31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

() การวัดคาแรงดึง<br />

131<br />

ในการศึกษาผลของชนิดแปงที่มีตอคาแรงดึงของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15<br />

สิ่งทดลองนั้นจะทํ<br />

าการวัดคาแรงดึงดวยวิธีการ ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงดึง และ 2) การวัดคาการแตก<br />

หัก โดยในการวัดคาแรงดึงทั้งสองวิธีนี้จะทํ<br />

าการบันทึก คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at<br />

maximum load) , คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at maximum<br />

load) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) โดยสามารถแบงการพิจารณาผลการศึกษาไดตามวิธีการ<br />

วัดคาแรงดึง ดังนี้<br />

(1) การวัดคาแรงดึง (Tensile test)<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

ผล<br />

ดังตารางที่<br />

24 มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบผสม (Mixture design) โดย<br />

ใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ทั้งนี้กํ<br />

าหนดให Yi คือ คาที่ไดจาก<br />

การวัดคาแรงดึง, βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และ Xi คือ<br />

ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอม(X1), แปงทาว(X2), แปงมันสํ าปะหลัง<br />

(X3) และแปงขาวเจา(X4) โดย X1+ X2+ X3+ X4 = 1 ไดสมการดังตารางที่<br />

25 และนํ าขอมูลพรอม<br />

ทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ<br />

คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาแรงดึงไดแก<br />

คาความ<br />

เคน ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และคางานทั้งหมด<br />

โดยพิจารณาคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour<br />

plot ผลของชนิดแปงที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และคา<br />

งานทั้งหมด<br />

ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

แสดงดังภาพที่<br />

41 , 42 และ 43 ตามลํ าดับ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!