31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

143<br />

ปริมาณมากกวาและขนาดยาวกวาแปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว ตามลํ าดับ(ผลการทดลองขอ<br />

2.1.2 ตารางที่<br />

9) ซึ่งแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะมีแนวโนมในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี<br />

(Collado and Cork,1999) และขนาดแอมิโลสที่ยาวจะใหเจลที่มีความเหนียวนุมไมแตกเปราะ<br />

งาย (Mua and Jackson, 1998) ดังนั้นแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากและสายยาวจะใหเจลที่มี<br />

ความแข็ง แตเหนียวนุม ในการดึงเจลแปงใหเกิดการฉีกขาดหรือแตกหักจึงตองใชแรงที่มากขึ้น<br />

และเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

44ข และภาพที่<br />

44ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจล<br />

แปงผสมจะใหคาความเคน ณ แรงสูงสุดเพิ่มขึ้น<br />

นั่นคือ<br />

ตองใชแรงมากขึ้นในการดึงใหเจลแปงผสม<br />

นี้ขาดออกจากกัน<br />

ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับ<br />

แปงเทายายมอม แปงทาว และแปง<br />

มันสํ าปะหลัง ปริมาณไขมันที่มีมากในแปงขาวเจาจับกับแอมิโลสเกิดเปนสารประกอบเชิงซอนที่ไป<br />

เสริมความแข็งแรงใหกับเจลแปง(Bowers, 1992) นอกจากนี้โปรตีนในแปงขาวเจายังสามารถเกิด<br />

เปนโครงสรางตาขายในเฟสของแข็งของเจลแปงได (Whistler and BeMiller, 1999) ดังนั้นเจลแปง<br />

ผสมที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาที่ระดับรอยละ<br />

33 และ 50 นี้จะมีลักษณะแข็งขึ้นจึงตองใชแรง<br />

มากขึ้นในการทํ<br />

าใหเจลแปงใหเกิดการฉีกขาดหรือแตกหัก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!