17.08.2013 Views

Product - LEAN

Product - LEAN

Product - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บริษัท ไดนิ ชิ คัลเลอร์ (ไทยแลนด์ ไทยแลนด์) ) จํากัด<br />

60/78หมู ่ที 19 นิคมอุตฯนวนคร ต.คลองหนึ ง อ.คลองหลวง ปทุมธานี Tel:02-529-2709 Fax:02-529-4142 www.dainichi-color.com<br />

ก่อตังขึ นเมื อปี พ.ศ. 2532 โดยได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI<br />

ในฐานะผู้ผลิตและผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์เม็ดสีพลาสติกที มีคุณภาพสําหรับ<br />

อุตสาหกรรมต่อเนื องต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครื องใช้สํานักงาน<br />

ชิ นส่วนรถยนต์ เครื องใช้ไฟฟ้า และสายไฟฟ้า<br />

บริษัทฯ มีปณิธานอันแน่วแน่ที จะรักษาไว้ซึ งมาตรฐานคุณภาพทีดี<br />

ที สุดของกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด โดยบริษัทฯ ให้<br />

ความสําคัญในการเลือกสรรและใช้วัตถุดิบที มีคุณภาพสูงสุด รวมถึงมีการ<br />

ตรวจสอบกระบวนการผลิตในแต่ละขันตอนอย่างใกล้ชิด ซึ งบริษัทฯ ติดตัง<br />

ด้วยระบบการผลิตอัตโนมัติ เพื อให้แน่ใจว่าได้ผลิตภัณฑ์ที มีคุณภาพและ<br />

ประสิทธิภาพคงทีตลอดเวลา<br />

นอกจากนี ห้องปฏิบัติการของบริษัทฯ ยังติดตังด้วยเครื องมือ<br />

อันทันสมัยสามารถตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านกายภาพของวัตถุดิบ<br />

ตัวอย่างของเม็ดสีในระหว่างการผลิต และเม็ดสีที ผลิตสําเร็จ เพื อความแน่ใจ<br />

ว่าได้ผลิตภัณฑ์ตรงตามมาตรฐานที ลูกค้าต้องการ<br />

Lean TPM Organization<br />

<strong>Product</strong><br />

Colored Pellet<br />

Compound<br />

Masterbatch<br />

Masterbatch Blending<br />

Dry Color<br />

System Certificate<br />

ISO 9001:2008<br />

ISO 14001:2004<br />

โดยมี อาจารย์พรชัย ศรีเพ็ชร์ และ อาจารย์ปราโมช วิเศษโวหารเป็นอาจารย์ที ปรึกษาในโครงการ


VSM Current State


VSM Future State


จากการได้รับความรู้และให้คําปรึกษาในแนวทางการค้นหาความสูญเปล่าและหาโอกาสในการ<br />

ปรับปรุงจาก VSM (value Stream Mapping) ทางทีมงานได้เลือกปัญหาเพื อปรับปรุงหลักๆ ดังนี <br />

1. ลดเวลาการปรับตังเครื องจักร(Set up time Reduction)<br />

2. ลดของเสียจากการ Charge NCP ผิด<br />

จากการดําเนินงานการปรับปรุงได้ผลลัพธ์เมื อสิ นสุดโครงการดังนี <br />

กิจกรรม ก่อน หลัง ผลทีได้<br />

ลดเวลาการปรับตังเครื องจักร(Set up time<br />

Reduction) (min)<br />

1,080 min 630 min<br />

ลดเวลาได้ 450 min<br />

คิดเป็น 41.67 %<br />

ลดของเสียจากการ Charge NCP ผิด 9.1% 0% ลดลงเป็น 0%<br />

ได้เริมต้น<br />

การกําหนดคุณค่าและวิเคราะห์หาผลิตภัณฑ์ที มีปริมาณการผลิตสูง โดยพิจารณาแยกตาม<br />

