31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3.3 การพองตัวและการละลาย<br />

เมื่อเติมนํ้<br />

าลงในแปงและตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เม็ดแปงจะดูดซึมนํ้<br />

าจากบรรยากาศจน<br />

เกิดสมดุลระหวางความชื้นภายในเม็ดแปงกับความชื้นในบรรยากาศ<br />

ปริมาณนํ้<br />

าที่ถูกดูดซึมจะขึ้น<br />

อยูกับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ<br />

แปงดิบจะไมละลายในนํ้<br />

าที่มีอุณหภูมิตํ่<br />

ากวาอุณหภูมิ<br />

เจลาติไนซ เนื่องจากมีพันธะไฮโดรเจนซึ่งเกิดจากหมูไฮดรอกซิลของโมเลกุลแปงที่อยูใกลๆ<br />

กัน<br />

หรือ water bridges แตสามารถพองตัวในนํ้<br />

าเย็นไดเล็กนอย ซึ่งการพองตัวลักษณะนี้ผันกลับได<br />

คือ เมื่อทํ<br />

าใหแหงก็จะกลับเปนเม็ดแปงเหมือนเดิม(กลาณรงค, 2542; Whistle and BeMiller,<br />

1999) เม็ดแปงจะดูดนํ้<br />

าตลอดเวลาที่ใหความรอน<br />

และพองตัวเปนหลายเทาของขนาดเดิม<br />

โมเลกุลแอมิโลสจะละลายออกมาในนํ้<br />

าที่อยูบริเวณรอบๆ<br />

เม็ดแปง (Bowers, 1992)<br />

Leach et al.(1959) ไดพัฒนาวิธีการวัดคาการพองตัวและการละลายของแปงที่อุณหภูมิ<br />

ตางๆ โดยนํ้<br />

าแปงจะถูกใหความรอนภายใตสภาวะที่ถูกควบคุม<br />

ตอจากนั้นจะทํ<br />

าการเหวี่ยง<br />

คา<br />

กํ าลังการพองตัว (swelling power) คํ านวณจากปริมาตรและนํ้<br />

าหนักของตะกอนแปงที่เหวี่ยงได<br />

คาการละลาย(solubility) คํ านวณจากปริมาณของแข็งที่ละลายได<br />

การใชอุณหภูมิที่หลากหลาย<br />

จะแสดงอัตราการพองตัวและการละลายที่แตกตางกันของแปงแตละชนิด<br />

แปงแตละชนิดจะมีการพองตัวที่แตกตางกัน<br />

เนื่องมาจากโมเลกุลภายในโครงสรางที่แตก<br />

ตางกัน เชน ในแปงมันสํ าปะหลังแสดงถึงโครงสรางภายในที่ออนแอ<br />

จึงสามารถพองตัวไดอยาง<br />

อิสระและมาก ในทางตรงกันขามแปงขาวฟางแสดงถึงการพองตัวที่จํ<br />

ากัด 2 ขั้นตอน<br />

ซึ่งแสดงให<br />

เห็นถึงแรงที่เกิดขึ้นภายในพันธะ<br />

2 ชนิดที่อยูในเม็ดแปง(Pomeranz,<br />

1991) นอกจากชนิดของแปง<br />

ที่มีผลตอการพองตัวและการละลายแลว<br />

ปจจัยอื่นที่มีผลไดแก<br />

ความแข็งแรงและลักษณะรางแห<br />

ภายในเม็ดแปงหรือจํ านวนและชนิดพันธะภายในเม็ดแปง ในระดับโมเลกุลปจจัยที่มีผลกระทบตอ<br />

จํ านวนพันธะ คือ ขนาด รูปราง สวนประกอบ และการกระจายตัวของรางแหภายในเม็ดแปง อัตรา<br />

สวนของแอมิโลสและแอมิโลเพกทิน นํ้<br />

าหนักโมเลกุล การกระจายตัวของโมเลกุล จํ านวนกิ่งสาขา<br />

การจัดเรียงตัว และความยาวของสาขาในแอมิโลเพกทินก็มีผลตอจํ านวนของพันธะเชนเดียวกัน<br />

(Leach et al.,1959)<br />

11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!