31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

151<br />

เมื่อนํ<br />

าคา Young’s modulus ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บใน<br />

อุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อเปรียบเทียบแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคา<br />

Young’s modulus ของเจลแปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

เมื่อเวลาในการเก็บตัว<br />

อยางมากขึ้นพบวาที่อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

4 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

48) แปงผสมมีคา<br />

Young’s modulus เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดมากกวาที่อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

35<br />

องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

47) ทั้งนี้การเกิดรีโทรเกรเดชันจะมีความสมบูรณมากขึ้นเมื่อเวลาของเจลที่<br />

ถูกทิ้งไวใหเย็นผานไป<br />

(Whistler and BeMiller, 1999) และกระบวนการเกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิด<br />

ขึ้นตลอดเวลาและจะถูกเรงใหเกิดมากขึ้นเมื่อตัวอยางถูกเก็บในอุณหภูมิตูเย็น<br />

(Colwell et al.,<br />

1969) ดังนั้นจึงมีผลทํ<br />

าใหเมื่อเวลาในการเก็บมากขึ้นเจลแปงมีความแข็งมากขึ้น<br />

และที่อุณหภูมิใน<br />

การเก็บที่ตํ<br />

าจะใหเจลที ่ ่แข็งกวาที่อุณหภูมิในการเก็บที่สูงกวา<br />

เมื่อพิจารณาอุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

35 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

47) พบวาในสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด ไดแก แปงเทายายมอมและแปงขาวเจา (ภาพ<br />

ที่<br />

47ก) และสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด ไดแกแปงเทายายมอมผสมแปงขาวเจา และ<br />

แปงทาวผสมแปงขาวเจา (ภาพที่<br />

47ข) เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้นมีแนวโนมของการเพิ่ม<br />

คา Young’s modulus มากกวาสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

ในขณะที่สิ่งทดลองอื่นๆ<br />

ซึ่งประกอบดวยสวนผสม<br />

ของแปง 1 , 2, 3 และ 4 ชนิด มีแนวโนมของการเพิ่ม<br />

คา Young’s modulus ใกลเคียงกัน ทั้งนี้การ<br />

เกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิดขึ้นตลอดเวลาของการเก็บตัวอยาง<br />

(Colwell et al., 1969; Whistler and<br />

BeMiller, 1999 ) ดังนั้นเมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางผานไปเจลจึงมีความแข็งมากขึ้น<br />

เมื่อ<br />

พิจารณาสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงหนึ่งชนิด<br />

พบวาเจลแปงเทายายมอมมีคา Young’s<br />

modulus ใกลเคียงกับแปงขาวเจา โดยมีคาสูงกวาเจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง เนื่อง<br />

จากแปงเทายายมอมมีปริมาณของแอมิโลสมากกวาแปงทาว แปงมันสํ าปะหลังทํ าใหการจัดเรียง<br />

ตัวเกิดไดแนนมากวาจึงมีความแข็งมากกวา (Stephen,1995) ในขณะที่เจลแปงขาวเจาถึงแมมี<br />

ปริมาณแอมิโลสนอยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับแปงเทายายมอม<br />

แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

แตกลับมีคา Young’s modulus สูงกวาเจลแปงชนิดอื่น<br />

เนื่องจากเกิดจากการจัดเรียงตัวของ<br />

แอมิโลสกับโมเลกุลไขมันเปนสารประกอบเชิงซอน ซึ่งเสริมความแข็งแรงใหแกพันธะ<br />

จึงทํ าใหเจล<br />

มีความแข็งมากที่สุด<br />

(Kim and Seib, 1993) ดังนั้นดวยคุณสมบัติในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี<br />

ของแปงเทายายมอมและแปงขาวเจา จึงทํ าใหเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมและแปง<br />

ขาวเจามีคา Young’s modulus สูงดวยเชนเดียวกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!