31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

114<br />

เมื่อคํ<br />

านวณคาความเคน(stress) จากแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของ<br />

Swyngedau et al.(1991) ณ คาความเครียด(Hencky’s strain) ที่ตํ<br />

าแหนงแตกตางกันในชวง<br />

ความเครียดระหวาง 0.2 - 0.8 ผลแสดงดังตารางที่<br />

20 (คาพารามิเตอรของแบบจํ าลองทาง<br />

คณิตศาสตรของแปงแตละสิ่งทดลองแสดงดังภาคผนวก<br />

ข) เมื่อพิจารณาพบวาในชวงความเครียด<br />

นี้<br />

เมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงทาวและ/หรือแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีผลทํ าใหคาความเคนของ<br />

แปงผสมลดลง ในขณะที่การผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจามีผลทํ<br />

าใหคาความเคนของแปง<br />

ผสมมีคาเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้การพิจารณาคาความเคนจากการคํ<br />

านวณโดยใชแบบจํ าลองทาง<br />

คณิตศาสตร เปนการพิจารณาถึงแรงที่มากระทํ<br />

าตอพื้นที่บนระนาบของตัวอยาง<br />

(Moskowitz,1987) ซึ่งจากผลการทดลองพบวาคาความเคน<br />

ณ ตํ าแหนงความเครียด 0.2 - 0.8<br />

ใหผลสอดคลองกับคา Young’s modulus ที่คํ<br />

านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธ<br />

ระหวางความเคนและความเครียดที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาแรงกดของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

ไดแก คา Young’s modulus (ตารางที่<br />

20) มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบ<br />

ผสม (Mixture design) โดยใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ได<br />

สมการดังนี้<br />

Y i = 4.293X 1 + 2.481X 2 + 0.371X 4 + 9.731X 4 ; R 2 = 0.915<br />

กํ าหนดให Y i คือ คา Young’s modulus (kPa)<br />

β i คือ คาสัมประสิทธิ<br />

์ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!