31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2. การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของแปงเทายายมอม<br />

ศึกษาคุณสมบัติของแปงเทายายมอม โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัติของแปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

กับ แปงที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด ไดแก แปง<br />

เทายายมอม(รานชูถิ่น),<br />

แปงมันสํ าปะหลัง(ตราปลามังกร), แปงทาว(ตราปลามังกร) และ แปงขาว<br />

เจา(ตรานิวเกรด) โดยศึกษาคุณสมบัติทางดานเคมีและทางดานกายภาพของแปง ดังนี้<br />

2.1 คุณสมบัติทางเคมี ไดแก<br />

2.1.1 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณของแปง ไดแก ความชื้น<br />

ไขมัน โปรตีน<br />

เถา และเสนใยหยาบ ตามวิธีการของ AOAC(2000)<br />

2.1.2 ปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปง<br />

โดยวิธีการ High Performance<br />

Size Exclusion Chromatography (HPSEC) ตามวิธีการของ Govindasamy et al. (1992)<br />

2.1.3 ปริมาณแอมิโลสที่มีอยูในแปง<br />

โดยวิธีการทํ าปฏิกิริยากับไอโอดีน ตามวิธี<br />

การของ Juliano(1971)<br />

Model C-100<br />

2.2 คุณสมบัติทางกายภาพ ไดแก<br />

2.2.1 คาความขาวของแปง โดยใชเครื่อง<br />

KETT Digital Whiteness Meter<br />

2.2.2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดยใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบกราดลํ า<br />

แสง (Scanning Electron Microscope, Joel JSM 5310, England) ตามวิธีการของ Sahai and<br />

Jackson(1996)<br />

2.2.3 คาเปอรเซ็นตการกระจายตัวของเม็ดแปง (Size distribution) วัดดวย<br />

กลองจุลทรรศน (Meiji Techno, Japan) ที่ตอโปรแกรมวิเคราะหขนาดอนุภาค<br />

Image analysis<br />

38

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!