เครื องจักรซึ งได้แบ่งตามประเภทของการผลิตสินค้า โดยใช้ข้อมูลย้อนหลัง และมองไปในอนาคตข้างหน้าและ<br />

การตัดสินใจของผู้บริหารกําหนดให้เลือกเครื องจักรที CM 25 ที มีปริมาณการผลิตในอนาคตจากประมาณการ<br />

สังซื อของลูกค้าในอนาคตมีแนวโน้มที มี Order การสังซื อสูงมาก เป็นผลิตภัณฑ์ที มีมูลค่า และในกระบวนการ<br />

ผลิตดังกล่าวยังพบปัญหาด้านของเสียและเครื องจักรโดยใช้หลักการ Pareto<br />

จากกราฟจะเห็นว่าเครื องจักร CM 25 ซึ งผลิตสินค้า PE 2 ซึ งมีปริมาณการผลิตในอนาคตสูง และ<br />

เป็นการตัดสินใจของผู้บริหาร รวมทังมีปัญหาในกระบวนการผลิตที ไม่มีประสิทธิภาพ ทีมงานจึงตัดสินใจเลือก<br />

<strong>Product</strong> และกระบวนการผลิตนี เข้าสู ่กระบวนการของการปรับปรุง


โดยภาพรวมของกระบวนการผลิตเริ มตังแต่กระบวนการ Load วัตถุดิบ มาผ่านกระบวนการหลอม<br />

และฉีดเป็นเส้น แล้วทําให้เย็นผ่านระบบนํ า จากนันจึงตัดเป็นเม็ด แล้วคัดแยกเม็ดที ได้ขนาดตามมาตรฐาน<br />

นําเข้าสู ่การจัดเก็บในถังเก็บ แล้วบรรจุใส่ถุงขนาด 25 กิโลกรัม เพื อส่งมอบให้ลูกค้าต่อไปตาม Process Flow<br />

กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก<br />

Process flow กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก<br />

จากการทํากิจกรรม site survey ทีมงานสังเกตเห็นความสูญเปล่าหลายประการโดยเฉพาะการ<br />

หยุดชะงักของการผลิตปัจจัยหนึ งที ทําให้เกิดคือมีการปรับแต่งเครื อง ใช้เวลานาน ในการปรับปรุงทางบริษัท<br />

ดําเนินการปรับปรุง ในหลายเรื องจึงขอยกแนวทางไว้ในเล่ม 1 เรื องคือ ลดเวลาการปรับตังเครื องจักร(Set up<br />

time Reduction) ที กระบวนการฉีดพลาสติก<br />

ทางทีมงานเริมต้นด้วยการเก็บข้อมูลปัจจุบันโดยได้เข้าไปเก็บข้อมูลการปรับตังเครื<br />

องในแต่ละ<br />

ขันตอนและได้มีการจับเวลาแต่ละขันตอนอย่างละเอียด


ตาราง แสดงขันตอนปัจจุบัน<br />

จากการเข้าเก็บข้อมูลเพื อนํามาวิเคราะห์ได้รายละเอียดดังตารางซึ งมีขันตอนในการ set up เครื อง<br />

Extruder ทังหมด 81 ขันตอน พบว่าป ัจจุบันได้ใช้เวลาในการ set up นานถึง 840 นาที หรือประมาณ 14<br />

ชัวโมง จึงจะสามารถเริมเดินเครื<br />

องจักรใหม่ได้<br />

ซึ งจากข้อมูลที นํามาวิเคราะห์ได้มีการตังเป้าหมายเพื อการปรับปรุง คือ ลดเวลาการ Set up Time<br />

เครื อง Extruder CM 25 ลง 15% จาก 840 นาทีเหลือ 714 นาทีภายในระยะเวลา 3 เดือน<br />

