31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Fennema(1975) กลาววาโดยทั่วไปในการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ของอาหารนั้นจะทํ<br />

าที่อุณหภูมิคงที่หนึ่งๆ<br />

โดยการเลือกใชหลักการหรือวิธีการอยางใดอยางหนึ่งดัง<br />

ภาพที่<br />

14<br />

(ก) (ข)<br />

ภาพที่<br />

14 แบบแผนของวิธีการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ที่มา:<br />

Fennema(1975)<br />

วิธีการที่<br />

1 (ภาพที่<br />

14ก) ตัวอยางที่รูปริมาณความชื้นจะถูกทํ<br />

าใหอยูในสภาวะสมดุลดวย<br />

small headspace ในภาชนะที่ปดสนิท<br />

และทํ าการวัดความดันบางสวนของวอเตอรแอคทิวิตี้หรือ<br />

คาความชื้นสัมพัทธ<br />

โดยคาวอเตอรแอคทิวิตี้เทากับความชื้นสัมพัทธที่สมดุลหารดวยหนึ่งรอย<br />

(aw = ERH/100) เครื่องมือที่ใชวัดปริมาณความชื้นสัมพัทธมีหลายชนิด<br />

เชน electric<br />

hygrometers, dewpoint cells, hair psychrometers เปนตน<br />

วิธีการที่<br />

2 (ภาพที่<br />

14ข) นํ าตัวอยางอาหารปริมาณเล็กนอยมาสัมผัสกับความชื้นสัมพัทธ<br />

ของบรรยากาศที่คงที่จํ<br />

านวนหลายคา เมื่อถึงสภาวะสมดุลจะทํ<br />

าการวัดปริมาณความชื้นโดยการ<br />

หาปริมาณนํ าหนัก ้ ทั้งนี้สารละลายเกลือที่อิ่มตัวจะถูกนํ<br />

ามาใชในการควบคุมความชื้นสัมพัทธของ<br />

บรรยากาศ เนื่องจากมีขอดีคือสามารถที่จะรักษาความชื้นสัมพัทธใหคงที่ไดตราบใดที่เกลือนั้นยัง<br />

คงระดับความอิ่มตัวไดอยู<br />

31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!