31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.2.4 กํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปง<br />

ผลการวิเคราะหคากํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปงเทายายมอม<br />

ที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงขาวเจาที่อุณหภูมิตางๆ<br />

กัน คือ 55, 65, 75, 85 และ 95 องศาเซลเซียส โดย<br />

การดัดแปลงจากวิธีการของ Schoch(1964) แสดงผลดังภาพที่<br />

20 และภาพที่<br />

21<br />

กําลังการพองตัว (swelling power)<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

55 65 75 85 95<br />

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)<br />

แปงเทายายมอม1<br />

แปงเทายายมอม2<br />

แปงทาว<br />

แปงมันสําปะหลัง<br />

แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

20 กํ าลังการพองตัวของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

หมายเหตุ แปงเทายายมอม 1 คือ แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอม 2 คือ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

จากภาพที่<br />

20 เมื่อพิจารณาคากํ<br />

าลังการพองตัวของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

ตางๆ พบวาเมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้นแปงทุกชนิดมีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงขึ้น<br />

เนื่องมาจากความรอน<br />

ไปทํ าลายพันธะไฮโดรเจนซึ่งเกิดจากหมูไฮดรอกซิลของโมเลกุลแปงที่อยูใกลๆ<br />

กัน โมเลกุลของนํ้<br />

า<br />

จึงสามารถเขามาจับกับหมูไฮดรอกซิลอิสระ<br />

เม็ดแปงจึงเกิดการพองตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูง<br />

ขึ้น<br />

(กลาณรงค, 2542) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคากํ<br />

าลังการพองตัวของแปงแตละชนิด พบวา<br />

แปงทาวมีคากํ าลังการพองตัวสูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมันสํ าปะหลัง แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และแปงขาวเจา ตาม<br />

68

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!