31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

- ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness)<br />

127<br />

เมื่อพิจารณาคา<br />

Springiness หรือ อัตราของการคืนรูปของวัสดุหลังจาก<br />

การถูกกด(Civile and Szczesiak, 1973) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวใน<br />

สมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

23) พบวาแปงเทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และ<br />

แปงขาวเจา(X4) มีคาสัมประสิทธิ์ใกลเคียงกัน<br />

โดยคาสัมประสิทธิ์ของแปงทาวมีคาสูงที่สุด<br />

นั่น<br />

แสดงวาการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงปริมาณแปงแตละชนิดในสิ่งทดลองจะทํ<br />

าใหเจลแปงมีคาความ<br />

ยืดหยุนเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย<br />

ดังตารางที่<br />

22 พบวาคาความยืดหยุนของเจลแปงทั้ง<br />

15<br />

สิ่งทดลองมีคาใกลเคียงกันมาก<br />

โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

39 เจลแปงทาวจะมีคาความยืดหยุน<br />

มากกวาเจลแปงเทายายมอม และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ แตเมื่อผสมแปงขาวเจาใน<br />

ปริมาณรอยละ 33 และรอยละ 50 กราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour plot จะไมแสดงคาที่ทํ<br />

านาย<br />

จากสมการรีเกรสชันใหเห็น เนื่องจากการผสมแปงขาวเจาที่สองระดับนี้จะทํ<br />

าใหเจลแปงผสมมีคา<br />

ความยืดหยุนเทากันหรือไมแตกตางกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!