31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ภาพที่<br />

7 คางานที่ไดจากความสัมพันธระหวางคาความเคนและความเครียด<br />

ที่มา:<br />

Kaletunc et al. (1991)<br />

ณัฐกานต และคณะ(2545) ศึกษาผลของการใชฟลาวมันสํ าปะหลังที่มีตอ<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมมันสํ<br />

าปะหลัง โดยเมื่อทํ<br />

าการวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัว<br />

กลับสูสภาพเดิม<br />

(Degree of elasticity) ดวยเครื่อง<br />

Lloyd TA500 พบวาการเพิ่มปริมาณฟลาว<br />

มันสํ าปะหลังในขนมมันสํ าปะหลังมีผลทํ าใหคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม<br />

ลดลงอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(p0.05) Kaletunc et al. (1991) ทํ าการศึกษาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับ<br />

สูสภาพเดิมของอาหารหลายชนิด<br />

ไดแก กลวย เนยแข็ง ไสกรอก เจลลี่<br />

แมสเมลโล และมันฝรั่ง<br />

โดย<br />

การวัดคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับ(%recoverable<br />

work) พบวาปริมาณงานที่เกิดจากการคืน<br />

ตัวกลับของผลิตภัณฑจะแตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํ<br />

านวนรอบในการกดและลักษณะเฉพาะ<br />

ของผลิตภัณฑ โดยทั่วไปวัสดุที่เรียกวา<br />

elastic จะมีคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับอยูในชวง<br />

รอยละ 60-80 และวัสดุที่เรียกวา<br />

plastic จะมีคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับอยูในชวงรอยละ<br />

20-50<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!