31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

(Breakdown)<br />

(4) คาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

100<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

า<br />

สุด(Breakdown) ซึ่งจะบอกถึงความสามารถในการคงทนตออุณหภูมิ<br />

และการกวนที่เปนปจจัยที่<br />

สํ าคัญในหลายกระบวนการผลิต ถาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

า<br />

สุดมีคามากแสดงวาแปงมีความคงทนตออุณหภูมิและการกวนตํ่<br />

า (Newport Scientific,1995)<br />

จากตารางที่<br />

18 เมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงมันสํ<br />

าปะหลังและ/หรือแปงทาว พบวาแปงผสม<br />

มีความคงทนตออุณหภูมิและการกวนตํ่<br />

าลง ทั้งนี้เนื่องจากแปงทาวและแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีขนาด<br />

แอมิโลสเล็กกวาแปงเทายายมอม การไหลออกของแอมิโลสจากแปงผสมทํ าใหคาความหนืดสูงสุด<br />

ของแปงผสมตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอม และการที่แปงผสมมีแอมิโลสที่สามารถหลุดออกมาไดมาก<br />

กวาแปงเทายายมอม จึงทํ าใหแปงผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอม(Whistler<br />

and BeMiller, 1999) แตเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

28ก และ 29ก พบวาการลดลงของคาความ<br />

หนืดสูงสุดของแปงผสมมีไมมากเทาการลดลงของคาความหนืดตํ่<br />

าสุด ซึ่งจะสงผลทํ<br />

าใหความแตก<br />

ตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงเทายายมอมผสมแปงทาวและ/หรือ<br />

แปงมันสํ าปะหลังมีคามากกวาแปงเทายายมอม ความคงทนตออุณหภูมิและการกวนจึงตํ่<br />

าลง ใน<br />

ทางตรงกันขามเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจาพบวาแปงผสมมีความคงทนตออุณหภูมิ<br />

และการกวนสูงขึ้น<br />

เนื่องจากเม็ดแปงขาวเจาจะพองตัวไดไมเต็มที่และแอมิโลสไหลออกจากเม็ด<br />

แปงไดยากเนื่องจากเกิดสารประกอบเชิงซอนของไขมันกับแอมิโลส<br />

ทํ าใหสามารถทนตอแรงกวน<br />

ไดและเม็ดแปงยังคงอุมนํ้<br />

าไดอยูบาง<br />

(Chen et al., 1998) คาความหนืดตํ่<br />

าสุดจึงลดลงไมมากเทา<br />

แปงเทายายมอม ดังนั้นความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

าสุดจึงมีคา<br />

นอยลง ความคงทนตออุณหภูมิและการกวนจึงสูงขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความแตกตางระหวางคาความหนืด<br />

สูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด(Breakdown) จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวใน<br />

สมการรีเกรสชัน พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง(X3) แปงทาว (X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

แปงที่ใหคาความ<br />

แตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุดและความหนืดตํ่<br />

าสุดนอยที่สุด<br />

หรือแปงที่มีความสามารถใน<br />

การคงทนตออุณหภูมิและการกวนมากที่สุด<br />

คือ แปงเทายายมอม รองลงมาไดแก แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง แปงทาว และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

30ก จะพบวาแปง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!