17.08.2013 Views

Best Practice Lean TPM

Best Practice Lean TPM

Best Practice Lean TPM

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>Best</strong> <strong>Practice</strong> <strong>Lean</strong> <strong>TPM</strong> บริษัทวัสดุภัณฑ์คอนกรีต จํากัด<br />

1. Company Profile<br />

บริษัท วัสดุภัณฑ์คอนกรีต จํากัด เป็นผู้ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรงทุกชนิด<br />

ที เติบโต<br />

จากอุตสาหกรรมคอนกรีตพื นฐาน บริษัทมีนโยบายการดําเนินธุรกิจที เติบโตอย่างต่อเนื อง ด้วยการเพิม<br />

ศักยภาพในการแข่งขัน เเละสร้างความหลากหลายในผลิตภัณฑ์ที ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า<br />

มากที สุด ปัจจุบันบริษัทสามารถแบ่งผลิตภัณฑ์ได้ดังนี 1. เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงรูป I 2. เสาเข็มคอนกรีตอัด<br />

แรง รูปสี เหลี ยม 3. เสาเข็มเขื อน โรงงานของบริษัท ตังอยู ่ที 122 หมู ่ที 3 ต.ดอนข่อย จ.นครปฐมมีกําลังผลิต<br />

ต่อปี โดยประมาณ 1000,000 คิว นอกจากนี บริษัทยังมีบริการต่างๆ เช่น บริการตอกเสาเข็มอัดแรงโดยปันจัน<br />

,บริการขนส่งเสาเข็ม, บริการให้คําปรึกษาด้านการออกแบบและก่อสร้าง โดยทีมวิศวกรที มีความชํานาญ บริษัท<br />

ได้ผ่านการรับรองบริหารงานด้านคุณภาพ ISO 9001 : 2008 และรักษาระบบการบริหารคุณภาพได้อย่างต่อเนื อง<br />

มาจนถึงทุกวันนี ผลิตภัณฑ์เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงของบริษัทผ่านการรับรองมาตราฐาน มอก. 396-2549<br />

2. <strong>Lean</strong> Team และอาจารย์ที ปรึกษา<br />

- <strong>Lean</strong> Team<br />

- ที ปรึกษา<br />

อาจารย์นุกูล อุบลบาน<br />

3. <strong>Lean</strong> Assessment (Radar Chart Before - After)


4. <strong>Best</strong> <strong>Practice</strong><br />

- VSM Current State


- VSM Future State


- หัวข้อที ต้องการปรับปรุง จากการวิเคราะห์ VSM Future State ทําให้ได้หัวข้อในการปรับปรุงดังแผนการ<br />

ดําเนินการ<br />

- ผลที ได้ปรับปรุง<br />

เรื องไคเซ็น<br />

การเพิมประสิทธิภาพของ<br />

ก่อน<br />

ปรับปรุง<br />

เป้าหมาย<br />

15 %<br />

หลัง<br />

ปรับปรุง<br />

ผลลัพธ์ มูลค่า/เดือน มูลค่า/ปี<br />

1 แท่นผลิต<br />

เพิมประสิทธิภาพของรถ<br />

78.1 89.82 90.00 11.90 17,867,790 214,413,480<br />

2 รับส่งปูน(เพิมค่า<br />

P/OEE) 29.99 34.49 50.00 20.01 - -<br />

3 เพิมประสิทธิภาพของชุดโม่<br />

54 89.82 90.00 - 405,812.50 4,869,750<br />

ชมการหยุด 131.55 ชม. 111.81 ชม. 94.10 ชม. 37.45<br />

- วิธีการคิด<br />

เวลาการหยุดเครื องที ลดลง 37.45 นาทีคิดเป็นนาที 2,265 นาทีใช้ เวลาประมาณ 2 นาทีในการ Mix<br />

1 ครัง/คิว เท่ากับสูญเสียโอกาสในการผลิตไปจํานวน 1,132.5 คิว คิดเป็นมูลค่าของรายได้เป็นจํานวนเงิน<br />

1,132.5 x 4,300 = 4,869,750 บาท/ปี<br />

- สรุปผลการปรับปรุงที ได้ในรูป Summary cost saving / Potential Productivity (บาท/ปี) (ทุกProject)<br />

