31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

74 องศาเซลเซียส ซึ่งในการทํ<br />

าใหแปงสุกตองใชอุณหภูมิที่สูงกวาแปงมันสํ<br />

าปะหลังและแปงทาว<br />

ที่มีอุณหภูมิตํ<br />

าสุดที ่ ่ตองใชในการทํ าใหแปงสุกอยูในชวง<br />

69-72 องศาเซลเซียส และเมื่อพิจารณา<br />

เปรียบเทียบอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดที่ไดจากการวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

RVA<br />

พบวามีแนวโนมเชนเดียวกับชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซเมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

DSC (จาก<br />

ผลการทดลองในขอ 2.2.5 ตารางที่<br />

13 )<br />

Svensson and Eliasson (1995) กลาววากระบวนการเกิดเจลาติไนซเปน<br />

กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอน<br />

โดยเริ่มจากสวนอสัณฐานจะเริ่มดูดนํ้<br />

าและพองตัว<br />

ขึ้นเมื่อไดรับความรอน<br />

การพองตัวหรือขยายตัวที่เพิ่มขึ้นจะทํ<br />

าใหโครงสรางผลึกที่เปนระเบียบภาย<br />

ในเม็ดแปงถูกทํ าลาย นั่นแสดงวาเม็ดแปงที่มีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงและพองตัวไดเร็วจะสงผลทํ า<br />

โครงสรางผลึกที่เปนระเบียบภายในเม็ดแปงถูกทํ<br />

าลาย และนํ้<br />

าแปงจะเริ่มมีความขนหนืดที่<br />

อุณหภูมิตํ ากวาแปงที ่ ่มีคากํ าลังการพองตัวตํ่<br />

ากวา (Pomeranz, 1991) ซึ่งเมื่อพิจารณาคาการ<br />

พองตัว (จากผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพที่<br />

20) กับอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

พบวา แปงที่มาจากแหลงเดียวกัน<br />

แปงที่มีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงกวา จะมีอุณหภูมิที่เกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงคาความหนืดตํ่<br />

ากวา เชน ในกรณีของแปงที่ไดจากสวนราก<br />

แปงทาวมีคากํ าลังการ<br />

พองตัวสูงกวาจึงมีอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดตํ่<br />

ากวาแปงมันสํ าปะหลัง<br />

(2) คาความหนืดสูงสุด (Peak viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาคาความหนืดสูงสุด<br />

ซึ่งเปนคาที่มีความสัมพันธกับคุณภาพของ<br />

ผลิตภัณฑสุดทาย และเปนคาที่บอกถึงความสามารถของแปงในการจับตัวกับนํ้<br />

าและแรงที่ตองใช<br />

ในการกวนหรือผสมในอาหาร (Newport Scientific,1995) โดยเกิดขึ้นที่จุดสมดุลระหวางการพอง<br />

ตัวและการไหลออกของแอมิโลส (Beta and Corke, 2001) พบวาแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ และที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดมีคาความหนืดสูงสุดสูงที่สุด<br />

และใกลเคียงกับ<br />

แปงมันสํ าปะหลัง คืออยูในชวง<br />

302-317 RVU ในขณะที่แปงขาวเจามีคาความหนืดสูงสุดระดับ<br />

ปานกลาง(231 RVU) และแปงทาวมีคานอยที่สุด(181<br />

RVU) เมื่อพิจารณาคาความหนืดสูงสุดกับ<br />

การไหลของแอมิโลสพบวามีความสัมพันธกัน โดยแปงที่มีขนาดแอมิโลสเล็กการไหลของแอมิโลส<br />

เกิดขึ้นไดงาย<br />

จึงมีผลทํ าใหคาความหนืดสูงสุดตํ่<br />

า(Whistler and BeMiller, 1999; Oates, 1997)<br />

เชน แปงทาว ในขณะที่แปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และที่จํ<br />

าหนายตาม<br />

ทองตลาด และแปงมันสํ าปะหลัง มีขนาดแอมิโลสใหญกวาแปงทาวจึงมีคาความหนืดสูงสุดสูงกวา<br />

76

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!