31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สิ่งทดลองที่<br />

10 (0 : 0 : 0.5 : 0.5) สิ่งทดลองที่<br />

11 (0.33 : 0.33 : 0.33 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

12 (0.33 : 0.33 : 0 : 0.33)<br />

สิ่งทดลองที่<br />

13 (0.33 : 0 : 0.33 : 0.33) สิ่งทดลองที่<br />

14 (0 : 0.33 : 0.33 : 0.33) สิ่งทดลองที่<br />

15 (0.25 : 0.25 : 0.25 : 0.25)<br />

ภาพที่<br />

34 (ตอ)<br />

111<br />

เมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

34 พบวาสิ่งทดลองที่<br />

4 (เจลแปงขาวเจา) มี<br />

ลักษณะของกราฟที่แตกตางกับเจลแปงในสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

นั่นคือ<br />

เกิดการเบี่ยงเบนของเสนกราฟ<br />

ตกลงหลังจุดที่จะใหคาความเคนสูงสุด(จุด<br />

A) ซึ่งลักษณะเชนนี้จะแสดงถึงลักษณะเนื้อสัมผัสของ<br />

เจลแปงเกิดการแตกเปราะเมื่อมีแรงมากระทํ<br />

า ในขณะที่เจลแปงในสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

มีลักษณะของ<br />

กราฟที่คอยๆ<br />

เพิ่มขึ้นตามเสนกราฟที่จะใหคาความเคนสูงสุด<br />

ซึ่งจะบงบอกถึงลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

ของตัวอยางหรือผลิตภัณฑที่มีความเหนียวนุม<br />

ไมแตกเปราะงาย(Bourne, 1982) ลักษณะเจลที่มี<br />

ความยืดหยุนหรือเหนียวนุมจะเกี่ยวของกับขนาดของสายแอมิโลส<br />

โดยถาแปงมีขนาดแอมิโลสที่<br />

สั้นจะใหเจลที่มีลักษณะแตกเปราะงาย<br />

ในขณะที่แปงที่มีขนาดแอมิโลสยาวกวาจะใหเจลที่มีความ<br />

ยืดหยุนไดมากกวา<br />

(Mua and Jackson, 1998)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!