ได้มีการกําหนดแผนงานดังตารางดังนี <br />

กราฟ แสดงการตังเป้ าหมาย


ได้มีการวิเคราะห์ดังนี <br />

ตารางแสดง Action Plan<br />

แสดงรายละเอียดการวิเคราะห์<br />

ได้มีการวิเคราะห์แยกงานนอกและงานใน พร้อมทังกําหนดหัวข้อในการทํา Kaizen ดังนี <br />

ได้มีการกําหนดมาตรการดําเนินการปรับปรุงด้วยหลัก Kaizen และนําไปปฏิบัติดังนี


แสดงรายละเอียดการปรับปรุง เป็ นรูปภาพ<br />

จากมาตรการที นําไปปฏิบัติได้ผลลัพธ์จากการลดเวลา การปรับตังเครื อง ดังนี <br />

กราฟแสดงผลสรุปหลังการปรับปรุง<br />

การปรับปรุงด้วย TPM: Autonomous Maintenance<br />

การเลือกเครื องจักร องค์กรได้นําเครื องมือ TPM เข้ามาใช้ปรับปรุงเพื อเพิมประสิทธิภาพเครื<br />

องจักร<br />

Extruder CM-25 เนื องจากเป็นเครื องจักรที อยู ่ในกระบวนการ VSM ที ได้รับการคัดเลือกเพื อนํามาปรับปรุง<br />

และเครื องจักรดังกล่าวมีการ Breakdown สูงที สุดในกระบวนการผลิต


การหาจุดบกพร่อง-ปรับปรุงเครื องจักร การปรับปรุง Visual control<br />

ก่อน<br />

หลัง<br />

ก่อน<br />

บทเรียน OPL: One Point Lesson สรุปผล TPM<br />

1. กรณีที มีการถอด SCREW ขัด CYLINDER ของเครือง<br />

TEX65 ทุกครัง พนง.ต ้องถอด<br />

polymer pressure gauge และ die temperature senser ออกก่อนทีจะขัด<br />

CYLINDER ทุกครัง<br />

ชุด DIE HEAD เครือง<br />

TEX65<br />

Temperature<br />

Recorder<br />

POLYMER PRESSURE GAUGE<br />

DIE TEMPERATURE SENSER<br />

ล ักษณะของ DIE ทีข<br />

ันไม่แน่น หรือไม่ถูกว ิธี<br />

มีการ LEAK ของ พลาสติกหลอมเหลวออกมาด ้านบน และล่าง ของ DIE HEAD<br />

ได้ผลลัพธ์โดยรวมในการปรับปรุงทุก Project ดังนี <br />

กิจกรรม ก่อน หลัง ผลทีได้<br />

จํานวนเงิน<br />

ลดเวลาการปรับตังเครื องจักร(Set up time<br />

Reduction)(Min)<br />

1,080 min 630 min<br />

ลดเวลาได้ 450 min<br />

คิดเป็น 41.67 %<br />

13,931,190 บาท/ปี<br />

ลดของเสียจากการ Charge ผิด 9.1% 0% ลดลงเป็น 0% 216,000 บาท/ปี<br />

หลัง<br />

ค่าใช้จ่ายลดลงทังสองProject รวม 14,147,190 บาท/ปี<br />

จากผลการดําเนินการปรับปรุงเป็นช่วงระยะเวลาหนึ งซึ งทีมงานได้รับประโยชน์เป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็น<br />

• ผลลัพธ์ในเชิง Cost Saving ที ลดได้<br />

• ได้เห็นจํานวนหัวข้อการปรับปรุง (Kaizen) เพิมมากขึ<br />

น เป็นต้น<br />

• พนักงานมีทักษะในการแก้ไขปัญหามากยิ งขึ น<br />

• พนักงานเรียนรู้การทํางานเป็นทีมมากขึ น<br />

• พนักงานตระหนักถึงการทํางานที เกินความจําเป็นมากขึ น เป็นต้น<br />

ท้ายนี ขอขอบคุณกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทยญี ปุ่น)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!