31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จากตารางที่<br />

8 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณองคประกอบทางเคมี<br />

(รอยละ<br />

นํ้<br />

าหนักแหง) พบวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการมีปริมาณเสนใยหยาบ<br />

โปรตีน และเถา ไมแตกตางกับแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด(p>0.05) เมื่อเปรียบ<br />

เทียบแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดกับแปง<br />

ชนิดอื่นๆ<br />

พบวามีองคประกอบทางเคมีใกลเคียงกับแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ในขณะที่แปง<br />

ขาวเจามีปริมาณไขมัน เสนใยหยาบ โปรตีน และเถา มากกวาแปงชนิดอื่นๆ<br />

และจากผลการ<br />

ทดลองนี้ชี้ใหเห็นวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง มีความบริสุทธิ์ของแปงมาก<br />

จึงจัดวาอยูในระดับ<br />

แปงสตารช(starch) ในขณะที่แปงขาวเจามีสิ่งเจือปนอื่นอยูมากเชน<br />

โปรตีน จึงจัดวาอยูในระดับ<br />

แปงฟลาว(flour)(กลาณรงค, 2542) ทั้งนี้ความบริสุทธิ์ของแปงและสิ่งเจือปนที่มีอยูในแปงอาจสง<br />

ผลตอคุณสมบัติในดานตางๆ ของแปงได เชน คุณสมบัติในดานการพองตัว การเกิดเจลาติไนซ<br />

และอาจจะทํ าใหแปงแตละชนิดมีคุณสมบัติที่เหมือนหรือแตกตางกันได<br />

ซึ่งจะไดทํ<br />

าการศึกษาใน<br />

ขอตอไป<br />

2.1.2 ปริมาณและขนาดแอมิโลส<br />

จากการวิเคราะหหาปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปงทั้ง<br />

5 ชนิดที่ไดกลาว<br />

มาแลว โดยใชวิธีการ High Performance Size Exclusion Chromatography (HPSEC) ตามวิธี<br />

การของ Govindasamy et al.(1993) รวมกับการหาปริมาณแอมิโลสโดยการทํ าปฏิกิริยากับ<br />

ไอโอดีนตามวิธีการของ Juliano(1971) ผลแสดงดังตารางที่<br />

9<br />

58

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!