หัวข้อปรับปรุง วิธีการคิด Cost Saving Potential Productivity<br />

1.การลดต้นทุน - -<br />

2. การเพิมผลผลิต<br />

การผลิตสูงขึนจํานวน<br />

153.90 คิว/วัน ราคา<br />

ขาย 4,300 บาท/ คิว<br />

18,273,602 /เดือน 219,283,230 บาท/ปี<br />

ผลรวม 18,273,602 บาท 219,283,230 บาท


5. A3 Process Management เรื องการเพิมประสิทธิภาพของชุดโม่<br />

1


วิธีการเพื อลดความสูญเสียในการทํางานของชุดโม่ ในรูปแบบ QC Story ดังต่อไปนี <br />

- การวิเคราะห์ชัวโมงการหยุดเครื องของกระบวนการ<br />

- การวิเคราะห์อาการเสียของชุดโม่<br />

- การวิเคราะห์เพื อการเลือกหัวข้อในการดําเนินการ<br />

้ ่<br />

ความเป็ นไปได ความรุนแรง ความถี<br />

หัวข ้อปัญหา<br />

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 คะแนน<br />

1. ซ่อมชุดโกยหิน-ทราย 11<br />

2. ปรับตังและเปลี ่ยนใบกวนปาดพื น,แขนกวน 10 2<br />

3. ซ่อมและปรับปรุงฝาโม่ 7 4<br />

4. ซ่อมและเปลี่ยนไลเนอร์พืน<br />

6 5<br />

5. ซ่อมระบบไฮดรอลิกปิด-เปิดประตูคอนกรีต 4 6<br />

6. ซ่อมชุดกระบอกลม 7 4<br />

7. ซ่อมและปปรับตราชั ่งหิน-ทราย 6 4<br />

8. ซ่อมประผุประตูหิน-ทราย 9 3<br />

ลําดับที่


- จุดในการเกิดการชํารุดของชุดโม่ 1<br />

- การวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดชํารุดของชุดโม่<br />

- กําหนดมาตรการในการปฏิบัติ


- มาตรการดําเนินการ


6. เรื องที จะทําต่อในอนาคต และแผนงานในอนาคต<br />

- การขยายผลเพื อเพิมประสิทธิภาพของแท่นผลิตอื<br />

นๆ<br />

- การเพิมค่า<br />

P ในค่า OEE ของรถรับส่งปูน<br />

7. ความเห็นผู้บริหาร<br />

บริษัทวัสดุภัณฑ์คอนกรีต จํากัด เป็นบริษัทผู้ผลิตเสาเข็นและแผ่นพื นสําหรับงานก่อสร้าง การที <br />

บริษัทได้เข้าร่วมโครงการ <strong>Lean</strong> <strong>TPM</strong> กับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-<br />

ญี ปุ่น) ถือเป็นเรื องทีดี เพราะระบบ ลีนเป็นเครื องมือในการปรับปรุงกระบวนการผลิต ทําให้มองเห็นความสูญ<br />

เปล่าระหว่างกระบวนการ และหาวิธีการในการปรับปรุงแก้ไข นอกจากนันพนักงานได้รับการฝึกอบรม<br />

หลักการของลีน และเทคนิคต่าง ทําให้พนักงานมีความเข้าใจ ตื นตัวและร่วมมือกันในการทํางานโดยช่วยกัน<br />

คิด ช่วยกันหาจุดบกพร่อง สูญเสีย และช่วยกัน ระดมสมอง หาวิธีแก้ไข ปัญหาอย่างเป็นระบบมากขึ น ทําให้<br />

ของเสียลดลง ได้ผลผลิตมากขึ นโดยที คนเท่าเดิม หรือลดลง การทํางานสะดวก ง่ายขึ น ส่งผลให้ต้นทุนการ<br />

ผลิตลดลง เพื อเป็นการตอบสนองตามนโยบายของผู้บริหาร<br />

สุดท้ายนี ทางบริษัท ขอขอบพระคุณกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และที ปรึกษาจากสมาคมส่งเสริม<br />

เทคโนโลยี(ไทย-ญี ปุ่น) ที ได้ให้โอกาสกับบริษัทได้เข้าร่วม โครงการลีนในครัง และขอขอบคุณพนักงานทุก<br />

ท่านในบริษัทที ให้ความร่วมมือร่วมใจในการดําเนินโครงการจนสําเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี<br />

จักรกฤษณ์ ประทุม<br />

วิศวกรอาวุโสฝ่ายควบคุมคุณภาพการผลิต

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!