิสรา ศิริตันหยง<br />

เกิดวันที่<br />

3 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2516<br />

สถานที่เกิด<br />

อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี<br />

ประวัติการศึกษา ว.ศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง<br />

ตําแหนงปจจุบัน วิศวกร ระดับ 6<br />

สถานที่ทํางานปจจุบัน<br />

ฝายวิศวกรรมไฟฟาและระบบควบคุม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!