17.08.2013 Views

Company Profile LENSO Premium ISO/TS 16949 . 8001-2546 - LEAN

Company Profile LENSO Premium ISO/TS 16949 . 8001-2546 - LEAN

Company Profile LENSO Premium ISO/TS 16949 . 8001-2546 - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>Company</strong> <strong>Profile</strong><br />

บริษัท เลนโซ่วีล จํากัด<br />

บริษัท เลนโซ่ วีล จํากัด เป็ นผู ้ดําเนินการออกแบบ ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ล้อแมกซ์อลูมิเนียม ภายใต้ชือ<br />

ผลิตภัณฑ์ <strong>LENSO</strong> โดยเน้นการผลิตไปที งาน <strong>Premium</strong> และงานรูปแบบแฟชัน<br />

ทางบริษัทมีการพัฒนาและปรับปรุงด้าน<br />

ระบบคุณภาพเพือปรับระดับขององค์กรให้ก้าวสู<br />

่ระบบสากลโดยได้รับการรับรองระบบคุณภาพ <strong>ISO</strong>/<strong>TS</strong> <strong>16949</strong> และระบบ<br />

มาตรฐานแรงงานไทย มรท. <strong>8001</strong>-<strong>2546</strong><br />

อาจารย์ที ปรึกษาโครงการ อ.ณรงค์เกียรติ นักสอน<br />

อ.อนุชิต โอสถานนท์<br />

อ.อัษฎาวุธ เบญจพร


ผลงานการปรับปรุง 7 ผลงาน<br />

Production#1<br />

ผลงานที 1 ลดเวลาการปรับตังที กระบวนการหล่อ (Casting)<br />

การศึกษาเทคนิคของการทํา SMED เพือเพิมประสิทธิภาพ<br />

(ความเร็ว) ในการทีปรับเปลียนรุ่นการผลิตของ<br />

กระบวนการหล่อ<br />

ลดเวลาการยกแม่พิมพ์ลง<br />

เตรียมงานอุ ่นแม่พิมพ์<br />

นอกเครืองหล่อ


ผลงานที 2. เพิ มผลผลิตการประกอบแม่พิมพ์งานหล่อ (Casting)<br />

การเพิมผลผลิตของการประกอบแม่พิมพ์<br />

โดยแต่เดิม เครืองหล่อต้องหยุดผลิต<br />

เนืองจากแม่พิมพ์ไม่เพียงพอ<br />

เมือ<br />

ประเมินจากความเป็ นไปได้จากทฤษฎีข้อจํากัด(Theory of Constraint) พบว่าจากเดิมแม่พิมพ์เตรียมไว้ 12 ชุด ไม่<br />

เพียงพอ ถ้าให้เพียงพอต้องประกอบ จํานวนทั งสิ น 18 ชุด<br />

หลังจากนั นจึงปรับปรุงกระบวนการประกอบแม่พิมพ์ดังนี <br />

1 ปรับให้เตาอบแม่พิมพ์สามารถอบได้ 2 แม่พิมพ์พร้อมกัน จากเดิมอบทีละหนึงแม่พิมพ์<br />

2 ปรับปรุงให้มี Line การผลิตแม่พิมพ์ เพิมขึ<br />

น โดยกําหนดพื นทีเป็<br />

นสัดส่วน และมีระบบช่วยในการผ่อนแรงของพนักงาน


ผลงานที 3 ทํา Poka-Yoke ของตะกร้าวางล้อที งานอบ<br />

โดยแต่เดิมมีความสูญเสียเกิดขึ นในกระบวนการ Heat Treatment เมือนําตะกร้<br />

าบรรจุชิ นงานเพืออบ<br />

เกิดปัญหา<br />

ตะกร้าติดในตู ้อบทําให้เกิดความเสียหายดังภาพ


การปรับปรุงโดยสร้างระบบ Visual Control ดังภาพ สัญญาณไฟและสัญญาณเสียงแสดงสถานะ (อันดง) แจ้ง<br />

ตําแหน่งทีผิดพลาดของตะกร้าเข้างานอบ<br />

ด้วยเซนเซอร์ Limit Switch ทําหน้าทีตรวจจับ<br />

และหยุดการทํางานป้ อนตะกร้า<br />

เข้าเตาอบทันที<br />

Production#2<br />

จัดทํา Poka-Yoke ของ<br />

ตะกร้าวางล้อที เตาอบ<br />

ผลงานที 4 ลดเวลาในการปรับตังเครื องจักรที เครื อง CNC Machine<br />

จากผลการวิเคราะห์ด้วย SMEDพบว่าสามารถปรับปรุงให้เร็วขึ นได้


ผลงานที 5. ลดขันตอนในกระบวนการไล่สายสี (Work Painting)<br />

ลดขั นตอนกระบวนการ<br />

ไล่สายสี<br />

ผลงานที 6. ลดเวลา Start Up Time ที Packing Process<br />

ลดเวลาการ Set Locator ที<br />

CNC Machine<br />

ลดเวลา Start up Time ที<br />

<br />

Packing


7. ลดเวลาในการปรับตังที กระบวนการกลึงเงา<br />

สรุปผลการปรับปรุง Summary Cost Saving<br />

5 ส. Collet Spring<br />

ทีขบวนการกลึงเงา<br />

ความเห็นผู ้บริหาร<br />

จากอดีตทีผ่านมา<br />

บริษัท เลนโซ่วีล จํากัด ได้ดําเนินุรกิจเกียวกับการผลิต<br />

ล้ออลูมิเนียมอัลลอยด์ โดย บริษัท<br />

ได้มีการนํา ERP มาใช้ในวางแผนและควบคุมการผลิต แต่บริษัท ก็ยังพบปัญหาเรื อง Work In Process ทีสูงในทุกๆ<br />

จุดซึง<br />

ERP ไม่มีเครืองมือทีจะตอบโจทย์ดังกล่าว<br />

และเมือประมาณปี<br />

2548 ทางบริษัทได้นําระบบ TOC (Theory of<br />

Constraints) มาใช้ซึงระบบดังกล่าว<br />

เป็ นระบบทีเน้นการค้นหาจุดที<br />

เป็ นข้อจํากัดในสายการผลิต และทําการวางแผนที<br />

จุดดังกล่าว โดยจากจุดนี ทําให้บริษัทสามารถลด Production Lead Time ให้สั นลงมาได้มาก และ Work In<br />

Process ลดลงได้มากเช่นกัน แต่บริษัทก็จะพบปัญหาต่อไปอีก ตามหลักการปรับปรุงทีไม่มีทีสิ<br />

นสุด กล่าวคือ TOC<br />

เป็ นการเน้นไปทีการวางแผนทีจุดคอขวด<br />

(Bottle Neck) เท่านั น แต่ TOC ไม่มีเครืองมือใดๆ<br />

ทีเป็<br />

นเครืองมือในการ<br />

ปรับปรุงทีเน้นการมีส่วนร่วม<br />

และการสร้ างความคิด ในสายการผลิตแต่อย่างใด ประกอบกับทางภาครัฐบาลมีโครงการ


Lean เข้ามา ซึงบริษัทเห็นว่า<br />

Lean นั นมุ ่งเน้นไปทีการกําจัดความสูญเปล่า<br />

(Waste) ซึงเป็<br />

นคําตอบทีตอบโจทย์<br />

ข้างต้นได้ ทางบริษัทจึงเห็นว่าเหมาะสม และยืนยันการมีส่วนร่วมของพนักงานในองค์กรทั งหมด<br />

ประสิทธิพร ทองแฉล้ม<br />

ผู ้จัดการโรงงาน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!